achromacyte | เม็ดเลือดแดงที่มีสีซีดเนื่องจากการขาด haemogolbin |
acritochromacy | ภาวะตาบอดสี |
contumacy | (คอน'ทุมะซี) n. การดื้อรั้น, การแข็งข้อ, Syn. stubborness |
diplomacy | (ดิพโพล'มะซี) n. การทูต, ศิลปะการทูต |
illegitimacy | (อิลลิจิท'ทะมะซี) n. ความผิดกฎหมาย, ความนอกกฎหมาย (ลูก) |
intimacy | (อิน'ทะมาซี) n. ความคุ้นเคย, ความใกล้ชิด, ความสนิทสนม, ความเข้าใจลึกซึ้ง, ความสนิทสนมในทางเพศ, ความเป็นเรื่องส่วนตัว, Syn. closeness |
legitimacy | (ลิจิท'ทะมะซี) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, ความชอบด้วยกฎหมาย, ความถูกต้องสมควร, ความมีสิทธิตามกฎหมาย, ความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ความถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี |
pharmacy | (ฟาร์'มะซี) n. เภสัชศาสตร์, ร้านขายยา, การปรุงและจ่ายยา |
primacy | (ไพร'มะซี) n. ความเป็นอันดับหนึ่ง, ฐานะสูงสุดหรือสำคัญที่สุด, อำนาจหน้าที่ของbishop, Syn. supremacy |
supremacy | (ซะเพรม'มะซี) n. ความอยู่สูงสุด, อำนาจสูงสุด., Syn. predominance, primacy |
diplomacy | (n) การทูต, ศิลปะการทูต |
intimacy | (n) ความคุ้นเคย, ความใกล้ชิด, ความสนิทสนม |
legitimacy | (n) ความถูกต้องตามกฎหมาย, การมีสิทธิตามกฎหมาย |
pharmacy | (n) เภสัชกรรม, เภสัชศาสตร์, ร้านขายยา |
primacy | (n) ความแรกเริ่ม, ความเป็นอันดับหนึ่ง |
supremacy | (n) อำนาจสูงสุด |
Food pharmacy | โภชนเภสัช [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diplomacy | การฑูต [เศรษฐศาสตร์] |
Communication in pharmacy | การสื่อสารทางเภสัชกรรม [TU Subject Heading] |
Diplomacy | การทูต [TU Subject Heading] |
Emulsions (Pharmacy) | สารแขวนตะกอน (เภสัชกรรม) [TU Subject Heading] |
Illegitimacy | ความเป็นบุตรมิชอบด้วยกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Intimacy (Psychology) | ความใกล้ชิด (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Legitimacy of governments | ความชอบธรรมของรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Pharmacy | เภสัชกรรม [TU Subject Heading] |
Pharmacy management | การบริหารเภสัชกิจ [TU Subject Heading] |
Plaster (Pharmacy) | พลาสเตอร์ยา [TU Subject Heading] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] |
Diplomacy | การทูต, Example: คำว่าการทูต มีหลายท่านได้ให้คำอธิบายความหมายแตกต่างกัน บางท่านเห็นว่าการทูตเป็นศิลปะหรือศาสตร์ หรือวิธีปฏิบัติขั้นการเจรจากันระหว่างรัฐ บ้างว่า เป็นการจัดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยวิธีการเจรจา ซึ่งจะกระทำโดยเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนการทูตเป็นส่วนใหญ่หนังสือ ?Satow?s A Guide to Diplomatic Practice? ซึ่งเรียบเรียงแก้ไขใหม่เป็นครั้งที่ 4 โดย Sir Neville Bland ได้กล่าวว่า การทูต (Diplomacy) คือการนำเอาสติปัญญา (Intelligence) และปฏิภาณ (Tact) ออกใช้ในการเจรจาเป็นทางการระหว่างรัฐบาลของรัฐเอกราชด้วยกัน หรือหากจะกล่าวโดยสรุปก็หมายถึงการที่รัฐต่อรัฐยกเอาเรื่องต่าง ๆ ขึ้นเจรจากันอย่างเอาจริงเอาจังโดยสันติวิธีนั่นเองวิธีการที่รัฐหันมาใช้ การเจรจากันเพื่อทำความตกลงในเรื่องต่าง ๆ นั้นได้เริ่มกระทำกันมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยอาณาจักรโรมันในระยะหลัง ๆ ก่อนที่อาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรไบซานเตอุม (Byzanteum) ในสมัยนั้นมีชื่อโด่งดังว่าเป็นบรมครูหรือปรมาจารย์ในการเจรจาทีเดียว แต่การทูตได้กลายเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ก็ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ในตอนที่รัฐต่างๆ ของอิตาลีได้เริ่มแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำเป็นการถาวร แต่ในสมัยนั้นก็ยังไม่มีการกำหนดสถานภาพและระเบียบข้อบังคับของอาชีพการทูต แต่อย่างใด จนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 19 คือใน ค.ศ. 1815 จึงได้มีการทำความตกลงกันระหว่างประเทศกำหนดสถานภาพและกฎข้อบังคับขึ้นเป็น กิจลักษณะ คือหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน รัฐต่าง ๆ ที่เข้าร่มประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา หรือเรียกว่าคองเกรสแห่งเวียนนา ได้ตกลงจัดจำแนกผู้แทนทางการทูตรวมทั้งจัดลำดับอาวุโสขึ้น เพื่อให้รัฐทั้งหลายได้ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติ จะเห็นได้ว่าในทุกวันนี้ การทูตได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง หรือสาขาหนึ่งของระบบการปกครองประเทศในทุกประเทศ ซึ่งทวีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในโลกปัจจุบัน ดังจะเห็นได้จากการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างสงครามเย็น (Cold War) ต่างเพียรพยายามใช้การทูตทุกวิถีทางเพื่อระงับปัญหาหรือข้อพิพาท โดยมิให้เกิดสงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) ซึ่งเป็นหนทางสุดท้ายขึ้น เป็นต้นมีข้อน่าสังเกตว่า แต่เดิมรัฐต่าง ๆ จะใช้วิธีการเจรจาระหว่างรัฐบาลตามปกติ โดยผ่านทางผู้แทนทางการทูตถาวรหรือเอกอัครราชทูต ต่อมาหลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกเกิดความนิยมใช้วิธีระงับปัญหาระหว่าง ประเทศโดยการประชุมโต๊ะกลมมากขึ้น (Round table conferences) ในการประชุมระหว่างประเทศเช่นนี้ รัฐบาลของประเทศที่ร่วมการประชุมจะส่งคนของตนไปร่วมประชุมในฐานะผู้แทนผู้ ได้รับมอบอำนาจเต็มและให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนในการเจรจา แทนที่จะเป็นเอกอัครราชทูตดังแต่ก่อน อย่างไรก็ดี วิธีการประชุมเช่นนี้ยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่สองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควรจะใช้วิธีการประชุมแก้ปัญหาระหว่างประเทศโดยวิถีทางการ ทูตตามปกติ โดยให้เอกอัครราชทูตเป็นหัวหน้าคณะผู้แทน เพราะถือว่าเอกอัครราชทูตเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพการทูตอยู่แล้ว ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งสนับสนุนการประชุมโต๊ะกลม หรือที่เรียกว่า Diplomacy by Conferenceในสมัยปัจจุบัน วิธีเจรจาทางการทูตที่ใช้ปฏิบัติกันมีอยู่หลายวิธี วิธีแรกคือ การเจรจาทางการทูตตามปกติ ซึ่งปฏิบัติกันตลอดมาจนเป็นธรรมเนียม (Normal หรือ Traditional Diplomacy) ในกรณีนี้ เอกอัครราชทูตจะเป็นตัวแทนของประเทศของตนเจรจากับกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับประการที่สอง คือ การทูตด้วยวิธีการประชุม (Conference Diplomacy) ซึ่งคณะผู้แทนเจรจาจะมีบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเต็มเป็นหัวหน้าคณะ และส่งไปจากประเทศที่ร่วมการประชุมประการที่สาม ได้แก่ วิธีที่เรียกว่า การทูตส่วนบุคคล (Personal Diplomacy) ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐสองแห่งหรือมากกว่านั้น จะทำการเจรจากันโดยตรง เพื่อระงับหรือทำความตกลงในเรื่องบางเรื่องที่มีผลประโยชน์ร่วมกันประการที่ สี่ คือ การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) โดยประมุขของรัฐบาลหรือของรัฐจะไปร่วมประชุมกันเพื่อหาทางระงับปัญหาของตน ประการสุดท้าย ได้แก่ การทูตโดยทางองค์กรนิติบัญญัติหรือรัฐสภา (Parliamentary Diplomacy) คือให้นำปัญหาไปพิจารณากันในการประชุมปรึกษา เช่น การประชุมขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งนักเขียนเกี่ยวกับวิชาการทูตบางท่านเรียกว่า การทูตโดยคะแนนเสียง (Diplomacy by ballot)อย่างไรก็ตาม มีผู้ทรงคุณความรู้ด้านการทูตบางท่านเห็นว่า ยังมีวิธีการเจรจาทางการทูตอีกแบบหนึ่ง เรียกว่า การทูตสื่อมวลชน (Diplomacy by News Conference) ในกรณีนี้ ประมุขของรัฐหรือของรัฐบาลประเทศหนึ่งจะแถลงนโยบายของประเทศตนต่อที่ประชุม สื่อมวลชน เกี่ยวกับปัญหาที่กำลังจะเกิดขึ้นกับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งโดยปกติย่อมจะแถลงโดยวิถีทางการทูตตามปกติให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบได้ แต่กลับหันไปใช้วิธีแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบโดยการแถลงต่อที่ประชุมสื่อมวล ชนเท่ากับแจ้งให้ทราบโดยทางอ้อม [การทูต] |
Diplomacy for the Peoples | การทูตเพื่อประชาชน หมายถึง การดำเนินนโยบายต่างประเทศหรือกิจกรรมทางการทูต ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประชาชน เช่น โครงการส่งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปช่วยรักษาพยาบาลชาวกัมพูชา [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Public Diplomacy | การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้ [การทูต] |
Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] |
Summit Diplomacy | การเจรจาตัวต่อตัวโดยตรง (Direct face-to-face negotiation) ระหว่างประมุขของรัฐ (Head of State) หรือ ระหว่างหัวหน้าของรัฐ (Head of Government) ในปัจจุบันเรียกว่า การเจรจาสุดยอด [การทูต] |
Bachelor of Science in Pharmacy | ปริญญาตรีทางเภสัชศาสตร์ [การแพทย์] |
Community Pharmacy Services | เภสัชชุมชน, การบริการ;เภสัชกรรมชุมชน, การบริการ [การแพทย์] |
Education, Pharmacy | เภสัชศาสตร์ศึกษา, เภสัชศาสตร์, การศึกษา [การแพทย์] |
Education, Pharmacy, Continuing | เภสัชศาสตร์, การศึกษาต่อเนื่อง, เภสัชศาสตร์ศึกษาต่อเนื่อง [การแพทย์] |
Ethics, Pharmacy | จรรยาบรรณเภสัชกร, จรรยาเภสัชกร [การแพทย์] |
Illegitimacy Ratio | อัตราส่วนเด็กเกิดนอกสมรส [การแพทย์] |
Intimacy | ความใกล้ชิดสนิทกับผู้อื่น, อยากใกล้ชิดสนิทสนมกับเพศตรงข้าม, การเสียเอกลักษณ์ของตน [การแพทย์] |
Legislation, Pharmacy | กฎหมายเภสัชกรรม [การแพทย์] |
Leukemia, Plasmacytic | ลิวคีเมียชนิดพลาสมาไซติก, มะเร็ง; ลิวคีเมียพลาสมาซัยติก [การแพทย์] |
เภสัช | (n) medicine, See also: pharmacy, drug, remedy, Syn. ยาแก้โรค, โอสถ, ยารักษาโรค, ยา, Example: ผลผลิตทางการเกษตรของเราเป็นผลผลิตที่มีคุณภาพสูง และมีคุณค่าทางเภสัชยิ่งกว่าเกษตรทั่วไป, Count Unit: ชนิด |
วิสาสะ | (n) familiarity, See also: intimacy, acquaintance, closeness, Example: ลมหายใจที่หลั่งรดให้กันคือความหวาดหวั่น ไม่มีวิสาสะแห่งการทักทาย, Thai Definition: การถือว่าเป็นกันเอง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
มไหศวรรย์ | (n) greatness, See also: supremacy, sovereignty, Thai Definition: ความเป็นใหญ่ในแผ่นดิน, Notes: (สันสกฤต) |
เภสัชกรรม | (n) pharmacy, Syn. การปรุงยา, Example: น้องของเขาเรียนเภสัชกรรมอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Thai Definition: วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมเครื่องยา ตัวยา จากธรรมชาติหรือการสังเคราะห์ให้เป็นยาสำเร็จรูป |
เภสัชอุตสาหกรรม | (n) industrial pharmacy, Thai Definition: วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมยาระดับอุตสาหกรรม |
คณะเภสัชศาสตร์ | (n) Faculty of Pharmacy, See also: Faculty of Pharmaceutical Science, Example: คณะเภสัชศาสตร์ฟื้นฟูการนำสมุนไพรมารักษาโรค, Count Unit: คณะ, Thai Definition: ภาควิชาที่ว่าด้วยการศึกษากระบวนการต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค |
โอสถศาลา | (n) pharmacy, Example: เขาเริ่มทำงานที่โอสถศาลาตั้งแต่อายุ 15 ปี และเริ่มชีวิตรับราชการเมื่ออายุได้ 17 ปี |
ร้านขายยา | (n) drugstore, See also: pharmacy, chemist, druggist, Count Unit: ร้าน |
การทำยา | (n) pharmacy, See also: compounding medicine, dispensation, Syn. การปรุงยา |
การทูต | (n) diplomacy, See also: statecraft, statesmanship, foreign affairs, external affairs, Example: เขาชอบใช้วิธีการทูตในการเจรจาหว่านล้อมและสร้างพันธมิตรทางการค้า |
ความเป็นกันเอง | (n) intimacy, See also: cordiality, familiarity, friendliness, affection, Syn. ความคุ้นเคย, Example: ในที่ทำงาน ทุกคนมีความเป็นกันเองในหมู่เพื่อนฝูงอย่างมาก |
เภสัชศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Pharmacy, See also: Bachelor of Science in Pharmacy, B.P., B.Sc. in Pharm., Syn. ภ.บ. |
เภสัชศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Science in Pharmacy, See also: M.Sc. in Pharm., Syn. ภ.ม. |
ความคุ้นเคย | (n) familiarity, See also: intimacy, acquaintance, Syn. ความใกล้ชิด, ความสนิทสนม, Ant. ความห่างเหิน, Example: ความคุ้นเคยช่วยทำให้ปลัดอำเภอทำงานกับชาวบ้านได้สะดวก |
ความชอบธรรม | (n) righteousness, See also: legitimacy, morality, Syn. ความยุติธรรม, Ant. ความอยุติธรรม, Example: เพราะต้องการให้เกิดความชอบธรรม นักศึกษาจึงเดินขบวนประท้วง |
การจงใจขัดคำสั่งศาล | [kān jongjai khat khamsang sān] (n, exp) EN: contumacy |
การทูต | [kānthūt] (n) EN: diplomacy ; statecraft ; statesmanship ; foreign affairs ; external affairs FR: diplomatie [ f ] |
ความชอบด้วยกฎหมาย | [khwām chøp dūay kotmāi] (n, exp) EN: righteousness ; legality ; legitimacy |
ความชอบธรรม | [khwām chøptham] (n) EN: righteousness ; legality ; legitimacy |
ความสัมพันธ์ทางเพศ | [khwām samphan thāng phēt] (n, exp) EN: intimacy[ ; sexual intercourse ] FR: relation sexuelle [ f ] |
ความถูกต้องตามกฎหมาย | [khwām thuktǿng tām kotmāi] (n, exp) EN: legality ; legitimacy ; validity FR: légalité [ f ] |
นิติธรรม | [nititham] (n) EN: legal principle ; principle of law ; legality ; legitimacy |
เภสัช | [phēsat] (n) EN: medicine ; drug ; remedy ; pharmacy FR: médicament [ f ] ; remède [ m ] |
เภสัชกรรม | [phēsatchakam] (n) EN: pharmacy FR: pharmacie [ f ] |
ร้านขายยา | [rān khāi yā] (n) EN: pharmacy ; drugstore ; chemist's FR: pharmacie [ f ] |
macy | |
macys | |
macy's | |
primacy | |
intimacy | |
pharmacy | |
diplomacy | |
supremacy | |
legitimacy | |
legitimacy | |
biopharmacy | |
illegitimacy |
primacy | |
intimacy | |
pharmacy | |
contumacy | |
diplomacy | |
supremacy | |
legitimacy | |
illegitimacy |
contumacy | (n) willful refusal to appear before a court or comply with a court order; can result in a finding of contempt of court |
contumacy | (n) obstinate rebelliousness and insubordination; resistance to authority |
dichromacy | (n) a deficiency of color vision in which the person can match any given hue by mixing only two other wavelengths of light (as opposed to the three wavelengths needed by people with normal color vision), Syn. dichromatism, dichromia, dichromatopsia, dichromasy |
diplomacy | (n) negotiation between nations, Syn. diplomatic negotiations |
dollar diplomacy | (n) diplomacy influenced by economic considerations |
illegitimacy | (n) unlawfulness by virtue of not being authorized by or in accordance with law, Ant. legitimacy |
legitimacy | (n) lawfulness by virtue of being authorized or in accordance with law, Ant. illegitimacy |
monochromacy | (n) complete color blindness; colors can be differentiated only on the basis of brightness, Syn. monochromasy, monochromatism, monochromatic vision, monochromia |
pharmacy | (n) the art and science of preparing and dispensing drugs and medicines, , Syn. pharmaceutics |
plasmacytoma | (n) neoplasm of plasma cells (usually in bone marrow) |
primacy | (n) the state of being first in importance |
red-green dichromacy | (n) confusion of red and green, Syn. red-green colour blindness, red-green color blindness |
shuttle diplomacy | (n) international negotiations conducted by a mediator who frequently flies back and forth between the negotiating parties |
ultimacy | (n) the state or degree of being ultimate; the final or most extreme in degree or size or time or distance, , Syn. ultimateness |
white supremacy | (n) the prejudice that members of the white race are superior to members of other races |
yellow-blue dichromacy | (n) confusion of yellow and blue, Syn. yellow-blue color blindness |
affair | (n) a usually secretive or illicit sexual relationship, Syn. involvement, liaison, affaire, amour, intimacy |
authenticity | (n) undisputed credibility, Syn. genuineness, legitimacy |
bastardy | (n) the status of being born to parents who were not married, Syn. bar sinister, illegitimacy |
closeness | (n) a feeling of being intimate and belonging together, Syn. intimacy |
color vision | (n) the normal ability to see colors, Syn. chromatic vision, trichromacy |
delicacy | (n) subtly skillful handling of a situation, Syn. discreetness, finesse, diplomacy |
domination | (n) power to dominate or defeat, Syn. supremacy, mastery |
drugstore | (n) a retail shop where medicine and other articles are sold, Syn. chemist's shop, apothecary's shop, pharmacy, chemist's |
familiarity | (n) close or warm friendship, Syn. closeness, intimacy |
plasma cell | (n) a cell that develops from a B lymphocyte in reaction to a specific antigen; found in bone marrow and sometimes in the blood, Syn. plasmacyte |
power politics | (n) diplomacy in which the nations threaten to use force in order to obtain their objectives, Syn. gunboat diplomacy |
statesmanship | (n) wisdom in the management of public affairs, Syn. statecraft, diplomacy |
Acritochromacy | n. [ Gr. &unr_; undistinguishable; |
Contumacy | n.; The bishop commanded him . . . to be thrust into the stocks for his manifest and manifold contumacy. Strype. [ 1913 Webster ] |
Diplomacy | n. [ F. diplomatie. This word, like supremacy, retains the accent of its original. See Diploma. ] |
Docimacy | n. [ Gr. &unr_; an assay, examination, fr. &unr_; to examine (Metals), fr. &unr_; assayed, tested, fr. &unr_; to take, approve: cf. F. docimasie. ] The art or practice of applying tests to ascertain the nature, quality, etc., of objects, as of metals or ores, of medicines, or of facts pertaining to physiology. [ 1913 Webster ] |
Fermacy | n. [ OE. See Pharmacy. ] Medicine; pharmacy. [ Obs. ] Chaucer. |
Haemacyanin | n. [ Haema- + Gr. ☞ When deprived of oxygen it is colorless, but becomes quickly blue in contact with oxygen, and is then generally called oxyhaemacyanin. A similar blue coloring matter has been detected in small quantity in the blood of other animals and in the bile. [ 1913 Webster ] |
Haemacytometer | n. [ Haema + Gr. |
Illegitimacy | n. The state of being illegitimate. Blackstone. [ 1913 Webster ] |
Inmacy | n. [ From Inmate. ] The state of being an inmate. [ R. ] Craig. [ 1913 Webster ] |
Intimacy | n.; |
Legitimacy | n. [ See Legitimate, a. ] The state, or quality, of being legitimate, or in conformity with law; hence, the condition of having been lawfully begotten, or born in wedlock. [ 1913 Webster ] The doctrine of Divine Right, which has now come back to us, like a thief from transportation, under the alias of Legitimacy. Macaulay. [ 1913 Webster ] |
Leucophlegmacy | n. [ Gr. |
Optimacy | n. [ Cf. F. optimatie. See Optimate. ] |
Oxyhaemocyanin | |
Pharmacy | n. [ OE. fermacie, OF. farmacie, pharmacie, F. pharmacie, Gr. |
Polypharmacy | n. [ Poly- + Gr. &unr_; the using of medicine, fr. &unr_; medicine: cf. F. polypharmacie. ] (Med.) |
Primacy | n. [ LL. primatia, fr. L. primas, -atis, one of the first or principal, chief, fr. primus first: cf. F. primatie. See Prime, a. ] |
Supremacy | n. [ Cf. F. suprématie. See Supreme. ] The state of being supreme, or in the highest station of power; highest or supreme authority or power; The usurped power of the pope being destroyed, the crown was restored to its supremacy over spiritual men and causes. Blackstone. [ 1913 Webster ]
|
外交 | [外 交] diplomacy; diplomatic; foreign affairs #3,500 [Add to Longdo] |
药店 | [药 店 / 藥 店] pharmacy #8,546 [Add to Longdo] |
药房 | [药 房 / 藥 房] pharmacy; drugstore #15,311 [Add to Longdo] |
合法性 | [合 法 性] legitimacy #15,644 [Add to Longdo] |
药学 | [药 学 / 藥 學] pharmacy #16,534 [Add to Longdo] |
霸权 | [霸 权 / 霸 權] hegemony; supremacy #24,409 [Add to Longdo] |
动物性 | [动 物 性 / 動 物 性] animacy #37,399 [Add to Longdo] |
正当性 | [正 当 性 / 正 當 性] (political) legitimacy #46,687 [Add to Longdo] |
蜀汉 | [蜀 汉 / 蜀 漢] Shu Han (c. 200-263), Liu Bei's kingdom in Sichuan during the Three Kingdoms, claiming legitimacy as successor of Han #57,820 [Add to Longdo] |
争雄 | [争 雄 / 爭 雄] to contend for supremacy #60,820 [Add to Longdo] |
薄厚 | [薄 厚] meanness and generosity; intimacy and alienation #75,656 [Add to Longdo] |
先礼后兵 | [先 礼 后 兵 / 先 禮 後 兵] peaceful measures before using force (成语 saw); diplomacy before violence; jaw-jaw is better than war-war #91,975 [Add to Longdo] |
昵爱 | [昵 爱 / 昵 愛] to love dearly; intimacy; close love #697,677 [Add to Longdo] |
悬壶济世 | [悬 壶 济 世 / 懸 壺 濟 世] practice medicine or pharmacy to help the people or public [Add to Longdo] |
争衡 | [争 衡 / 爭 衡] to struggle for mastery; to strive for supremacy [Add to Longdo] |
至高 | [至 高] paramount; supremacy [Add to Longdo] |
非动物性 | [非 动 物 性 / 非 動 物 性] inanimacy [Add to Longdo] |
外交 | [がいこう, gaikou] TH: การฑูตระหว่างประเทศ EN: diplomacy |
Apotheke { f } | Apotheken { pl } | pharmacy | pharmacies [Add to Longdo] |
Diplomatie { f } | diplomacy [Add to Longdo] |
Innigkeit { f }; Intimität { f } | intimacy [Add to Longdo] |
Legitimierung { f } | legitimacy [Add to Longdo] |
Legitimität { f }; Zulässigkeit { f } (jur.) | legitimacy [Add to Longdo] |
Pharmazie { f } | pharmacy [Add to Longdo] |
Rechtmäßigkeit { f } | legitimacy [Add to Longdo] |
Seeherrschaft { f } | Seeherrschaften { pl } | naval supremacy | naval supremacies [Add to Longdo] |
Supremat { n }; Oberherrschaft { f } | supremacy; supreme authority [Add to Longdo] |
Überlegenheit { f } | supremacy [Add to Longdo] |
Unehelichkeit { f } | illegitimacy [Add to Longdo] |
Vertrautheit { f } | intimacy [Add to Longdo] |
Vorrang { m } | Vorränge { pl } | primacy | primacies [Add to Longdo] |
Vorrangstellung { f }; Vortritt { m } | Vorrangstellungen { pl }; Vortritt { pl } | primacy | primacies [Add to Longdo] |
Widerspenstigkeit { f } | contumacy [Add to Longdo] |
親 | [しん, shin] (n) (1) intimacy; closeness; friendliness; (2) close relative; (n-pref) (3) (See 親米, 親アラブ) pro- (e.g. pro-American, pro-Japanese, etc.) #1,782 [Add to Longdo] |
外交 | [がいこう, gaikou] (n) diplomacy; (P) #2,737 [Add to Longdo] |
天下 | [てんか(P);てんが;てんげ, tenka (P); tenga ; tenge] (n) (1) the whole world; (2) the whole country; (3) society; the public; (4) supremacy over a nation; government of a country; the ruling power; (5) having one's own way; doing as one pleases; (adj-no) (6) peerless; incomparable; superlative; world-famous; (n) (7) (arch) shogun (Edo period); (P) #6,631 [Add to Longdo] |
親交 | [しんこう, shinkou] (n) intimacy; friendship; friendly relations; (P) #9,441 [Add to Longdo] |
主権 | [しゅけん, shuken] (n) sovereignty; supremacy; dominion; (P) #10,116 [Add to Longdo] |
制圧 | [せいあつ, seiatsu] (n, vs) gaining total control (of people or counties); suppression; oppression; control; mastery; ascendancy; supremacy; (P) #10,233 [Add to Longdo] |
薬学 | [やくがく, yakugaku] (n, adj-no) (study of) pharmacy; pharmaceutics; (P) #11,247 [Add to Longdo] |
薬局 | [やっきょく, yakkyoku] (n, adj-no) pharmacy; chemist (shop); drugstore; (P) #12,733 [Add to Longdo] |
至上 | [しじょう, shijou] (n) supremacy; (P) #16,295 [Add to Longdo] |
馴染み;馴染(io);馴じみ | [なじみ, najimi] (n) intimacy; friendship; familiarity #17,906 [Add to Longdo] |
薬学部 | [やくがくぶ, yakugakubu] (n) pharmaceutical department; college of pharmacy #19,287 [Add to Longdo] |
親密 | [しんみつ, shinmitsu] (adj-na, n) intimacy; friendship; (P) #19,486 [Add to Longdo] |
親しみ | [したしみ, shitashimi] (n) intimacy; affection; familiarity; (P) #19,826 [Add to Longdo] |
シャトル外交 | [シャトルがいこう, shatoru gaikou] (n) shuttle diplomacy [Add to Longdo] |
ドラッグストア | [doraggusutoa] (n) drugstore; pharmacy [Add to Longdo] |
ドル外交 | [ドルがいこう, doru gaikou] (n) dollar diplomacy [Add to Longdo] |
ファーマシー | [fa-mashi-] (n) pharmacy; chemist; drug store [Add to Longdo] |
ポリファーマシー | [porifa-mashi-] (n) polypharmacy [Add to Longdo] |
外交史 | [がいこうし, gaikoushi] (n) history of diplomacy; history of foreign policy [Add to Longdo] |
外交手腕 | [がいこうしゅわん, gaikoushuwan] (n) diplomatic finesse; skill(s) in diplomacy [Add to Longdo] |
外交術 | [がいこうじゅつ, gaikoujutsu] (n) diplomacy; state-craft [Add to Longdo] |
誼;誼み;好;好み | [よしみ;ぎ(誼);よしび(誼;好), yoshimi ; gi ( gi ); yoshibi ( gi ; kou )] (n) friendship; friendly relations; connection; relation; intimacy [Add to Longdo] |
吉野時代 | [よしのじだい, yoshinojidai] (n) (obsc) (See 南北朝時代) Yoshino period (Japan's Northern and Southern Courts period, esp. from the viewpoint of the legitimacy of the Southern Court, 1336-1392 CE) [Add to Longdo] |
吉野朝時代 | [よしのちょうじだい, yoshinochoujidai] (n) (obsc) (See 南北朝時代) Yoshino period (Japan's Northern and Southern Courts period, esp. from the viewpoint of the legitimacy of the Southern Court, 1336-1392 CE) [Add to Longdo] |
急接近 | [きゅうせっきん, kyuusekkin] (n, vs) fast approach; quick intimacy [Add to Longdo] |
軍事的優位 | [ぐんじてきゆうい, gunjitekiyuui] (n) military superiority; military supremacy [Add to Longdo] |
経済外交 | [けいざいがいこう, keizaigaikou] (n) economic diplomacy [Add to Longdo] |
交情 | [こうじょう, koujou] (n) intimacy; friendship [Add to Longdo] |
公開外交 | [こうかいがいこう, koukaigaikou] (n) open diplomacy [Add to Longdo] |
広報外交 | [こうほうがいこう, kouhougaikou] (n) public diplomacy [Add to Longdo] |
懇意 | [こんい, kon'i] (adj-na, n) kindness; intimacy; friendship; (P) [Add to Longdo] |
懇親 | [こんしん, konshin] (n) friendship; intimacy; (P) [Add to Longdo] |
支配権 | [しはいけん, shihaiken] (n) right of control; supremacy; sovereignty [Add to Longdo] |
至高 | [しこう, shikou] (adj-na, n, adj-no) supreme; supremacy [Add to Longdo] |
至上権 | [しじょうけん, shijouken] (n) supremacy; sovereignty [Add to Longdo] |
資源外交 | [しげんがいこう, shigengaikou] (n) resources diplomacy [Add to Longdo] |
弱腰外交 | [よわごしがいこう, yowagoshigaikou] (n) weak foreign policy; weak-kneed diplomacy [Add to Longdo] |
女性上位 | [じょせいじょうい, joseijoui] (n, adj-no) female dominance; female supremacy [Add to Longdo] |
商権 | [しょうけん, shouken] (n) commercial supremacy; commercial rights [Add to Longdo] |
小切手外交 | [こぎってがいこう, kogittegaikou] (n) checkbook diplomacy; chequebook diplomacy [Add to Longdo] |
情交 | [じょうこう, joukou] (n, vs) intimacy; sexual intercourse [Add to Longdo] |
信愛 | [しんあい, shin'ai] (adj-na, n, vs) love and believe in; intimacy [Add to Longdo] |
深間 | [ふかま, fukama] (n) depths; intimacy [Add to Longdo] |
親しさ | [したしさ, shitashisa] (n) (See 親しみ) intimacy; affection; familiarity [Add to Longdo] |
親疎 | [しんそ, shinso] (n) degree of intimacy [Add to Longdo] |
親密さ | [しんみつさ, shinmitsusa] (n) intimacy [Add to Longdo] |
瀬戸際外交 | [せとぎわがいこう, setogiwagaikou] (n) (See 瀬戸際政策) brinkmanship diplomacy [Add to Longdo] |
勢力拮抗 | [せいりょくきっこう, seiryokukikkou] (n, vs) struggle for supremacy between evenly-matched forces (parties) [Add to Longdo] |
正当性 | [せいとうせい, seitousei] (n, adj-no) lawfulness; propriety; reasonableness; appropriateness; legality; legitimacy [Add to Longdo] |
正腹 | [せいふく, seifuku] (n) legitimacy [Add to Longdo] |