พยานหลักฐาน | (n) evidence, See also: testimony, proof, Syn. หลักฐาน, Example: เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ใช้การสืบสวนในการเข้าจับกุมคนร้ายพร้อมกับหาพยานหลักฐานทั้งบุคคลและวัตถุประกอบ |
แสดงหลักฐาน | (v) produce evidence, See also: provide evidence, Example: เด็กอายุต่ำกว่าสิบแปดปีมีสิทธิลาโดยแสดงหลักฐานที่เกี่ยวข้องและให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้าง, Thai Definition: แสดงเครื่องแสดงประกอบเพื่อยืนยัน |
หลักฐานทางโบราณคดี | (n) archaeological evidence, Example: บ้านเชียงเป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญของไทย |
หลักฐานทางธรณีวิทยา | (n) geological evidence, Example: การค้นพบแร่ธาตุเป็นหลักฐานทางธรณีวิทยา |
พยานหลักฐาน | น. ในทางแพ่งหมายถึง สิ่งที่จะนำมาใช้ในการวินิจฉัยข้อเท็จจริง ในทางอาญาหมายถึง สิ่งที่จะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยหรือผู้ต้องหามีความผิดหรือบริสุทธิ์. |
หลักฐาน | น. พื้นเพมั่นคง เช่น พ่อแม่เขาเป็นคนมีหลักฐาน, ความมั่นคงอันเป็นพื้นที่ตั้ง เช่น เขามีอาชีพการงานเป็นหลักฐาน |
หลักฐาน | เครื่องแสดงประกอบเพื่อยืนยัน เช่น เขาถูกกล่าวหาโดยไม่มีหลักฐาน. |
หลักฐานเป็นหนังสือ | น. เอกสารที่ลงลายมือชื่อของฝ่ายที่ต้องรับผิด และมีข้อความแสดงว่าได้มีการทำนิติกรรมไว้. |
กฎ | (กด) ก. จดไว้เป็นหลักฐาน เช่น ให้นายยกกระบัตรกฎปากหลากคำไว้ (กฎหมายอายัดทาส), ตรา เช่น ตรัสแก่ขุนศรีภูริปรีชาให้กฎเป็นตำราไว้ (อัยการเบ็ดเสร็จ), พระมหาธรรมราชาก็ตรัสให้กฎลงมาให้เอาพระยารามเป็นพระยาพิชัย (พงศ. ๑๑๓๖). (เทียบ ข. กต่ ว่า จด). |
กฎหมาย | ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้ (พงศ. อยุธยา), ทำหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทำหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…(พระราชกำหนดเก่า) |
กรมธรรม์ประกันภัย | น. ตราสารที่ผู้รับประกันภัยออกให้แก่ผู้เอาประกันภัยเป็นหลักฐานการรับประกันภัย. |
ก่อร่างสร้างตัว | ก. ตั้งเนื้อตั้งตัวได้เป็นหลักฐาน. |
กันได | น. หลักฐานที่ยึดถือ เช่น กรมธรรม์กันได (กฎหมาย เล่ม ๒). |
ของกลาง | สิ่งของที่เจ้าพนักงานได้ยึดหรืออายัดไว้เพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในคดีอาญา. |
ของหมั้น | น. ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนให้แก่หญิง เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น. |
ข่าวกรอง | น. ข่าวที่ได้ตรวจสอบหลักฐานแล้วว่าเป็นข่าวที่เชื่อถือได้. |
ขึ้น ๑ | เอาเข้าไว้เป็นหลักฐาน เช่น ขึ้นทะเบียน ขึ้นทำเนียบ |
ค้นหา | ก. หาอย่างละเอียดถี่ถ้วน เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ เช่น ตำรวจค้นหาหลักฐานเกี่ยวกับคดีฆาตกรรม. |
คำนับ ๑ | น. คำที่ต้องนับถือ, หลักฐาน, เช่น ธก็ให้โกษาธิบดีลำดับคำนับนี้ไว้ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). |
แคลเซียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี (C6H11NHSO3)2Ca. 2H2O ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานมากกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. |
จดทะเบียน | ก. ลงบันทึกข้อความไว้กับทางราชการเพื่อให้การใดเกิดผล บังคับกันได้ ได้รับการคุ้มครอง หรือเป็นหลักฐานตามที่กฎหมายกำหนด เช่น จดทะเบียนรถยนต์ จดทะเบียนสมรส จดทะเบียนหุ้นส่วนและบริษัท จดทะเบียนเครื่องจักร. |
จดหมายเหตุ | น. หนังสือบอกข่าวคราวที่เป็นไป, รายงานหรือบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น, เอกสารที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ผลิตขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักฐานและเครื่องมือในการปฏิบัติงาน. |
จารีตนครบาล | น. วิธีไต่สวนพิจารณาคดีนครบาลซึ่งเป็นคดีโจรผู้ร้ายหรือคดีที่มีโทษหลวง เมื่อคนร้ายจนต่อพยานหลักฐานแล้วแต่ยังไม่ยอมรับสารภาพ โดยให้ใช้ได้ตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด เช่น เฆี่ยน แต่ไม่ให้ถึงแก่ชีวิต. |
โฉนด | (ฉะโหฺนด) น. หนังสือสำคัญของทางราชการแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน, ก่อนนี้ถ้าเป็นสวนปลูกไม้ยืนต้น เรียกว่า โฉนดสวน, ถ้าเป็นสวนไม้ล้มลุก เรียกว่า โฉนดป่า, เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๔ เริ่มออกโฉนดแบบใหม่โดยวิธีรังวัดปักหลักเขตลงในที่ดินด้วยหมุดหลักฐานการแผนที่ และแสดงรูปแผนที่ที่ดินนั้นลงไว้ในโฉนดด้วย เรียกว่า โฉนดแผนที่ |
ชั้นดิน | น. ดินที่ทับถมกันเป็นชั้น ๆ สามารถบอกอายุหลักฐานทางโบราณคดีได้. |
ชันสูตร | (ชันนะสูด) ก. ตรวจสอบเพื่อหาสาเหตุหรือหลักฐานข้อเท็จจริง เช่น ชันสูตรบาดแผล ชันสูตรพลิกศพ, สอบสวนโดยเหตุผล. |
เซ็น ๓ | ก. ลงลายมือชื่อ, เซ็นชื่อ ก็ว่า, (ปาก) ซื้อโดยค้างชำระเงินและผู้ขายลงบัญชีไว้เป็นหลักฐาน เช่น เซ็นค่าก๋วยเตี๋ยวไว้ก่อน. |
โซเดียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H11NHSO3Na ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. |
ฐาน ๒, ฐาน-, ฐานะ | หลักฐาน, ลำดับความเป็นอยู่ในสังคม เช่น ทุกคนยอมรับรู้ฐานะในสังคมของเขา. |
ต้นขั้ว | น. ส่วนต้นของใบเสร็จ เช็ค สลากกินแบ่ง เป็นต้น ที่ติดอยู่ในเล่ม เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน, หัวขั้ว ก็ว่า. |
ตรวจสอบ | ก. ตรวจเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง เช่น ตำรวจไปตรวจสอบหาหลักฐานในสถานที่เกิดเหตุ. |
ตราสิน | น. ถ้อยคำที่แจ้งความไว้เพื่อเป็นหลักฐานของทรัพย์สินที่เสียหายหรือสูญหายจากการถูกปล้น, บางทีเขียนเป็น ตราสีน ก็มี เช่น ให้ทำฎีกาตราสีนแต่โดยสัจโดยจรีง (สามดวง ลักษณะโจร) |
ตั้งตัว | ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน |
ตั๋วเงินคลัง | น. ตั๋วเงินซึ่งออกโดยกระทรวงการคลัง เพื่อเป็นหลักฐานการกู้เงินระยะสั้นของรัฐบาล. |
ถ้อยคำสำนวน | น. หนังสือใดที่ศาลจดเป็นหลักฐานแห่งรายละเอียดทั้งหลายในการดำเนินคดีอาญาในศาลนั้น. |
แถลงเปิดคดี | ก. การที่โจทย์แถลงถึงลักษณะของฟ้อง อีกทั้งพยานหลักฐานที่จะนำสืบเพื่อพิสูจน์ความผิดของจำเลย หรือการที่จำเลยแถลงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายซึ่งตั้งใจอ้างอิงพร้อมทั้งแสดงพยานหลักฐานที่จะนำสืบ. |
ทะเบียน | น. บัญชีจดลักษณะจำนวนคน จำนวนสัตว์ หรือจำนวนสิ่งของ ตลอดจนการงานต่าง ๆ ที่รัฐบันทึกไว้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับประชาชนพลเมือง. |
ทำลาย | ก. อาการที่ทำให้สิ่งซึ่งเป็นกลุ่มก้อนแตกหักหรือพังกระจัดกระจาย, ทำให้พัง เช่น ทำลายกำแพง, ทำให้ฉิบหาย เช่น ทำลายวงศ์ตระกูล, ทำให้หมดสิ้นไป เช่น ทำลายชื่อเสียง ทำลายหลักฐาน. |
นำสืบ | ก. นำพยานหลักฐานมาแสดงต่อศาลเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่กล่าวอ้าง. |
น้ำหนัก | น. ความหนักของสิ่งต่าง ๆ, ความสำคัญ เหตุผล หรือพยานหลักฐาน เป็นต้น ที่ควรแก่การเชื่อถือ หรือที่จูงใจให้เชื่อถือ. |
นิคม | น. หมู่บ้านขนาดใหญ่, ถิ่นฐานหรือชุมชนที่เกิดขึ้นจากการตั้งหลักแหล่ง, หมู่บ้านใหญ่หรือตำบลที่ประชาชนเข้าไปตั้งถิ่นฐานอยู่เพื่อประกอบอาชีพเป็นหลักฐาน เช่น นิคมสร้างตนเอง นิคมอุตสาหกรรม. |
บน ๓ | คำที่จดไว้เป็นหลักฐาน, คำให้การที่จดไว้เป็นหลักฐาน, เช่น ถ้าถามหมีรับให้คาดบนไว้อย่าให้เอาเงีน (สามดวง). |
บัญชี | น. สมุดหรือกระดาษสำหรับจดรายการต่าง ๆ ไว้เป็นหลักฐาน เช่น บัญชีเงินสด บัญชีพัสดุ บัญชีพล บัญชีเรียกชื่อ. |
บันทึก | ก. จดข้อความเพื่อช่วยความทรงจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, จดหรือถ่ายทำไว้เพื่อช่วยความจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, เช่น บันทึกรายงานการประชุม บันทึกภาพ บันทึกเสียง, จดย่อ ๆ ไว้เพื่อให้รู้เรื่องเดิม |
บันทึก | น. ข้อความที่จดไว้เพื่อช่วยความทรงจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน, ข้อความที่นำมาจดย่อ ๆ ไว้เพื่อให้รู้เรื่องเดิม. |
โบราณวัตถุ | สังหาริมทรัพย์ที่เป็นของโบราณไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือที่เป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของโบราณสถาน ซากมนุษย์ หรือซากสัตว์ ซึ่งโดยอายุหรือโดยลักษณะแห่งการประดิษฐ์หรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของสังหาริมทรัพย์นั้นเป็นประโยชน์ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี. |
โบราณสถาน | อสังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยอายุหรือโดยลักษณะแห่งการก่อสร้าง หรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพย์นั้น เป็นประโยชน์ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี ทั้งนี้ รวมถึงสถานที่ที่เป็นแหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์ และอุทยานประวัติศาสตร์ด้วย. |
ใบตราส่ง | น. เอกสารซึ่งผู้ขนส่งออกให้แก่ผู้ส่งสินค้า เพื่อเป็นหลักฐานการรับขนของให้ตามข้อตกลง. |
ใบสำคัญคู่จ่าย | น. เอกสารที่เป็นหลักฐานในการจ่ายเงิน |
ใบสำคัญคู่จ่าย | หลักฐานการจ่ายที่เป็นใบเสร็จรับเงิน หลักฐานของธนาคารแสดงการจ่ายเงินแก่เจ้าหนี้ หรือหลักฐานการนำเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้รับที่ธนาคาร และรวมถึงใบนำส่งเงินต่อคลังด้วย. |
ใบหุ้น | น. ใบสำคัญสำหรับหุ้นที่บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดออกให้แก่ผู้ถือหุ้นหรือผู้ซื้อหุ้นเพื่อเป็นหลักฐานแสดงการถือหุ้น. |
ประวัติศาสตร์ | (ปฺระหฺวัดติสาด, ปฺระหฺวัดสาด) น. วิชาว่าด้วยเหตุการณ์ที่เป็นมาหรือเรื่องราวของประเทศชาติเป็นต้นตามที่บันทึกไว้เป็นหลักฐาน. |
ปึกแผ่น | ว. ที่ตั้งอยู่ด้วยความมั่นคง, มีหลักฐานมั่นคง. |
เป็นจริงเป็นจัง | ว. เป็นหลักฐานมั่นคง, เป็นชิ้นเป็นอัน, เป็นลํ่าเป็นสัน. |
probable evidence | พยานหลักฐานที่น่ารับฟัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
probative evidence | พยานหลักฐานในประเด็น (ที่ใช้พิสูจน์ได้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prima facie evidence; preliminary evidence | พยานหลักฐานเบื้องต้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proper evidence | พยานหลักฐานที่ถูกต้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
positive evidence | พยานหลักฐานโดยตรง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
preliminary evidence; prima facie evidence | พยานหลักฐานเบื้องต้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
presumptive evidence | พยานหลักฐานที่เป็นข้อสันนิษฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
preponderance of evidence | พยานหลักฐานที่มีน้ำหนักยิ่งกว่า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
partial evidence | พยานหลักฐานเพียงบางส่วน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plain view doctrine | หลักว่าด้วยหลักฐานที่ประจักษ์แจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lack of evidence | ขาดพยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lead evidence, to | นำพยานหลักฐานมาสืบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legal evidence | พยานหลักฐานที่รับฟังได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
law of evidence | กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rebuttable evidence | พยานหลักฐานที่อาจหักล้างได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relevant evidence | พยานหลักฐานเกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
remoteness of evidence | พยานหลักฐานไกลจากประเด็น, พยานหลักฐานไม่เกี่ยวแก่ประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
substitutionary evidence | พยานหลักฐานแทน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
spoliation | การทำลายพยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
substantial evidence | พยานหลักฐานสำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
satisfactory evidence | พยานหลักฐานเพียงพอให้เชื่อฟังได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
system, evidence of | พยานหลักฐานแสดงการกระทำความผิดติดนิสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
oath in litem | คำสาบานเพื่อพิสูจน์พยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adduce counter evidence | นำพยานหลักฐานมาสืบแก้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adduce evidence | นำพยานหลักฐานมาสืบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adduction | ๑. การนำสืบ๒. การอ้าง (พยานหลักฐาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
admissible; admissible evidence | ๑. ที่รับไว้พิจารณาได้, ที่ยอมรับได้๒. ที่อ้างเป็นพยานหลักฐานได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
admissible evidence; admissible | ๑. ที่รับไว้พิจารณาได้, ที่ยอมรับได้๒. ที่อ้างเป็นพยานหลักฐานได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
audit trail | หลักฐานการตรวจสอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
judicial evidence | พยานหลักฐานที่ศาลรับฟัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
best evidence rule | หลักว่าด้วยพยานหลักฐานที่ดีที่สุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
multiple admissibility | การรับเป็นพยานหลักฐานได้หลายกรณี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conditional admissibility | การรับฟังเป็นหลักฐานโดยมีเงื่อนไข [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
clear evidence | พยานหลักฐานชัดแจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conflicting evidence | พยานหลักฐานที่ขัดแย้งกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
circumstancial evidence | พยานหลักฐานแวดล้อมกรณี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
corroborating evidence | พยานหลักฐานสนับสนุน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
corroboration | การหาพยานหลักฐานสนับสนุน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conclusive evidence | พยานหลักฐานอันเป็นที่ยุติ, พยานหลักฐานชัดแจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chattel paper | หลักฐานเป็นหนังสือ, พยานเอกสาร (เกี่ยวกับทรัพย์) (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collateral evidence | พยานหลักฐานประกอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demonstrative evidence | พยานหลักฐานที่แสดงชัดแจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demurrer to evidence | การคัดค้านพยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
duces tecum (L.) | ให้นำหลักฐานมาด้วย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
false evidence | พยานหลักฐานเท็จ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
failure of evidence; failure of proof | การไม่สามารถแสดงพยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
failure of proof; failure of evidence | การไม่สามารถแสดงพยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
failure of record | การที่จำเลยไม่สามารถแสดงหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
factum probans | ข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นหลักฐาน (เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fabricated evidence | พยานหลักฐานที่ทำขึ้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Authority card | บัตรหลักฐาน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Authority control | การควบคุมรายการหลักฐาน, Example: <p>เป็นการจัดการรายการหลักฐานประเภทต่างๆ ให้มีความสม่ำเสมอในการใช้คำ รายการหลักฐาน (authority file) เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับบรรณารักษ์ผู้ทำรายการ เพื่อให้เกิดความเป็นแบบแผนเดียวกัน เพื่อให้ข้อมูลการใช้คำอย่างถูกต้อง รวมถึงรายการโยง (cross reference) ที่เกี่ยวข้องโดยสมบูรณ์หรือตามหลักฐานที่มีอยู่ในเวลานั้น รายการหลักฐานอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการหรือการเปลี่ยนกฎการลงรายการ รายการหลักฐานที่สำคัญสำหรับการวิเคราะห์สารสนเทศ ได้แก่ รายการหลักฐานสำหรับชื่อ รายการหลักฐานสำหรับหัวเรื่อง และรายการหลักฐานสำหรับชื่อชุด <p>รายการหลักฐานสำหรับชื่อ (Name authority file) หมายถึง รายการหลักฐานที่เป็นมาตรฐานสำหรับชื่อต่างๆ ทั้งชื่อบุคคลและชื่อนิติบุคคลที่กำหนดขึ้นจากการตรวจสอบรายการหลักและรายการเพิ่มในแหล่งข้อมูลรายการหลักฐานชื่อบุคคล ชื่อนิติบุคคล ที่อ้างอิงได้ เช่น หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โอซีแอลซี กลุ่มความร่วมมือของบรรณารักษ์ทำรายการ เป็นต้น <p>ตัวอย่าง รายการหลักฐานสำหรับชื่อจากฐานข้อมูลรายการหลักฐานของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110227-Authority.JPG" width="640" higth="200" alt="Name authority"> <p>รายการหลักฐานสำหรับหัวเรื่อง (Subject authority file) หมายถึง รายการหลักฐานที่เป็นมาตรฐานสำหรับหัวเรื่อง <p>ตัวอย่าง รายการหลักฐานสำหรับหัวเรื่องจากฐานข้อมูลรายการหลักฐานของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Sub-Authority.JPG" width="640" higth="200" alt="Subject authority"> <p>รายการหลักฐานสำหรับชื่อชุด (series authority file) ได้แก่ รายการหลักฐานที่เป็นมาตรฐานสำหรับชื่อชุด <p>ตัวอย่าง รายการหลักฐานสำหรับชื่อชุดจากฐานข้อมูลรายการหลักฐานของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Series-Authority.JPG" width="640" higth="200" alt="Series authority"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Admissible evidence | พยานหลักฐานที่ยอมรับได้ [TU Subject Heading] |
Burden of proof | การพิสูจน์หลักฐาน [TU Subject Heading] |
Evidence (Law) | พยานหลักฐาน (กฎหมาย) [TU Subject Heading] |
Evidence tampering | การยุ่งเหยิงต่อพยานหลักฐาน [TU Subject Heading] |
Evidence, Criminal | พยานหลักฐานในคดีอาญา [TU Subject Heading] |
Evidence, Expert | พยานหลักฐานจากผู้เชี่ยวชาญ [TU Subject Heading] |
Evidence-based medicine | เวชปฏิบัติอิงหลักฐาน [TU Subject Heading] |
Exclusionary rule (Evidence) | การไม่รับฟังเป็นพยานหลักฐาน [TU Subject Heading] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Accounting evidence | หลักฐานการบัญชี [การบัญชี] |
Audit evidence | หลักฐานจากการสอบบัญชี [การบัญชี] |
Evidence | หลักฐาน [การบัญชี] |
Instrument | หลักฐาน [การบัญชี] |
Criminalistics | การพิสูจน์หลักฐาน [การแพทย์] |
Evidences | หลักฐาน [การแพทย์] |
Evidences, Confirming | หลักฐานที่ยืนยัน [การแพทย์] |
Evidences, Direct | พยานหลักฐานตรง [การแพทย์] |
Evidences, Indirect | พยานหลักฐานที่ไม่ตรง [การแพทย์] |
Evidences, Real | พยานหลักฐานที่แท้จริง [การแพทย์] |
benchmark | benchmark, หมุดหลักฐาน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
fact | ข้อเท็จจริง, หลักฐานหรือประจักษ์พยานต่าง ๆ ที่เป็นจริง ซึ่งสามารถสังเกตได้โดยทางตรงคือการใช้อวัยวะสัมผัสหรือโดยทางอ้อมคือการใช้เครื่องวัด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ใบแสดงหลักฐาน | [bai sadaēng lakthān] (n, exp) EN: certificate |
การอ้างพยานหลักฐาน | [kān āng phayān lakthān] (n) EN: adduction |
การหาพยานหลักฐานสนับสนุน | [kān hā phayān lakthān sanapsanun] (n, exp) EN: corroboration |
การไม่สามารถแสดงพยานหลักฐาน | [kān mai sāmāt sadaēng phayān lakthān] (n, exp) EN: inability to produce proof |
ขาดพยานหลักฐาน | [khāt phayān lakthān] (x) EN: lack of evidence |
หลักฐาน | [lakthān] (n, exp) EN: foundation ; ground ; basis |
หลักฐาน | [lakthān] (n) EN: proof ; evidence ; testimony FR: preuve [ f ] ; témoignage [ m ] ; évidence [ f ] |
หลักฐานไม่พอ | [lakthān mai phø] (x) EN: lack of evidence ; want proof |
หลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ | [lakthān sadaēng kammasit] (n, exp) EN: evidence of title |
หลักฐานทางโบราณคดี | [lakthān thāng bōrānnakhadī] (n, exp) EN: archaeological evidence |
หลักฐานทางธรณีวิทยา | [lakthān thāng thøranīwitthayā] (n, exp) EN: geological evidence |
หลักฐานที่เป็นรูปธรรม | [lakthān thī pen rūp tham] (n, exp) EN: concrete evidence |
ไม่มีหลักฐาน | [mai mī lakthān] (x) EN: baseless FR: sans fondement ; sans preuve |
พยานหลักฐาน | [phayān lakthān] (n, exp) EN: evidence ; testimony ; proof FR: témoignage [ m ] ; preuve [ f ] |
พยานหลักฐานชัดแจ้ง | [phayān lakthān chatjaēng] (n, exp) EN: clear evidence |
พยานหลักฐานโดยอ้อม | [phayān lakthān dōi øm] (n, exp) EN: indirect evidence ; extrinsic evidence ; extraneous evidence |
พยานหลักฐานโดยตรง | [phayān lakthān dōitrong] (n, exp) EN: direct evidence |
พยานหลักฐานไม่พอ | [phayān lakthān mai phø] (n, exp) EN: insufficient evidence |
พยานหลักฐานอ่อน | [phayān lakthān øn] (n, exp) EN: insufficient evidence |
พยานหลักฐานเพื่อหักล้าง | [phayān lakthān pheūa haklāng] (n, exp) EN: evidence in rebuttal |
พยานหลักฐานสนับสนุน | [phayān lakthān sanapsanun] (n, exp) EN: corroborating evidence ; corroborative evidence |
พยานหลักฐานที่รับฟังได้ | [phayān lakthān thī rapfang dāi] (n, exp) EN: admissible evidence |
พยานหลักฐานแวดล้อมกรณี | [phayān lakthān waētløm karanī = phayān lakthān waētløm køranī] (n, exp) EN: circumstancial evidence |
เพราะหลักฐานไม่พอ | [phrǿ lakthān mai phø] (xp) EN: due to lack of evidence ; for want of proof |
ปราศจากหลักฐาน | [prātsajāk lakthān] (adj) EN: groundless FR: sans fondement ; infondé |
หลักฐาน | [rūaprūam lakthān] (v, exp) EN: collect evidence FR: rassembler des preuves |
แสดงหลักฐาน | [sadaēng lakthān] (v, exp) EN: produce evidence ; provide evidence ; furnish proof FR: fournir la preuve |
สนับสนุนข้ออ้างด้วยหลักฐาน | [sanapsanun khø-āng dūay lakthān] (v, exp) EN: back up a claim |
เสนอหลักฐาน | [sanōe lakthān] (v, exp) EN: furnish evidence |
ทำลายหลักฐาน | [thamlāi lakthān] (v, exp) EN: destroy evidence |
ยื่นหลักฐาน | [yeūn lakthān] (v, exp) EN: adduce evidence |
evidence | (n) หลักฐาน |
woke | (adj, slang) ตื่นตัวกับเรื่องข้อมูลหรือประเด็นปัญหาทางสังคม เช่น การเหยียดผิว, ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม โดยอาจจะมีหรือไม่มีข้อมูลหลักฐานที่ชัดเจน |
apparent | (อะพา'เรินทฺ) adj. เด่นชัด, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, ภายนอก, เกี่ยวกับหลักฐานแรก เริ่ม, เหมาะที่จะครองมาก. -apparentness n., Syn. clear, evident, Ant. doubtful, hazy |
argument | (อาร์'กิวเมินทฺ) n. การโต้เถียง, การโต้คารม, การอ้างเหตุผล, ขบวนการให้เหตุผล, ข้อโต้เถียง, เรื่อง, ข้อสรุป, หลักฐาน, ข้อพิสูจน์ |
attestation | (อะเทสเท'เชิน) n. การให้การ, การเป็นพยาน, การรับรอง, หลักฐานพยาน |
authentic | (ออเธน'ทิค) adj. แท้จริง, น่าเชื่อถือ, ไม่ใช่ปลอม, ของแท้, มีหลักฐาน, จริง, Syn. real, true, factual-A. false, fake |
authoritative | (ออธอ'ริเททิฟว) adj. ซึ่งมีอำนาจ, เชื่อถือได้, มีหลักฐานพิสูจน์ได้, เผด็จการ |
bank paper | ธนบัตร, ดราฟท์, หลักฐานหรือตั๋วแลกเงินธนาคาร, Syn. bank notes |
betoken | (บิโท'เคิน) { betokened, betokening, betokens } vt. เป็นหลักฐาน, ล่อแสดง, แสดงถึง, เป็นลาง, เป็นนิมิต, บอกเหตุการณ์ล่วงหน้าว่า |
case | (เคส) { cased, casing, cases } n. เรื่อง, กรณี, สภาพ, ข้อเท็จจริง, หลักฐานพยาน, ตัวอย่างที่เป็นจริง, รูปการ, โรค, คนไข้, ราย, ข้อสนับสนุน, การฟ้องร้อง, คดี, กล่อง, ลัง, หีบ, ปลอกหุ้ม, ปลอก, ซอง, อุปกรณ์บรรจุ, ถาดซองตัวพิมพ์ vt. บรรจุในกล่อง (ลัง, หีบ ฯลฯ) ห่อหุ้ม, ล้อม, ตรวจสอบดู - |
cedula | n. หลักฐานการเสียภาษีแล้ว, ประกาศนียบัตร |
chapter and verse | n. (การอ้าง) ถ้อยคำในบท, หลักฐาน |
chit | (ชิท) n. เด็ก, เด็กสาว, เด็กเล็ก ๆ , ใบเซ็นชื่อเชื่อ, ใบเสร็จรับของ, ใบสำคัญหลักฐานการจ่าย, จดหมายที่มีข้อความเล็กน้อย, หน่ออ่อน, หน่อ vt. เด็ดเอาหน่อออก, Syn. child |
corroboration | (คะรอบบะเร'เชิน) n. การหาหลักฐานยืนยัน, การทำให้แน่ใจยิ่งขึ้น, ข้อเท็จจริงหรือคำพูดที่ยืนยันสนับสนุน, Syn. confirmation, proof |
credence | (เครด'เดินซฺ) n. ความเชื่อถือว่าจริง, ความไว้วางใจ, หลักฐานความเชื่อถือ -Phr. (credence table, credenzaโต๊ะข้างที่ใช้ในวิธีศีลมหาสนิท (Eucharist)), Syn. assurance, belief, trust, faith, Ant. distrust, mistrust |
credential | (คริเดิน'เชิล) n. หลักฐานอ้างอิง, หนังสือรับรอง, หนังสือแนะนำตัว, สาสน์ตราตั้งทูต, ประกาศนียบัตร. adj. ซึ่งเป็นหลักฐานอ้างอิง หรือรับรอง, See also: credentialed adj. |
credit | (เครด'ดิท) { credited, crediting, credits } n. ความน่าไว้วางใจ, ความเชื่อถือ, ชื่อเสียง, เกียรติยศ, เกียรติภูมิ, ฐานะ, หลักฐาน, สินเชื่อ, การเชื่อของ, เงินสินเชื่อ, เงินคงเหลือในธนาคาร, บัญชีรายรับ, หน่วยกิตวิชา, หนังสือรับรองสินเชื่อ vt. เชื่อถือ, ไว้วางใจ, เลื่อมใส, นำชื่อ |
debenture | (ดิเบน'เชอะ) n. เอกสารหลักฐานการลดภาษีที่ศุลกากร, ใบหุ้นของบริษัท |
discharge | (ดิสชาร์จ') vi., vt., n. (การ) ปล่อย, เอาลง, ขับออก, ทำให้พ้นหน้าที่ความรับผิดชอบหรืออื่น ๆ , ปลดจากประจำการ, ปลดจากงาน, ปล่อยกระแสไฟฟ้า, หนังสือหลักฐานการปลดจากภาระหน้าที่, การชำระสะสาง, See also: discharger n. ดูdischarge, Syn. unl |
document | (ดอก'ยะเมินทฺ) n. เอกสาร, สาร, เอกสารหลักฐาน, ภาพยนต์บันทึกเหตุการณ์, หลักฐานพยาน, เครื่องพิสูจน์. vt. มีเอกสารประกอบ, , See also: documentary adj. |
evidence | (เอฟ'วิเดินซฺ) n. หลักฐาน, ความชัดแจ้ง. -Phr. (in evidence ชัดแจ้ง) . vt. ทำให้ชัดแจ้ง, พิสูจน์ให้เห็นด้วยพยานหลักฐาน, Syn. proof |
evidential | (เอฟวิเดิน'เชิล) adj. ซึ่งเป็นพยานหลักฐาน, ซึ่งเป็นเครื่องแสดง |
exhibit | (เอกซิบ'บิท) vt. แสดง, แสดงนิทรรศการ, ออกแสดง, อธิบาย, แสดงต่อศาล (พยานหลักฐาน) n. นิทรรศการ, สิ่งที่นำมาแสดงนิทรรศการ., See also: exhibitor, exhibiter n., Syn. display |
ground | (เกราดฺ) n. พื้น, พื้นดิน, ดิน, ที่ดิน, สนาม, สถานที่, บริเวณ, เขต, เรื่องราว, หัวเรื่อง, ท้องน้ำ, ท้องทะเล, ก้นน้ำ, หลักฐาน, พื้นฐาน, เหตุ, ที่มั่น, หลักฐานอ้างอิง, ที่มั่น. v. กริยาช่อง 2 และ 3ของgrind adj. บดเป็นผง, บดแล้ว -above ground มีชีวิต. -below ground ตายและฝัง. -h |
i.o.u. | abbr. I owe you, หลักฐานการยืมเงินหรือเป็นหนี้ที่มีลายเซ็นของลูกหนี้ |
identity | (ไอเดน'ทิที) n. เอกลักษณ์, ความเหมือนกัน, หลักฐาน, รูปพรรณ, Syn. self, individuality |
ill-founded | adj. ซึ่งมีหลักฐานอ่อน, ไม่ยืนยัน, ด้วยเหตุผล |
iou | abbr. I owe you, หลักฐานการยืมเงินหรือเป็นหนี้ที่มีลายเซ็นของลูกหนี้ |
justifier | (จัส'ทิไฟเออะ) n. ผู้แก้ต่าง, ผู้แก้ตัว, ผู้แสดงความบริสุทธิ์, ผู้แสดง, หลักฐานแก้ตัว |
king's evidence | n. หลักฐานพยานจากจำเลย |
magisterial | (แมจจิสเทอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับนาย, อย่างวางอำนาจ, เชื่อถือได้, มีหลักฐาน, ในฐานะเป็นต้นตำรับ, ในฐานะเป็นผู้เชี่ยวชาญ., See also: magisterially adv. magisterialness n. |
postulate | (พอส'ชะลิท) n. ขอร้อง, ยืนยัน, อ้าง, วางสมมุติฐาน, วางหลัก. n. สมมุติฐาน, หลัก, หลักฐาน, หลักการพื้นฐาน, เงื่อนไขที่ต้องมีก่อน., See also: postulation n. postulational adj., Syn. demand premise |
premise | (เพรม'มิส) n. หลักฐาน, ข้อเสนอสนับสนุนการสรุปสมมุติฐาน, See also: premises ที่ดินที่รวมทั้งสิ่งปลูกสร้าง, สถานที่. vt. เสนอล่วงหน้า, อ้างหลักฐาน, บรรยาย, เสนอสมมุติฐาน. vi. เสนอสมมุติฐาน, Syn. assumption |
prima facie case | n. คดีที่มีพยานหลักฐานชัดเจนประกอบภายนอก |
prima facie evidence | n. พยานหลักฐาน ที่พอเพียง |
proof | (พรูฟ) n. หลักฐาน, พยาน, การพิสูจน์, การทดสอบ, กำลัง, ความเข้มข้นของแอลกอฮอล, การตรวจทาน, การตรวจปรู๊ฟ, การทดลองพิมพ์. adj. เข้าไม่ได้, ต้านทาน, กันทะลุ, กันน้ำ, ไม่ซึม, ไม่หวั่นไหว, ป้องกันไฟได้, ซึ่งพิสูจน์แล้ว. vt. ทดสอบ, ทดลอง, ตรวจสอบ, ต้านทาน |
proofless | adj. ไม่มีหลักฐาน |
recognizance | (ริคอก'นิเซินซฺ, -คอน'นิเซินซฺ) n. การค้ำประกัน, หนังสือค้ำประกัน, เงินประกันที่มอบให้แก่ศาล, เงินประกัน, เงินค้ำประกัน, หลักฐาน, เครื่องแสดง, เหรียญหรือเข็มประดับ |
record | (เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า) |
refer | (รีเฟอ') v. อ้างถึง, อ้างอิง, พาดพิง, กล่าวถึง, เกี่ยวโยงไปถึง, ค้นหา (หลักฐาน, พจนานุกรม) , เสนอแนะ, ถาม, See also: referable adj. referrable adj. referral n. referrer n., Syn. attribute, impute, consign |
reference | (เรฟ'เฟอเรินซฺ) n. การอ้างอิง, การอ้างถึง, หนังสืออ้างอิง, เครื่องหมายอ้างอิง, บุคคลที่อ้างถึง, ความสัมพันธ์, หลักฐาน, หลักฐานที่ผู้สมัครงานอ้างถึง, Syn. mention, source |
settle | (เซท'เทิล) vt., vi. จัด, จัดการ, วาง, จ่ายเงิน, ชำระ, ปิดบัญชี, อพยพเข้า, ตั้งรกราก, ตั้งหลักฐาน, ทำให้สงบ, ทำให้มั่นคง, ทำให้ค่อย ๆ จมลง, ขจัดให้เสร็จสิ้น, ตัดสินใจ, จัดการ, ตกลง, พัก, นอนก้น -Phr. (settle down ตั้งรกราก, ตั้งถิ่นฐาน, สงบใจ เงียบสงบ มีจิตมุ่งมั่น) |
settlement | (เซท'เทิลเมินทฺ) n. การจัดการ, การแก้ปัญหา, การชำระหนี้, การชำระบัญชี, การตั้งถิ่นฐาน, การตั้งรกราก, การตั้งหลักฐาน, การตั้งกิจการ, นิคม, อาณานิคม, ชุมชน, การมอบทรัพย์สิน, ทรัพย์สิน, กองทุน, ถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย, การค่อย ๆ จมลง |
substantiate | (ซับสแทน'ชิเอท) vt. พิสูจน์, ยืนยันด้วยหลักฐานพยาน, ทำให้มีลักษณะเป็นของจริง, ยืนยัน, ทำให้มีแก่นสาร. -substantiation n., See also: substantiative adj. substantiator n., Syn. confirm, affirm |
testimony | (เทส'ทะโมนี) n. หลักฐาน, พยาน, การยืนยันโดยการสาบานตัว, การแถลงโดยเปิดเผย, บัญญัติ10ประการของโมเซส., Syn. evidence |
title | (ไท'เทิล) n. หัวข้อ, ชื่อเรื่อง, ชื่อหนังสือ, คำเรียก, ชื่อเรียก, ยศฐาบรรดาศักดิ์, กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์, หลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์สิทธิ, ปกในของหนังสือ, ตำแหน่งชนะเลิศ, คำบรรยายข้างใต้ของภาพยนตร์หรือโทรทัศน์, ความบริสุทธิ์ของทองคำ, ความเหมาะสม. vt. ทำให้มีหัวข้อ |
token | (โท'เคิน) เครื่องหมาย, สัญลักษณ์, พยาน, หลักฐาน, ลักษณะเฉพาะ, ดัชนี, เครื่องรำลึก, เครื่องแสดง, เหรียญโดยสาร, เงินตรา, บัตรเงินตรา, กษาปณ์, -Phr. (in token of เป็นหลักฐาน เป็นสัญลักษณ์) adj. เป็นเครื่องหมาย, เป็นสัญลักษณ์, เล็กน้อย, ไม่สำคัญ. |
track | (แทรคฺ) n. ร่องรอยทางเดิน, ทางเดินเท้า, รางรถ, รอยทางรถ, ทางเกวียน, ทางในป่า, รอยเท้า, ลู่วิ่ง, ทางรถไฟ, ช่วงล้อรถ, ร่องรอย, หลักฐาน, วิถีทาง, เส้นทาง, แนวทาง vt., vi. ตามรอย, ตามทาง, คอยตาม, ติดตาม -Phr. (keep track of ติดตามข่าว บันทึก สืบเสาะ) -Phr. (on the track ตรงเป้า |
valid | (แวล'ลิด) adj. มีเหตุผล, มีมูล, มีหลักฐาน, มีผล, ให้ผลที่ต้องการ, เป็นทางการ, ใช้ได้, ฟังขึ้น, ชอบด้วยกฎหมาย, แข็งแรง, มีสุขภาพดี., See also: validly adv. validness n., Syn. cogent |
validity | (วะลิด'ดิที) n. ความใช้ได้, ความมีเหตุผล, ความสมบูรณ์, การมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย, ความมีมูล, การมีหลักฐาน, ความแข็งแรง, การมีสุขภาพดี, Syn. soundness, validation |
verification | (เวริฟิเค'เชิน) n. การพิสูจน์ความจริง, การตรวจสอบความเป็นจริง, การยืนยันความเป็นจริง, หลักฐานพิสูจน์ความจริง., See also: verificative, verificatory adj., Syn. proof |
vestige | (เวส'ทิจฺ) n. ร่องรอย, รอยหรือหลักฐานที่ทิ้งเอาไว้, รอยเท้า, รอยทาง, เศษนิดเดียว, อวัยวะที่เสื่อมหรือไม่สมบูรณ์ที่เหลืออยู่ |
attestation | (n) การเป็นพยาน, การให้การ, การรับรอง, พยานหลักฐาน, การปฏิญาณตน |
basis | (n) มูลฐาน, หลักฐาน, รากฐาน, ส่วนสำคัญ, กฎเกณฑ์ |
confirmation | (n) การยืนยัน, การรับรอง, พยานหลักฐาน |
confutation | (n) การหักล้าง, การพิสูจน์ว่าผิด, การทำให้จำนนต่อหลักฐาน |
confute | (vt) ทำให้จำนนต่อหลักฐาน, พิสูจน์ว่าผิด |
credentials | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, หนังสือรับรอง, หลักฐานอ้างอิง, สาสน์ตราตั้ง |
document | (n) เอกสาร, หลักฐาน, สาร, เครื่องพิสูจน์ |
evidence | (n) หลักฐาน, ข้อแสดง, พยานหลักฐาน, พยานบุคคล |
evidence | (vt) เป็นหลักฐาน, ทำให้ชัดเจน, ทำให้ชัดแจ้ง, ปรากฏชัดเจน |
foothold | (n) หลักฐาน, ฐานะ, ที่มั่น, จุดมั่น |
foundation | (n) การสถาปนา, รากตึก, รากฐาน, การสร้าง, มูลนิธิ, หลักฐาน, พื้นฐาน |
ground | (n) พื้นดิน, ดิน, มูลฐาน, ที่มั่น, หลักฐาน, รากฐาน, ที่ดิน |
groundless | (adj) ไม่มีหลักฐาน, ไม่มีเหตุผล |
identity | (n) เอกลักษณ์, รูปพรรณ, หลักฐาน |
institute | (n) สิ่งที่จัดขึ้น, องค์การ, สถาบัน, หลักฐาน, วิทยาลัย |
institutional | (adj) เกี่ยวกับสถาบัน, เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม, เกี่ยวกับหลักฐาน |
postulate | (n) สมมุติ, หลักฐาน, เงื่อนไข |
premise | (n) หลักฐาน, สถานที่, สมมุติฐาน, ข้อสนับสนุน |
premise | (vt) อ้างหลักฐาน, เสนอล่วงหน้า, บรรยาย |
proof | (n) ข้อพิสูจน์, การพิสูจน์, ตัวอย่าง, หลักฐาน, พยาน, การตรวจปรู๊ฟ |
recognizance | (n) ข้อผูกมัด, เงินประกัน, การค้ำประกัน, หลักฐาน |
testify | (vi) เป็นพยาน, แสดงหลักฐาน, ให้การ, ยืนยัน, พิสูจน์ |
testimony | (n) พยาน, ข้อพิสูจน์, หลักฐาน, บัญญัติ 10 ประการของโมเสส |
token | (n) เครื่องหมาย, เหรียญ, เบี้ย, ของขวัญ, พยานหลักฐาน, เครื่องแสดง, ของที่ระลึก |
vestige | (n) เครื่องหมาย, ร่องรอย, หลักฐาน |
witness | (n) หลักฐาน, ผู้เห็น, พยาน |
arguably | [can be supported by goond reasons or evidence and is probably true or correct. EG De] (adv) น่าจะเป็นจริงว่า (โดยมีเหตุผล และหลักฐานสนับสนุน), Syn. seemingly |
meta-analysis | (phrase) การทบทวนวรรณกรรมระบบเชิงปริมาณ, การทบทวนหลักฐานจากข้อมูลทางสถิติที่รวบรวมขึ้น |
produce evidence | นำเสนอพยานหลักฐาน |
証拠 | [しょうこ, shouko] (n) หลักฐาน(ในคดี) |
半券 | [しょうこ, hanken] (n) ครึ่งหนึ่งของตั๋ว, ใบฝากของ, ใบเสร็จรับเงิน หรืออื่นๆ ที่ได้รับเพื่อเป็นหลักฐาน, See also: R. stub |
証し | [あかし, akashi] TH: หลักฐาน EN: evidence |
*rankenversicherung { f } | gesetzliche Krankenversic* | หลักฐานการประกันสุขภาพ |