Common Foreign and Security Policy | นโยบายร่วมต่างประเทศและความมั่นคง (ของสหภาพยุโรป) " ผู้ที่ได้รับการมอบหมายให้ดูแลในเรื่องนี้ คือ ผู้แทนระดับสูงด้านนโยบายร่วมต่างประเทศและความมั่นคง (High Representative) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า Mr. CFSP " [การทูต] |
International Bank for Reconstruction and Development | ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา เป็นที่รู้จักกันในชื่อ ธนาคารโลก (World Bank) สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2489 เพื่อส่งเสริมให้เงินทุนมีการไหลเวียนระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือในด้านการให้กู้ในโครงการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศกำลังพัฒนา [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
acquainted | (adj) เป็นที่รู้จัก, See also: ที่คุ้นเคย |
be in the open | (idm) เป็นที่รู้กันทั่ว, See also: เปิดเผยต่อสาธารณชน |
be in the public eye | (idm) เป็นที่รู้กันทั่ว, See also: เป็นที่รู้กันดี |
be out | (phrv) เป็นที่รู้กันทั่ว, See also: แพร่ไปทั่ว, Syn. let out |
catch on | (phrv) ได้รับความนิยม, See also: กลายเป็นที่รู้จักกันดี, Syn. take on |
flash on | (phrv) เป็นที่รู้จักทันทีโดย, See also: ทำให้นึกถึงขึ้นมา, ทำให้จำได้ทันที, Syn. flash upon |
flash upon | (phrv) เป็นที่รู้จักทันทีโดย, See also: ทำให้นึกถึงขึ้นมา, ทำให้จำได้ทันที, Syn. flash on |
emerge | (vi) เป็นที่รู้จัก |
famed | (adj) ซึ่งมีชื่อเสียง, See also: ซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างมาก, Syn. renowned |
familiar | (adj) คุ้นเคย, See also: เคยชิน, ซึ่งเป็นที่รู้จัก, Syn. customary, well-known, Ant. strange, unfamiliar |
get out | (phrv) แพร่ออกไป, See also: เป็นที่รู้กันทั่ว, Syn. let out |
in the public eye | (idm) เป็นที่รู้กันทั่ว, See also: เป็นที่จับตามองของทุกคน |
none the wiser | (idm) ไม่เป็นที่รู้จักอีกต่อไป |
play to the gallery | (idm) ทำตัวเด่น, See also: ทำตัวให้เป็นที่รู้จัก, ทำตัวให้เป็นที่ยอมรับ |
illustrious | (adj) ซี่งมีชื่อเสียง, See also: โด่งดัง, เป็นที่รู้จัก, Syn. distinguished, eminent, famous, renowned |
know to | (phrv) เป็นที่รู้จักดีต่อ (หรือของ) |
lead out | (phrv) (ข่าว)รั่ว, See also: เป็นที่รู้กันโดยไม่ตั้งใจ, Syn. let out |
known | (adj) ซึ่งเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป, Syn. recognized, admitted |
manifest | (adj) ซึ่งเป็นที่เข้าใจแจ่มแจ้ง, See also: ซึ่งเห็นเด่นชัด, เป็นที่รู้กันทั่ว, ซึ่งชัดแจ้ง, Syn. clear, evident, visible, obvious |
notable | (n) บุคคลที่มีชื่อเสียง, See also: บุคคลซึ่งเป็นที่รู้จัก, บุคคลสำคัญ |
nowhere | (n) สถานที่ที่ไม่เป็นที่รู้จัก, See also: สถานที่ที่ไม่มีอยู่จริง, สถานที่ห่างไกล, Syn. no place |
obscurity | (n) ความไม่เป็นที่รู้จัก, See also: ความไม่สำคัญ, Syn. insignificance, unimportance, Ant. fame |
obscurity | (n) คนหรือสิ่งที่ไม่เป็นที่รู้จัก, Syn. unknown, Ant. celebrity |
personality | (n) คนที่มีชื่อเสียง, See also: บุคคลมีชื่อเสียง, คนที่เป็นที่รู้จักกันดี, Syn. celebrity, personage |
proverbial | (adj) เป็นที่เลื่องลือ, See also: เป็นที่รู้จักกันทั่วไป, ซึ่งเลื่องลือ, ซึ่งขึ้นชื่อ |
repertoire | (n) บทละครหรือบทเพลงซึ่งเป็นที่รู้จักดี, Syn. stock, repertory, collection |
repertory | (n) บทละครหรือบทเพลงซึ่งเป็นที่รู้จักดี |
rise to the surface | (idm) กลายเป็นที่รู้จัก |
on the street | (sl) เป็นที่รู้จักกันทั่ว |
scilicet | (adv) นั่นคือ, See also: กล่าวคือ, เป็นที่รู้ว่า, Syn. in particular, namely, to wit, videlicet |
so-called | (adj) เป็นที่รู้จักแพร่หลาย |
surface | (vi) เป็นที่ปรากฏ, See also: เป็นที่รู้, ปรากฏ, เปิดเผย, Syn. become apparent, become known |
unbeknown | (adj) ไม่เป็นที่รู้จัก, See also: ไม่รู้จัก |
unknown | (n) สิ่งที่ไม่รู้จัก, See also: สิ่งที่ไม่ร, คนที่ไม่เป็นที่รู้จัก, สัญลักษณ์แทนจำนวนที่ไม่ทราบ |
unpopular | (adj) ซึ่งไม่เป็นที่นิยม, See also: ซึ่งไม่เป็นที่รู้จัก, Syn. disliked, unaccepted, scorned, unloved |
well-known | (adj) ซึ่งมีชื่อเสียง, See also: ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี, เป็นที่รู้จัก, เลื่องลือ, Syn. famous, notorious, renowned, Ant. unknown |
well-wired | (adj) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในธุรกิจการค้า |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
computerese | (สคัมพิวทะริซ) n. ภาษารหัสคอมพิวเตอร์ นักคอมพิวเตอร์หมายถึงคำศัพท์หรืออาจเป็นสำนวนต่าง ๆ ที่นักคอมพิวเตอร์มักใช้ และเป็นที่รู้จักในวงการนักคอมพิวเตอร์ด้วยกัน เช่น garbage ปกติแปลว่าขยะ นักคอมพิวเตอร์นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ |
disk operating system | ระบบปฏิบัติการแบบใช้จานโปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่สั่งการให้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทำงาน ถ้าจะแปลให้ตรงตัว ก็จะเรียกได้ว่า เป็นระบบปฏิบัติการแบบที่ใช้จานบันทึกข้อมูล เรามักจะใช้คำย่อที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า DOS (อ่านว่า ดอส) ส่วนระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ เรียกว่า OS อ่านว่า โอเอส (Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ประเภทเทียบเคียงกับไอบีเอ็ม (IBM compatibles) หรือพีซี (PC) จะใช้ "ดอส" ที่เขียนโดยบริษัทไมโครซอฟต์ นิยมเรียกกันว่าMS-DOS หรือ Microsoft DOS ส่วนระบบปฏิบัติการที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช มีชื่อว่า System 6 หรือ 7 |
ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
institute of electrical a | สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
intel | อินเทลเป็นชื่อบริษัทในสหรัฐ ที่ผลิตไอซี (IC) หรือไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) ที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือพีซี (PC) ไมโครโพรเซสเซอร์เหล่านี้ที่เป็นที่รู้จักก็คือ 8088, 80286, 80386, 80486, Pentium, Pentium Pro และ Pentium II |
record | (เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า) |
tsr | ทีเอสอาร์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก terminate and stay resident program แปลว่า โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ หมายถึง โปรแกรมชนิดพิเศษที่จะอยู่ในแรม (RAM) เสมอ สามารถเรียกหาได้โดยการกดแป้นคำสั่งที่กำหนดไว้เป็นพิเศษ การเรียกโปรแกรมประเภทนี้ จะเรียกได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะกำลังทำโปรแกรมอะไรอยู่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน เรามีระบบวินโดว์ ซึ่งทำให้เราเรียกโปรแกรมมาใช้พร้อม ๆ กันหลายโปรแกรมได้อยู่แล้ว โปรแกรมประเภท TSR จึงไม่เป็นที่รู้จักอีกต่อไป |
well-known | (เวล'โนน) adj. มีชื่อเสียง, ดี, เป็นที่รู้จักกันทั่วไป, คุ้นเคย |
write protect | กันบันทึกหมายถึง การป้องกันมิให้มีการบันทึกข้อมูลใด ๆ ลงไปในแผ่นจานบันทึก ส่วนมากจะทำเพื่อมิให้มีการบันทึกทับข้อมูลที่อยู่เดิม เพราะจะทำให้ข้อมูลเดิมหายไป วิธีทำก็มีหลายแบบ เช่น ถ้าเป็นจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ก็ใช้เลื่อนปุ่มด้านหลัง ถ้าเป็นจานบันทึกขนาด 5.25 นิ้ว ก็ใช้กระดาษกาวเล็ก ๆ ปิดที่ช่องแหว่งด้านข้าง ถ้าเป็น แถบบันทึก ก็ถอดวงแหวนออก และมีคำเตือนซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีว่า "No ring, no write" |