ขี้ไม่ให้หมากิน | ก. ขี้เหนียว, ตระหนี่เหนียวแน่น. |
งานหลวงไม่ให้ขาด งานราษฎร์ไม่ให้เสีย | ทำงานไม่บกพร่องทั้งงานส่วนรวมและส่วนตัว, ใช้เพี้ยนว่า งานหลวงไม่ขาด งานราษฎร์ไม่เสีย ก็มี. |
ห้ามไม่ให้ | ก. เป็นการย้ำไม่ให้ทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ห้ามไม่ให้เขียน ห้ามไม่ให้พูด. |
กระซิบ | ก. พูดเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระซุบ เป็น กระซุบกระซิบ. |
กระดี่ ๒ | น. ชื่อกบชนิดหนึ่งสำหรับไสไม้ให้เป็นร่อง เรียกว่า กบกระดี่. |
กระดุม | น. เครื่องกลัดส่วนต่าง ๆ ของเสื้อผ้าไม่ให้แยกออกจากกัน ทำเป็นรูปต่าง ๆ มักมีรังดุมสำหรับขัด, ดุม ลูกดุม หรือ ลูกกระดุม ก็เรียก. |
กระทงเพชร | น. ไม้ติดขวางรองแคร่เกวียนเพื่อยึดไม่ให้แคร่แยกออกไป. |
กระหย่ง ๒ | ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้ตนสูงขึ้นหรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินกระหย่ง วิ่งกระหย่ง, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็มเห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้ากระหย่ง, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งกระหย่ง, กระโหย่ง หย่ง หย่ง ๆ โหย่ง หรือ โหย่ง ๆ ก็ว่า. |
กระโหย่ง ๒ | (-โหฺย่ง) ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินกระโหย่ง วิ่งกระโหย่ง, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้ากระโหย่ง, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้นเรียกว่า นั่งกระโหย่ง, กระหย่ง หย่ง หย่ง ๆ โหย่ง หรือ โหย่ง ๆ ก็ว่า. |
กราด ๒ | เครื่องจีมไม้ให้แน่น. |
กลบ | (กฺลบ) ก. เอาสิ่งซึ่งเป็นผงโรยทับข้างบนเพื่อปิดบัง เช่น เอาขี้เถ้าไปกลบขี้แมว, เอาดินหรือสิ่งอื่น ๆ ใส่ลงไปในที่เป็นหลุมเป็นบ่อ หรือเป็นแอ่งเพื่อให้เต็มหรือไม่ให้เห็นร่องรอย, โดยปริยายหมายความว่า ปิดบัง เช่น กลบความ, ทดแทน เช่น ให้เอาสินไหมมากลบทรัพย์นั้นเสีย (กฎ. ราชบุรี). |
กลบไต๋ | ก. ปกปิดไพ่ตัวสำคัญไว้ไม่ให้คู่แข่งรู้, ปกปิดกลเม็ด ทีเด็ด ความลับ หรือเจตนาไว้, อุบไต๋ ก็ว่า. |
กลัด | (กฺลัด) ก. เสียบขัดไว้ให้อยู่ด้วยของแหลม เช่น ใช้ไม้กลัดกลัดกระทง, ทำให้ติดขวางไว้ไม่ให้หลุดออก เช่น กลัดกระดุม |
กลั้น | (กฺลั้น) ก. บังคับความรู้สึกหรือสิ่งที่อยู่ภายในร่างกายไม่ให้แสดงออกหรือหลุดออกมา เช่น กลั้นโทสะ กลั้นปัสสาวะ. |
กองหลัง | น. หน่วยหลัง, ตำแหน่งในกีฬาฟุตบอลที่ผู้เล่นมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามยิงประตูฝ่ายตน. |
กะโล่ | ภาชนะสานคล้ายกระด้ง แต่ก้นลึกกว่ากระด้ง มีหลายขนาด แต่ชนิดที่ทาชันเพื่อไม่ให้นํ้ารั่วออก สำหรับหมักขี้ไต้หรือยาเส้นนั้น มีขนาดใหญ่กว่ากระด้งมาก มักเรียกว่า กะโล่มอญ หรือ กระด้งมอญ |
กัก | ก. ไม่ให้ล่วงพ้นเขตที่กำหนดไว้, กำหนดเขตให้อยู่, เช่น กักตัว, กักกัน ก็ว่า |
กักกัน | ก. ไม่ให้ล่วงพ้นเขตที่กำหนดไว้, กำหนดเขตให้อยู่, กัก ก็ว่า. |
กัด ๑ | ก. เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป เช่น กัดสำลีไว้ให้แน่น หรือเพื่อให้เข้าไป ให้ทะลุ ให้ฉีกขาด เป็นต้น เช่น สุนัขกัดเข้าไปถึงกระดูก หนูกัดผ้าเป็นรู, โดยปริยายหมายความว่า ทำให้กร่อนสลายหรือจางไป เช่น สนิมกัดเหล็ก กัดสิวกัดฝ้าออกให้หมด, ทำให้เปื่อยเป็นแผล เช่น ปูนกัดปาก น้ำกัดเท้า |
กัน ๓ | ก. กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น เช่น กันฝน กันสนิม กันภัย, แยกไว้ เช่น กันเงินไว้ ๕๐๐ บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จำเป็น กันเอาไว้เป็นพยาน. น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง ทำหน้าที่ถวายอารักขา ว่า เรือกัน. |
กันท่า | ก. แสดงกิริยาอาการขัดขวางไม่ให้ผู้อื่นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้สะดวก. |
กั้น | ก. กีดขวางหรือทำสิ่งกีดขวางเพื่อบัง คั่น หรือกันไว้ไม่ให้เข้ามา เช่น ภูเขากั้นเขตแดน กั้นถนน. |
การกลั่นทำลาย | น. กรรมวิธีที่ให้ความร้อนสูงแก่สารอินทรีย์โดยไม่ให้อากาศเข้า เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ้นแก่สารนั้น ให้ผลเป็นสารที่ระเหยได้และแยกตัวออกมา เช่น การกลั่นทำลายขี้เลื่อย ให้ผลเป็นเมทิลแอลกอฮอล์ กรดนํ้าส้ม และสารอื่นอีก, การกลั่นทำลายถ่านหิน ให้ผลเป็นแก๊สถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นํ้ามันเบนซิน ลูกเหม็นกันแมลงสาบ และสารอื่นที่มีประโยชน์อีกมาก กากที่เหลือเรียกว่า ถ่านโค้ก. |
กีดกัน | ก. กันไม่ให้ทำได้โดยสะดวก. |
กุญแจ ๑ | น. เครื่องสำหรับใส่ประตูหน้าต่างเป็นต้น เพื่อยึดหรือสลักไม่ให้เปิดเข้าออกได้ เวลากดหรือไขออกมีเสียงลั่นดังกริ๊ก มีลูกไข เรียกว่า ลูกกุญแจ, ประแจ ก็เรียก. |
เก็บสี | ก. รักษาสีไม่ให้จางตกไป. |
เก็บหน้าผ้า | ก. ทอกันหน้าผ้าไม่ให้เส้นด้ายหลุดออกมา. |
เกรียก ๑ | (เกฺรียก) ก. เอามีดสับ ผ่า หรือจักชิ้นไม้ให้ฉีกออกไปตามเนื้อไม้ เพื่อให้เป็นซีกเป็นเสี้ยวน้อย ๆ เช่น เกรียกไม้ทำเชื้อไฟ. |
เกียดกัน | ก. กันไม่ให้ทำโดยสะดวก. |
โกร่ง ๒ | (โกฺร่ง) น. โลหะรูปโค้งที่ด้ามกระบี่หรือดาบบางชนิด สำหรับป้องกันไม่ให้อาวุธถูกมือ |
ข่ม | ก. ใช้กำลังกดลงไม่ให้เผยอขึ้น |
ขยักขย่อน | (-ขะหฺย่อน) ก. ทำ ๆ หยุด ๆ ไม่ให้เสร็จในรวดเดียว. |
ขยับเขยื้อน | (-ขะเยื่อน) ก. เคลื่อนที่, เลื่อนที่, ย้ายที่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น หมอห้ามไม่ให้ขยับเขยื้อนเพราะกระดูกหัก. |
ขวางเชิง | ก. ขัดขวางไว้เพื่อไม่ให้ทำได้สะดวก. |
ขอขมา, ขอขมาลาโทษ | ก. ขอไม่ให้เอาโทษในสิ่งที่ได้ล่วงละเมิดหรือล่วงเกิน เช่น เขามาขอขมาญาติผู้ใหญ่เพื่อลาบวช, ขอษมา หรือ ขอษมาลาโทษ ก็ว่า. |
ขัด ๑ | ก. ให้ติดขวางไว้ไม่ให้หลุดออก เช่น ขัดกระดุม ขัดกลอน |
ขัดขา | ก. จงใจขัดขวางเพื่อไม่ให้ทำได้สะดวก, ขัดแข้งขัดขา ก็ว่า |
ขัดแข้งขัดขา | ก. จงใจขัดขวางเพื่อไม่ให้ทำได้สะดวก, ขัดขา ก็ว่า. |
ขัดคอ | ก. พูดแย้งขวางเข้ามา, ไม่ให้ทำได้โดยสะดวก. |
ขัดจังหวะ | ขวางเข้ามาเพื่อไม่ให้ทำหรือพูดได้สะดวก. |
ขัดตาทัพ | ก. ยกทัพไปตั้งชั่วคราว กันไม่ให้ข้าศึกรุกลํ้าเข้ามา |
ข้างจัน | น. วิธีเหลาไม้ให้เป็นผิวนูนมีลักษณะอย่างข้างของลูกจัน. |
ขืน | ก. ยั้งไว้หรือบังคับไว้ไม่ให้เป็นไปตาม เช่น ขืนตัว ขืนเรือ |
เข็มขัดนิรภัย | น. เข็มขัดที่ติดอยู่ที่นั่งในรถยนต์หรือเครื่องบินเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้โดยสารถูกเหวี่ยงกระเด็นจากที่นั่งเมื่อมีอุบัติเหตุ. |
เข้ารางลิ้น | ก. นำไม้อันหนึ่งที่ทำให้เป็นร่องยาวมาประกบกับไม้อีกอันหนึ่งที่ทำให้เป็นลิ้นยาวไปตามตัวไม้ให้เข้ากันสนิทพอดี, พูดสั้น ๆ ว่า เข้าลิ้น. |
เข้าลิ้น | ก. นำไม้อันหนึ่งที่ทำให้เป็นร่องยาวมาประกบกับไม้อีกอันหนึ่งที่ทำให้เป็นลิ้นยาวไปตามตัวไม้ให้เข้ากันสนิทพอดี, พูดเต็มว่า เข้ารางลิ้น. |
เขื่อน | น. เครื่องป้องกันไม่ให้ดินริมนํ้าพัง, สิ่งที่สร้างขึ้นขวางกั้นลำนํ้า เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ประโยชน์ในทางชลประทานเป็นต้น เช่น เขื่อนเจ้าพระยา, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กำแพงดินหรืออิฐที่ล้อมรอบต้นโพ |
แขวนคอ | ก. เอาเชือกหรือผ้าเป็นต้นผูกคอห้อยไว้บนที่สูงเช่นบนต้นไม้ ไม่ให้เท้าถึงพื้นเพื่อให้ตาย เป็นการประหารชีวิตนักโทษแบบหนึ่งของชาวตะวันตกบางประเทศ. |
โขลนทวาร | (โขฺลนทะวาน) น. ประตูป่า, ประตูป่าที่ทำตามตำราพราหมณ์ คือทำเป็นประตูสะด้วยใบไม้ให้ทหารผู้ไปทัพนั้นลอดไป มีพราหมณ์คู่หนึ่งนั่งบนร้านสูง ๒ ข้างประตูคอยประนํ้าเทพมนตร์ เพื่อเป็นชัยมงคลแก่กองทัพที่ยกไป เรียกว่า เบิกโขลนทวาร. |
คลัง ๒ | (คฺลัง) ก. ผูกคอสัตว์ให้เข้าคู่กัน เพื่อไม่ให้พรากกัน หรือฝึกหัดตัวที่ไม่ชำนาญงาน เช่น เอาวัวไปผูกเข้าคู่กัน ว่า เอาวัวไปคลัง. |
Non-circulation | ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ให้ยืมออก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cap Rock | ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน, ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน ปิดทับอยู่ด้านบนของชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียม และปิดกั้นไม่ให้ไฮโดรคาร์บอนหนีออกมาถึงพื้นผิวดินได้ [ปิโตรเลี่ยม] |
Christmas tree | ท่อและวาล์วติดตั้งอยู่ที่ปากหลุม , ท่อและวาล์วติดตั้งอยู่ที่ปากหลุม (Wellhead) ควบคุมการไหลของน้ำมันและก๊าซไม่ให้เกิดการ blowout [ปิโตรเลี่ยม] |
Action level | ระดับต้องปฏิบัติ, ระดับอัตราปริมาณรังสี หรือ ความเข้มข้น<em>กัมมันตภาพ</em> ซึ่งต้องดำเนินการตามมาตรการแก้ไขหรือป้องกันทันที เพื่อไม่ให้บุคคลได้รับรังสีแบบเรื้อรัง หรือกรณีฉุกเฉิน [นิวเคลียร์] |
Cladding | เปลือกหุ้มเชื้อเพลิง, โลหะที่ใช้ห่อหุ้มแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เพื่อป้องกันการกัดกร่อนเนื้อเชื้อเพลิงจากตัวทำให้เย็น และป้องกันผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสไม่ให้ออกมาปนในตัวทำให้เย็น วัสดุที่ใช้ เช่น อะลูมิเนียม โลหะผสมของอะลูมิเนียม เหล็กกล้าไร้สนิม และโลหะผสมของเซอร์โคเนียม [นิวเคลียร์] |
Containment | อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อาคารหรือสิ่งก่อสร้างชั้นนอกที่ออกแบบให้มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อป้องกันเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จากอุบัติภัยภายนอก และเพื่อไม่ให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมกรณีเกิดอุบัติเหตุภายในอาคารหรือสิ่งกักกั้นชำรุดหรือเสียหาย [นิวเคลียร์] |
Controlled area | พื้นที่ควบคุม, พื้นที่ที่ต้องมีมาตรการป้องกันและข้อกำหนดด้านความปลอดภัยโดยเฉพาะในการควบคุมการรับรังสีจากการทำงาน หรือจำกัดการเปื้อนของสารกัมมันตรังสีไม่ให้แพร่กระจายออกไปในระหว่างการทำงานเพื่อหลีกเลี่ยง หรือจำกัดโอกาสการได้รับรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
Reactor containment | อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อาคารหรือสิ่งก่อสร้างชั้นนอกที่ออกแบบให้มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อ ป้องกันเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จากอุบัติภัยภายนอก และเพื่อไม่ให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมกรณีเกิด อุบัติเหตุภายในอาคารหรือสิ่งกักกั้นชำรุดหรือเสียหาย [นิวเคลียร์] |
structural programming | การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง, การเขียนโปรแกรมโดยใช้เฉพาะโครงสร้างควบมากเกินไปคุมที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้โปรแกรมซับซ้อนมากเกินไป วิธีนี้ช่วยช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น อันจะทำให้แก้ไขดัดแปลงโปรแกรมได้ง่ายขึ้นด้วย [คอมพิวเตอร์] |
surge protector | เครื่องป้องกันไฟกระชาก, อุปกรณ์ที่อยู่ระหว่างคอมพิวเตอร์กับกระแสไฟฟ้าบ้าน และป้องกันไม่ให้คอมพิวเตอร์เสียหายจากกระแสไฟฟ้าที่กระชากขึ้นสูง โดยกระทันหัน อย่างไรก็ตามเครื่องนี้จะไม่สามารถป้องกันกระแสไฟฟ้าตก หรือไฟฟ้าดับได้ [คอมพิวเตอร์] |
Gamma greenhouse | เรือนรังสีแกมมา, เรือนเพาะเลี้ยงพืชที่มีหลังคาโปร่งแสง บริเวณตรงกลางเรือนหรือด้านใดด้านหนึ่งของห้องติดตั้งเครื่องฉายรังสีแกมมา มีกำแพงคอนกรีตหนาเพื่อป้องกันไม่ให้รังสีออกสู่ภายนอก และมีเครื่องควบคุมการฉายรังสีอยู่ด้านนอก ใช้สำหรับศึกษาผลของรังสีต่อพืชและการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยให้พืชที่ปลูกในกระถางได้รับรังสีปริมาณต่ำอย่างสม่ำเสมอเป็นเวลานาน [นิวเคลียร์] |
Reactor containment | อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อาคารหรือสิ่งก่อสร้างชั้นนอกที่ออกแบบให้มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อป้องกันเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จากอุบัติภัยภายนอก และเพื่อไม่ให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมกรณีเกิดอุบัติเหตุภายในอาคารหรือสิ่งกักกั้นชำรุดหรือเสียหาย [นิวเคลียร์] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
arms control | การควบคุมอาวุธ หมายถึง การจำกัดชนิดและจำนวนอาวุธไม่ให้มีมากเกินความจำเป็น [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] |
disarmament | การปลดอาวุธ หมายถึง การดำเนินการไม่ให้มีอาวุธในครอบครอง [การทูต] |
Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] |
Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] |
Head of Diplomatic Mission | บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ? [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
nuclear safeguards | การพิทักษ์ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ หมายถึง การควบคุมไม่ให้มีการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติไปใช้เป็นอาวุธ [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
rule of speciality/specialty | หลักเกณฑ์ว่าด้วยการพิจารณาความผิดเฉพาะเรื่อง หลักเกณฑ์ไม่ให้ลงโทษผู้ร้ายข้ามแดนในความผิดอื่น นอกเหนือจากความผิดที่ขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
Constant viscosity rubber | ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง] |
Antibodies, Blocking | ตัวป้องกัน, ถูกควบคุมไม่ให้ทำงานโดยแอนติบอดีย์ [การแพทย์] |
Anticoagulants | สิ่งกันเลือดแข็ง; การแข็งตัวของเลือด, สารป้องกัน; สารที่ป้องกันการแข็งตัวของโลหิต; ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด; สารกันเลือดแข็ง; สารที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็ง; ยาพวกที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว; ยากันเลือดแข็ง; สารห้ามการแข็งตัวของเลือด; สารต้านการแข็งตัวของเลือด; ยาต้านการแข็งตัวของเลือด; สารป้องกันการแข็งตัวของโลหิต; ยาละลายการแข็งตัวของเลือด; แอนตีโคแอกูแลนท์; ยากันเลือดแข็งตัวในหลอดเลือด; สารกันเลือดแข็งตัว; ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด; สารกันการแข็งตัว; สารป้องกันการแข็งตัวของเลือด; สารกันเลือดแข็ง; ยาต่อต้านโลหิตแข็งตัว; สารป้องกันเลือดจับตัวเป็นลิ่ม; ระงับการแข็งของเลือด [การแพทย์] |
Antifoaming Agents | สารป้องกันไม่ให้เกิดฟอง, สารกันฟอง [การแพทย์] |
Chemoprophylaxis, Primary | ใช้ยาป้องกันการติดเชื้อ, ป้องกันไม่ให้ได้รับเชื้อ [การแพทย์] |
Chemoprophylaxis, Secondary | ป้องกันไม่ให้เกิดเป็นโรค, ใช้ยาป้องกันไม่ให้ร่างกายผู้ได้รับเชื้อเกิดเป็น [การแพทย์] |
Clamp | ควบคุมไม่ให้น้ำไหลได้ [การแพทย์] |
Diethyltoluamide | ยาทาผิวเพื่อไม่ให้ตัวไรมากัด [การแพทย์] |
Embalming Fluid | น้ำยาดองไม่ให้เน่า [การแพทย์] |
mineral salts | แร่ธาตุ, สารอาหารประเภทที่ไม่ให้พลังงานแต่มีความจำเป็นสำหรับกระบวนการเมแทบอลิซึมในร่างกาย เช่น เกลือของโซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
choroid | โครอยด์, ชั้นของเนื้อเยื่อลูกตา อยู่ถัดชั้นสเคลอราเข้าไป (ดู eye ball ประกอบ) เป็นชั้นที่มีหลอดเลือดมาเลี้ยง มีรงควัตถุกระจายอยู่มาก ช่วยป้องกันไม่ให้แสงทะลุผ่านชั้นจอตาไปยังด้านหลังของนัยน์ตาได้โดยตรง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
epiglottis | ฝาปิดกล่องเสียง, อวัยวะที่มีลักษณะเป็นฝาทำหน้าที่ปิดกั้นไม่ให้อาหารตกลงไปในหลอดลมในขณะกลืนอาหาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
immunity | ภูมิคุ้มกัน, ภาวะของร่างกายซึ่งมีแอนติบอดีที่สามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคบางชนิดได้ ภูมิคุ้มกันมี 2 ชนิด คือ ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
melatonin | เมลาโทนิน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไพเนียล มีหน้าที่ควบคุมความเข้มของ เมลานินในสัตว์เลือดเย็น นอกจากนั้นยังพบว่าฮอร์โมนนี้มีส่วนในการยับยั้งอวัยวะที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของสัตว์ชั้นสูงไม่ให้เจริญเร็วกว่าที่ควร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
semilunar valve | ลิ้นเซมิลูนาร์, ลิ้นที่อยู่โคนเส้นเลือดพัลโมนารี อาร์เตอรี และโคนเส้นเอออร์ตา ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจอีก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
vitamin | วิตามิน, สารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกายแต่ก็จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและความสมบูรณ์ของร่างกาย ถ้าขาดจะทำให้เกิดโรคต่าง ๆ วิตามินที่ค้นพบแล้วมีหลายชนิด เช่น วิตามิน A, B, C, D, E, K เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
undefined term | คำอนิยาม, ข้อความที่ไม่ให้คำจำกัดความทางคณิตศาสตร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
closed system | ระบบปิด, ระบบที่ควบคุมไม่ให้มีการถ่ายเทมวลระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม แต่อาจจะมีการถ่ายเทพลังงานได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
opaque object | วัตถุทึบแสง, วัตถุที่ไม่ให้แสงทะลุผ่าน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
homeostasis | โฮมีโอสเตซิส, การที่ร่างกายสามารถรักษาภาวะในร่างกายให้คงที่ เช่น อุณหภูมิ ความดันเลือด ความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ เป็นต้น โดยไม่ให้เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม เช่น ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ควบคุมสมดุลของน้ำและเกลือแร่ ความเป็นกรดเป็นด่าง ความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ภายในเ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
anthrax | แอนแทรกซ์, โรคระบาดที่เกิดจากสัตว์เลี้ยงพวกโค กระบือ เนื่องจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคที่ร้ายแรงมาก มีผลทำให้สัตว์ตายได้คราวละมาก ๆ โรคนี้สามารถติอต่อถึงคนได้ สัตว์ที่เป็นโรคนี้จะต้องเผาทำลายหรือฝังในดินลึก ๆ เพื่อไม่ให้แพร่เชื้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
natural resources conservation | การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ, การสงวนรักษาและรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้ได้ประโยชน์มากที่สุดโดยไม่ให้เกิดการสูญเปล่า เช่น การอนุรักษ์น้ำ การอนุรักษ์ป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hard water | น้ำกระด้าง, น้ำที่ไม่ให้ฟองกับสบู่เนื่องจากมีเกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนตซัลเฟตหรือคลอไรด์ของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมละลายอยู่ น้ำกระด้างมี 2 ชนิด คือ น้ำกระด้างชั่วคราว และน้ำกระด้างถาวร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ligule | ลิกิวล์, ส่วนของกาบใบที่งอกยื่นออกตรงรอยต่อระหว่างกาบใบกับแผ่นใบ มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ ประกบติดอยู่กับลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีหน้าที่กั้นน้ำหรือสิ่งสกปรกต่าง ๆ ไม่ให้เข้าไปอยู่ระหว่างกาบใบและลำต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absent | (adj) ซึ่งไม่ให้ความสนใจ |
airtight | (adj) ที่ผนึกแน่นไม่ให้อากาศเข้า, Syn. sealed, shut tight |
avert | (vt) ป้องกันไม่ให้เกิด, Syn. prevent |
averting | (adj) ที่ป้องกัน, See also: ที่ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น, Syn. defensive, protective, protecting |
blackball | (vt) ป้องกันไม่ให้เข้าร่วมโดยออกเสียงต่อต้าน |
bar out | (phrv) ปิดไว้ (ไม่ให้เข้า) มักใช้กับตึกหรืออาคาร, See also: กั้นไว้ |
be beneath someone's dignity | (idm) เสื่อมเสีย, See also: ไม่ให้เกียรติ, Syn. fall beneath |
cartel | (n) กลุ่มบริษัทที่ตกลงราคาขายร่วมกันเพื่อไม่ให้มีการแข่งขันกัน, Syn. combine, corporate trust, trust |
chock | (n) ไม้หรือโลหะที่ใช้หนุนไว้ไม่ให้เคลื่อนที่ |
cajole out of | (phrv) ล่อหลอกไม่ให้ทำ, See also: ทำให้หลงเชื่อไม่กระทำในเรื่อง |
chop off | (phrv) หยุด (บางคน) ไม่ให้พูด, See also: ทำให้เลิกพูด |
cut off someone's escape | (idm) ป้องกันไม่ให้หนีโดยกั้นขวางไว้, Syn. cut off someone's retreat |
cut off someone's retreat | (idm) ป้องกันไม่ให้หนีโดยกั้นขวางไว้, Syn. cut off someone's escape |
cut out | (phrv) ไม่ให้เข้าร่วม, Syn. cut off |
do out of | (phrv) ป้องกันไม่ให้กระทำ, See also: ห้ามไม่ให้ทำ |
fence out | (phrv) ป้องกันไม่ให้เข้าร่วม |
fence out | (phrv) กั้นไม่ให้เข้ามาด้วยรั้ว, See also: ปิดกั้นไว้ด้านนอกด้วยรั้ว |
deterrent | (n) สิ่งที่ขัดขวางไม่ให้กระทำบางสิ่งบางอย่าง, See also: สิ่งที่ยับยั้ง, อุปสรรค, Syn. hindrance, impediment |
dyke | (n) ทำนบกั้นน้ำไม่ให้ไหลลงมาในที่ราบต่ำ |
epiglottis | (n) ลิ้นที่ปิดหลอดลมไว้เพื่อป้องกันไม่ให้อาหารหรือน้ำเข้าไปในขณะที่กลืนอาหาร |
euchre | (n) การป้องกันไม่ให้ผู้เล่นคนอื่นได้ถึง 3 รอบ ซึ่งจะเป็นผู้ชนะในการเล่นไพ่ยูเครอะ |
euchre | (vt) ป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเล่นได้ 3 รอบ เพื่อชนะไพ่ยูเครอะ |
excelsior | (n) ไม้ที่ใช้ในการบรรจุหีบห่อเพื่อกันไม่ให้ของแตกหัก |
foray | (n) การจู่โจมแบบไม่ให้ทันตั้งตัว, See also: การจู่โจมอย่างรวดเร็ว, Syn. incursion, raid, invasion |
forelock | (n) สลักที่ติดไว้เพื่อไม่ให้กลอนเลื่อน, Syn. linchpin |
forestall | (vt) ป้องกัน, See also: กัน ไม่ให้เกิดขึ้น, Syn. hinder, prevent, thwart |
formalin | (n) สารละลายที่มีฟอร์มัลดีไฮด์ 37-50% ใช้รักษาศพไม่ให้เน่า |
insulate from | (phrv) ป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายจาก |
gag | (n) สิ่งปิดปากไม่ให้มีเสียงลอดออกมา, See also: ผ้าปิดปาก, สิ่งที่ใช้อุดปาก, การจำกัดการพูด |
play it cool | (idm) ทำแบบเงียบๆ ไม่ให้คนอื่นสังเกตเห็น, See also: ทำอย่างลับๆ |
pour cold water on | (idm) ทำให้หมดกำลังใจ, See also: ไม่ให้กำลังใจ, พุดให้หมดหวัง |
spike soemone's guns | (idm) หยับยั้งการกระทำของคนอื่นไม่ให้สำเร็จ, See also: พังแผนการ |
watch one's step | (idm) ระวังไม่ให้กระทบคนอื่น |
idol | (n) สิ่งต้องห้ามไม่ให้ได้รับการบูชาในศาสนาที่นับถือพระเจ้าองค์เดียว |
impersonal | (adj) ที่ไม่ให้ความสำคัญ, See also: ที่เมินเฉย, Syn. cold, indifferent |
keep dark | (phrv) รักษาให้มืดไว้, See also: พยายามไม่ให้มีแสงสว่าง |
keep down | (phrv) คงระดับต่ำไว้, See also: ป้องกันไม่ให้สูงขึ้น, Syn. remain down |
lobby against | (phrv) พยายามโน้มน้าวคนมีอำนาจไม่ให้อนุมัติกฎหมาย, See also: พยายามวิ่งเต้นเพื่อป้องกันบางสิ่งไม่ให้เกิดขึ้นด้วยวิธีการเขียน, วิธีทางการเมือง |
lock out | (phrv) ล๊อคขังไว้ข้างนอก, See also: ปิดใส่กุญแจไว้เพื่อไม่ให้เข้า |
lock up | (phrv) เก็บไว้อย่างปลอดภัยโดยใส่กุญแจ, See also: ป้องกันไม่ให้หนีไปโดยใส่กุญแจไว้ |
lightproof | (adj) ซึ่งไม่ให้แสงผ่านได้ |
nobbling | (n) การขัดขวางไม่ให้ม้าชนะการแข่งขัน เช่นให้ยา |
non-slip | (adj) ซึ่งช่วยป้องกันไม่ให้ลื่น |
non-stick | (adj) ซึ่งเคลือบสารป้องกันไม่ให้ติดภาชนะ (เช่น กระทะ) |
obstruct | (vt) ขวางทาง, See also: กีดขวางเส้นทางไม่ให้เดินทางผ่านไปได้, ขวางกั้น, Syn. block, bar, oppose, Ant. advance, further |
obstruct | (vt) ขัดขวาง, See also: ขัดขวางไม่ให้กระทำสำเร็จ, Syn. stop, hinder, impede, Ant. aid, assist, succor |
preserve | (vt) ถนอมอาหาร, See also: เก็บรักษาอาหารไม่ให้เสีย, Syn. conserve, salt, pickle, Ant. waste |
prop open | (phrv) ค้ำไว ้(ไม่ให้เปิด) |
prop up | (phrv) ค้ำ, See also: ยันขึ้น ไม่ให้ล้ม |
put off | (phrv) แก้ตัว (เพื่อเลี่ยงหน้าที่, ภาระ), See also: ป้องกัน, ไม่ให้เกิด บางสิ่ง |
a mensa et thoro | (เอเมน' ซะ เอทโธ' โร) เกี่ยวกับการหย่าร้างที่ไม่ให้สามี และภรรยาอยู่ร่วมกันและพันธะการสมรสยังไม่ขาดจากกัน |
acarpous | (เอคาร์' พัส) adj. ไม่ให้ผล, ไม่ออกผล (sterile, barren) |
airtight | (-ไททฺ) adj. ผนึกแน่นไม่ให้อากาศเข้า |
burke | (เบิร์ค) { burked, burking, burkes } vt. ฆ่าโดยการไม่ให้หายใจ, ลอบฆ่า, ลอบทำลาย, See also: burker, burkerite n. ดูburke |
chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
closed architecture | สถาปัตยกรรมปิดหมายถึง การออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ใช้ได้เฉพาะกับอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนที่ผลิตจากบริษัทเดียวกันเท่านั้น (เรียกว่า ปิดประตูตาย ไม่ให้ผู้อื่นมาร่วมทำมาหากิน) |
color printer | เครื่องพิมพ์สีหมายถึงเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์สีต่าง ๆ ได้ ส่วนมากจะเป็นประเภทฉีดหมึก (ink jet) การพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ ต้องใช้กระดาษชนิดพิเศษ ไม่ให้หมึกซึม สีที่ใช้อาจมีเพียง 3 สี แต่คอมพิวเตอร์สามารถสั่งให้ผสมออกมาเป็นสีต่าง ๆ ได้อีกมากมาย |
consumerism | (คันซูม'เมอริสซึม) n. การป้องกันผู้ใช้หรือบริโภคสินค้าไม่ให้ใช้สินค้าด้อยคุณภาพ อันตราย |
contraband | (คอน'ทระแบนดฺ) n. ของต้องห้ามตามกฎหมาย, ของเถื่อน, การค้าเถื่อน, การลักลอบขนสินค้า adj. เป็นสินค้าเถื่อน, ซึ่งห้ามไม่ให้ส่งออกหรือสั่งเข้าประเทศ, Syn. excluded |
copy protection | การป้องกันการคัดลอกหมายถึง วิธีการป้องกันไม่ให้ผู้ใดสามารถคัดลอกได้ ผู้เขียนโปรแกรมมักพยายามทำทุกวิถีทางที่จะกันไม่ให้ผู้หนึ่งผู้ใด มาคัดลอกโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่เขาสร้างขึ้นไว้ เช่นใช้อุปกรณ์ปิดกั้น หรือซ่อนแฟ้มข้อมูลบางแฟ้มไม่ให้มองเห็น อย่างไรก็ตาม เมื่อมีกฎหมายในเรื่องของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ออกมาแล้ว ผู้ที่จะคัดลอกก็จะต้องระมัดระวังในเรื่องการคัดลอกนี้มากขึ้น |
cribber | (คริบ'เบอะ) n. คนโขมยคัดลอก, ขโมย, คนทุจริต, เชือกรั้งม้าไม่ให้กัดรางใส่อาหาร, สิ่งขัดขวาง |
crupper | (ครัพ'เพอะ) n. สายหนังยึดอานที่คาดไปทางหางม้าเพื่อกันไม่ให้อานม้าเลื่อนตก, ตะโพกม้า, เกราะสำหรับหุ้มตะโพกม้า |
cure | (คิว'เออะ) { cured, curing, cures } vt. รักษาให้หาย, แก้ให้หาย vi. บังเกิดผลในการบำบัดรักษา, ผ่านกรรมวิธีไม่ให้เน่า (ย่าง, บ่ม, อบ, รม, ผึ่ง) n. การรักษาให้หาย, Syn. treatment |
defilade | (ดิฟี'เลด) n. การป้องกันหรือปิดบัง. vt. ปิดบัง (ไม่ให้ถูกลูกปืนข้าศึกหรือไม่ให้ข้าศึกเห็น) |
dissuade | (ดิสเวด') vt. ชักชวนไม่ให้ทำ, หน่วงเหนี่ยว, ห้ามปราม, ยับยั้ง., See also: dissuadable adj. ดูdissuade dissuader n. ดูdissuade, Syn. discourage, avert, warn, Ant. encourage |
dissuasion | (ดิสเว'เชิน) n. การชักชวนไม่ให้ทำ, การหน่วงเหนี่ยว, การห้ามปราม, การยับยั้ง |
exclude | (เอคซฺคลูด') vt. กันออกไป, แยกออกไป, กันไม่ให้เข้ามา, ไล่ออก, ขับไล่ออก, See also: excludability n. ดูexclude excludable adj. ดูexclude excludible adj. ดูexclude excluder n. ดูexclude exclusory adj. ดูexclude |
executive program | โปรแกรมกระทำการหมายถึง โปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแล หรือควบคุมการกระทำการ (execution) ของคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกัน เป็นต้นว่า ดูแลการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล (input/output unit) การดำเนินการและกำหนดการใช้หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยความจำ (memory unit) ให้ทำงานให้สอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระบบทำงานแบบหลายชุดคำสั่ง หรือระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ชุดคำสั่งชุดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการ (operating system) มีหน้าที่หลักในการดูแลไม่ให้การประมวลผล โปรแกรมทีละหลาย ๆ โปรแกรม เกิดความสับสนกัน มีความหมายเหมือน supervisor |
fixed pitch | ช่องไฟเท่ากันหมายถึง การพิมพ์ตัวอักษรแต่ละตัวโดยกำหนดให้มีช่องไฟ กว้างเท่า ๆ กัน บางทีใช้คำว่า monospaced โดยปกติ จอภาพคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ดีด และเครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix) ชนิดราคาถูก ๆ จะพิมพ์หรือให้ภาพตัวอักษรที่มี ความกว้างเท่ากันหมด ตรงข้ามกับคำ fixed pitch นี้ เราจะใช้คำว่า proportional pitch เครื่องพิมพ์ดี ๆ จะต้องปรับ ขนาดของตัวอักษรไม่ให้เท่ากัน เช่น ตัว I, L, T ไม่ควร จะกว้างเท่ากับ O, W, M ILT OWM |
friction feed | ป้อนฝืดหมายถึง การป้อนกระดาษให้เข้าที่โดยวิธีทำให้เกิดความฝืด เพื่อกันไม่ให้กระดาษ ลื่นไหลเร็วจนเกินไป |
gamekeeper | n. ผู้รักษาสัตว์ป่าสงวนไม่ให้ถูกล่า., See also: gamekeeping n. |
heparin | n. ยาป้องกันโลหิตไม่ให้แข็งตัวหรือเป็นลิม, |
indain wresting | มวยปล้ำแบบหนึ่งที่คู่ต่อสู้นอนกลับหัว กลับหางกัน แล้วทำการเกี่ยวขาคู่ต่อสู้ไม่ให้คู่ต่อสู้นอนราบบนพื้นได้ |
insulate | (อิน'ซะเลท) vt. ปกคลุมด้วยฉนวน, ป้องกันไม่ให้กระแสไฟฟ้ารั่ว, แยกตัวโดดเดี่ยว |
jetty | (เจท'ที) n. เขื่อนที่ยื่นลงไปในทะเล (เพื่อต้านคลื่นหรือลมไม่ให้เข้าท่าเรือมาก, เกินไป) |
leeboard | (ลี'บอร์ด) n. แผ่นกระดานลอยขวางข้างเรือใบใช้ป้องกันไม่ให้เรือแล่นออกนอกทาง |
lest | (เลสทฺ) conj. เพื่อไม่ให้, เพื่อว่า, โดยเกรงว่า, มิฉะนั้น |
paradose | n. กำแพงหลังกันข้าศึกไม่ให้ยิงหรือเห็นจากข้างหลัง |
phosphor bum-in จอไหม้ | หมายถึง รอยที่ค้างอยู่บนจอภาพ มีลักษณะเหมือนรอยไหม้ ถ้าปล่อยให้มีการแสดงตัวอักษรหรือภาพอยู่บนจอภาพนานเกินไป (แม้จะสั่งลบตัวอักขระหรือภาพออก รอยนี้ก็ยังไม่หายไป) รอยไหม้นี้เกิดจากฟอสเฟอร์ที่อยู่ในจอภาพนี้เอง วิธีกันไม่ให้มีรอยไหม้ก็คือ ใช้โปรแกรมประเภท screen saver คือ ทำให้ภาพบนจอเคลื่อนไหวตลอดเวลา ดู screen saver ประกอบ |
pluck | (พลัค) vt. ดึง, เด็ด, ถอน, เก็บ, ปล้น, ปอกลอก, ดีดหรือกรีด (นิ้ว) , ไม่ให้สอบผ่าน, ทำให้สอบตก. vi. ดึง, เด็ด, เก็บ, ฉวย., See also: pluckup ถอนราก. n. การดึก, การเด็ด, การถอน, การเก็บ, เครื่องในสัตว์ หัวใจ, ตับ, ปอด ความกล้าหาญ, เครื่องมือที่ใช้ดีดสายเครื่องดนตรี, การ |
power down | ปิดสวิตช์หมายถึง การปิดสวิตซ์ไฟไม่ให้กระแสไฟเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์หรือบริภัณฑ์รอบข้าง (peripherals) |
preventive maintenance | การบำรุงรักษาเชิงป้องกันหมายถึง แผนงานการบริการการบำรุงรักษา ซึ่งมุ่งเป้าไปถึงการป้องกันไม่ให้เครื่องเสีย การบำรุงรักษานั้น รวมตั้งแต่ การทำความสะอาดเครื่องเป็นระยะ ๆ การตรวจสอบ หรือคอยดูแลเปลี่ยนอุปกรณ์ หรือวงจรที่จะครบอายุการใช้งานทุกระยะด้วย |
privileged instruction | คำสั่งเอกสิทธิ์หมายถึง คำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจำกัดโปรแกรมต่าง ๆ ไม่ให้ทำงานผิดแนวทาง โดยปกติ คำสั่งเอกสิทธิ์จะประกอบด้วย คำสั่งข้อจำกัดการใช้ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยรับข้อมูลเข้า หน่วยแสดงผล การป้องกันหน่วยความจำ การหยุดชะงักการทำงานของเครื่อง และปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุม และการกำหนดเวลา คำสั่งนี้ผู้ใช้เครื่องธรรมดาไม่มีสิทธิใช้ และจะทำงานได้เฉพาะเมื่ออยู่ในภาวะการใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system mode) |
protect mode | ภาวะอารักขาหมายถึง แนวกั้น หรือแนวอารักขาในส่วนของแรม (RAM) ที่เป็น 386 หรือสูงกว่านั้น เพื่อไม่ให้มีการสับสนกัน เมื่อมีการปฏิบัติการมากกว่าสองโปรแกรมในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตาม โปรแกรมระบบดอส (DOS) และวินโดว์ (Windows) ยังไม่สามารถใช้ภาวะอารักขานี้ได้ แต่จะใช้ได้ใน Windows NT และ OS/2 |
seed | (ซีด) n. เมล็ด, เมล็ดพืช, เชื้อ, พันธุ์, ลูกหลาน, น้ำเชื้อ, น้ำกาม, ไข่ของสัตว์บางชนิด (เช่นของกุ้ง) , ผู้ได้รับการคัดเลือกแล้ว, ฟองน้ำในกระจก, สิ่งที่มีลักษณะคล้ายเมล็ด vt. หว่านเมล็ด, เร่งการเจริญเติบโต, เร่งเมฆให้กลายเป็นฝน, คลายเมล็ดออก, จัดคู่แข่งขัน (ไม่ให้คู่แข่งขั |
shockproof | adj. กันกระแทก, กันไม่ให้เสียหายจากการถูกกระ ทบกระแทก. vt. ป้องกันความเสียหายจากการถูกกระทบกระแทก |
skid | (สคิด) n. ไม้จิ้มไม่ให้ล้อหมุน, ไม้ค้ำยัน, เครื่องบังคับล้อหมุน, ไม้บุรองไม่ให้ลื่นไถล, แผ่นรองรับน้ำหนัก, รางเลื่อน, แคร่เลื่อน, ทางลงเนิน vt. วางบนเครื่องบังคับล้อหมุน, ห้ามล้อด้วยไม้จีมหรือไม้ค้ำยัน, ลดความเร็วลง, ให้เคลื่อนบนไม้รอง, เลื่อนไถลโดยใช้เครื่องบังคับล้อ |
snowshed | n. ที่กั้นหิมะไม่ให้ไหลลงมาถูกรางรถไฟ, ที่กั้นหิมะ |
soft-boiled | (ซอฟทฺ'บอลดฺ) adj. (ไข่) ต้มไม่ให้แข็ง, คิดมาก, มีความรู้สึกไว, soft coal, =bituminous coal (ดู) |
soundproof | adj. เสียงไม่สามารถผ่านได้, กันเสียง.vt. ทำให้กันเสียง, ไม่ให้เสียงผ่าน, See also: soundproofing n. |
surprise | (เซอไพรซ') vt., n. (การ) ทำให้ประหลาดใจ, จู่โจม, ทำให้กระทำโดยไม่ให้รู้ตัว , การจู่โจมไม่ให้รู้ตัว, ความรู้สึกประหลาดใจ, สิ่งที่ทำให้ประหลาดใจ, See also: surpriser n. |
technical knockout | n. (การชกมวย) การยุติการชกเพื่อป้องกันไม่ให้คู่ต่อสู้ได้รับบาดเจ็บรุนแรงใช้อักษรย่อว่าTKOหรือT.K.O |
tuxedo | (ทัคซี'โด) n. ชุดเสื้อราตรีชนิดหางสั้น, เสื้อรัดรูปไม่ให้ดิ้นได้ (สำหรับนักโทษหรือคนไข้โรคจิต |
uncharitable | (อันแช'ริทะเบิล) adj. ไม่เมต-ตา, ไม่มีความปรานี, ไม่มีความกรุณา, รุนแรง, ไม่ให้อภัย, See also: uncharitably adv. |
uninterruptible power sup | uninterruptible power supply ใช้ตัวย่อว่า UPS (อ่านว่า ยูพีเอส) หมายถึง แบตเตอรี่สำรองที่จะทำงานได้ทันทีที่ไฟดับ โดยปกติ แบตเตอรี่ขนาดนี้นั้นมีไฟไว้ใช้พอที่จะสั่งให้เก็บงาน (save) ที่ทำอยู่เท่านั้น ไม่ได้มีพอให้ใช้ต่อไป เมื่อบันทึกลงเก็บเรียบร้อยแล้ว ก็ต้องรีบปิดเครื่อง (อย่างน้อยก็ช่วยไม่ให้ข้อมูลที่ทำไว้หายไปหมด) |
ups | ยูพีเอส <คำอ่าน>ย่อมาจาก uninterruptible power supply หมายถึง แบตเตอรี่สำรองที่จะทำงานได้ทันทีที่ไฟดับ โดยปกติ แบตเตอรี่ขนาดนี้นั้นมีไฟไว้ใช้พอที่จะสั่งให้เก็บงาน (save) ที่ทำอยู่เท่านั้น ไม่ได้มีพอให้ใช้ต่อไป เมื่อบันทึกลงเก็บเรียบร้อยแล้ว ก็ต้องรีบปิดเครื่อง (อย่างน้อยก็ช่วยไม่ให้ข้อมูลที่ทำไว้หายไปหมด) |
xmodem | เอ็กซ์โมเด็มหมายถึง เกณฑ์วิธี (protocol) ในการถ่ายโอนข้อมูลผ่านโมเด็มที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ซึ่งส่วนใหญ่จะผ่านทางสายโทรศัพท์ อันที่จริงแล้ว เอกซ์โมเด็มนั้น เป็นชื่อ โปรแกรมที่ใช้ในการส่งข้อมูล แต่ในปัจจุบัน คนทั่วไปมักจะเรียกแฟ้มข้อมูลที่ส่งด้วยวิธีนี้ว่า เอ็กซ์โมเด็ม ซึ่งสามารถรับ/ส่งข้อมูลได้ทั้งแฟ้มข้อมูลที่เป็นโปรแกรม และแฟ้ม เอกสารธรรมดา นอกจากนั้น ในระหว่างการส่งจะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อนด้วย การถ่ายโอนข้อมูลแบบที่เรียกว่า YMODEM และ ZMODEM ก็ได้รับการพัฒนามาจาก XMODEM นี้ แต่ทำได้เร็วกว่า และถ่ายโอนข้อมูลได้ทีละมากกว่า |