alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
aught | (ออท) n. สิ่งใด ๆ , ส่วนใด, ศูนย์ -adv. ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม., Syn. ought, zero, whatsoever |
bit | (บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ |
busily | (บิซ'ซิลี) adv. ยุ่ง, ไม่ว่าง |
busy | (บิซ'ซี) adj. { busied, busying, busies } ยุ่ง, วุ่น, มีงานมาก, มีธุระยุ่ง, ไม่ว่าง, ใช้อยู่ตลอดเวลา, ซับซ้อน vt. มีงานทำ, ทำให้ไม่ว่าง |
busy signal | n. เสียงสัญญาณไม่ว่าง |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
courier | (เคอ'เรียร์) n. คนเดินหนังสือ, ผู้ส่งข่าวสาร, ผู้ถูกว่าจ้างให้บริการทัศนาจรแก่นักท่องเที่ยว เป์นชื่อแบบอักษร (font) ที่เป็นที่นิยมมากแบบหนึ่งที่มีใช้ในระบบวินโดว์ 3.1 และวินโดว์ 95 ตัวอักษรทุกตัวไม่ว่าจะเป็น I หรือ w ล้วนแต่ใช้เนื้อที่เท่ากันทั้งหมด |
dasd | (แดสดี) ย่อมาจาก direct access storage device (แปลว่า อุปกรณ์หน่วยเก็บแบบเข้าถึงโดยตรง) หมายถึงสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้โดยตรง (direct access) หรือทันที ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะถูกบันทึกไว้ในส่วนใด เช่น จานบันทึก (disk) ดู direct access ประกอบ |
data file | แฟ้มข้อมูลหมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานบันทึกแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็นของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล" |
busy | (adj) ยุ่ง, มีงานมาก, วุ่น, ไม่ว่าง |
busy | (vt) ทำให้ยุ่ง, ทำให้ไม่ว่าง, ทำให้วุ่น |
engage | (vi, vt) ไม่ว่าง, มีธุระ, สัญญา, หมั้น, ผูกมัด, จ้าง, ว่าจ้าง, สู้รบ |
engaged | (adj) ไม่ว่าง, ติดธุระ, หมั้น, จองแล้ว, ยุ่ง, พัวพันกับ |
soever | (adv) ในทุกกรณี, ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม |
wheresoever | (con) ที่ไหนก็ตาม, ไม่ว่าที่ไหน |
wherever | (con) ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม |
whichever | (pro, adj) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม |
whichsoever | (pro, adj) ไม่ว่าอันไหนก็ตาม |
whoever | (pro ใครๆ) ก็ตาม, ผู้ใดที่, ไม่ว่าใครก็ตาม |
durchaus | ทั้งนี้และทั้งนั้น, ทุกวิถีทาง, จำเป็นอย่างยิ่ง เช่น Er möchte durchaus in diese Schule gehen. ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นเขาต้องการจะเข้าโรงเรียนนี้, Syn. unbedingt |
jedenfalls | ไม่ว่ากรณีใดๆ, ในทุกๆ กรณี เช่น Ich weiß nicht wie lange die Sitzung dauert. Ich komme jedenfalls nach. ฉันไม่รู้ว่าที่ประชุมเลิกกี่โมง อย่างไรซะฉันก็จะตามไปนะ, Syn. auf jeden Fall |
Kaufleute | (n) |pl.| นักธุรกิจ(ไม่ว่าชายหรือหญิง), See also: Kaufmann, Kauffrau |
auf jeden Fall | ในทุกกรณี, ไม่ว่ากรณีใด, แน่นอน เช่น Auf jeden Fall komme ich mit dir zum Krankenhaus., See also: jedenfalls, in jedem Fall |
Tschüß! | (phrase) ลาก่อน, บ๊ายบาย (ข้อแตกต่างจาก Auf Wiedersehen! คือ Tschüß! สามารถใช้พูดได้ทุกกรณีไม่ว่าจะเป็นสู่เพื่อน, คนสนิทหรือคนที่ทำงานที่เจอกันเกือบทุกวัน, หรือตามร้านค้าสำนักงาน), See also: Auf Wiedersehen!, Syn. Ciao! |
Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค)เช่น Sie sind groß. |
Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß. |
Sie | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? |
Sie | (pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie? |
Ihnen | (pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen. |