Allovital | ใส่หรือปะอวัยวะเพื่อให้ทำงานได้ดีตลอดไป [การแพทย์] |
Alluvial Complex Soil | ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อน, Example: ดินบริเวณที่ราบน้ำท่วมถึง (flood plain) มีลักษณะสูงๆ ต่ำๆ เนื่องจากการกัดเซาะของน้ำและเกิดจากการทับถม จึงทำให้พบดินตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ปะปนกัน จนไม่สามารถแยกและแสดงไว้บนแผนที่ดินที่มีมาตรส่วนขนาดเล็กได้ จึงรวมไว้ในหน่วยแผนที่เดียวกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Alluvial Fan | เนินตะกอนน้ำพารูปพัด, Example: เนินตะกอนที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอน ในบริเวณที่มีการเปลี่ยนระดับของทางน้ำจากหุบเขาชันลงสู่ที่ราบ ซึ่งจะทำให้ความเร็วของกระแสน้ำลดลงจนไม่สามารถนำพา ตะกอนบางส่วนต่อไปได้ ตะกอนดังกล่าวจึงตกสะสม ในลักษณะที่แยกกระจายออกไปรอบข้างเป็นรูปพัด [สิ่งแวดล้อม] |
alluvial fan | เนินตะกอน(น้ำพา)รูปพัด, เนินตะกอนที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนในบริเวณที่มีการเปลี่ยนระดับของทางน้ำจากหุบเขาชันลงสู่ที่ราบ ทำให้ความเร็วของกระแสน้ำลดลงจนไม่สามารถนำพาตะกอนบางส่วนต่อไปได้ ตะกอนจึงตกสะสมในลักษณะที่แยกกระจายออกไปรอบข้างเป็นรูปพัด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Alluvial fans | เนินตะกอนรูปพัด [TU Subject Heading] |
Alluvial Plain | ที่ราบตะกอนน้ำพา, Example: ที่ราบหรือค่อนข้างราบขนาดใหญ่ 2 ฝั่งแม่น้ำ ในฤดูน้ำหลาก น้ำจะไหลล้น 2 ฝั่งแม่น้ำท่วมบริเวณดังกล่าว และนำตะกอนมาสะสม ถ้าเป็นที่ราบขนาดเล็ก เรียกว่า ที่ลุ่มราบตะกอนน้ำพา (alluvial flat) [สิ่งแวดล้อม] |
alluvial plain | alluvial plain, ที่ราบตะกอนน้ำพา [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Alluvial plains | ที่ราบลุ่มน้ำ [TU Subject Heading] |
alluvial soil | alluvial soil, ดินตะกอนน้ำพา [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Alluvial Terrace | ตะพักลุ่มน้ำ, Example: ที่ราบเป็นขั้น ๆ ข้างตลิ่ง เกิดจากทางน้ำที่ตะกอนตก จมทับถมจนกลายเป็นที่ราบลุ่มน้ำ แล้วต่อมากระแสน้ำไหลแรงและสามารถกัดเซาะ ที่ราบลุ่มน้ำจนต่ำลง จึงทำให้ที่ราบลุ่มน้ำส่วนที่เหลืออยู่สูงกว่าท้องน้ำใหม่ นานๆ เข้า ท้องน้ำก็จะยิ่งกว้างออกไปและอาจเกิดที่ราบลุ่มน้ำตรงท้องน้ำที่กว้างออกไป ขึ้นอีก วนเวียนกันไปเรื่อยๆ จนเกิดที่ราบเป็นชั้นๆ ข้างตลิ่งในบริเวณนั้น [สิ่งแวดล้อม] |
alluvial terrace | alluvial terrace, ตะพักลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Alluvial Complex Soil | ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อน, Example: ดินบริเวณที่ราบน้ำท่วมถึง (flood plain) มีลักษณะสูงๆ ต่ำๆ เนื่องจากการกัดเซาะของน้ำและเกิดจากการทับถม จึงทำให้พบดินตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ปะปนกัน จนไม่สามารถแยกและแสดงไว้บนแผนที่ดินที่มีมาตรส่วนขนาดเล็กได้ จึงรวมไว้ในหน่วยแผนที่เดียวกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Alluvial Fan | เนินตะกอนน้ำพารูปพัด, Example: เนินตะกอนที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอน ในบริเวณที่มีการเปลี่ยนระดับของทางน้ำจากหุบเขาชันลงสู่ที่ราบ ซึ่งจะทำให้ความเร็วของกระแสน้ำลดลงจนไม่สามารถนำพา ตะกอนบางส่วนต่อไปได้ ตะกอนดังกล่าวจึงตกสะสม ในลักษณะที่แยกกระจายออกไปรอบข้างเป็นรูปพัด [สิ่งแวดล้อม] |
alluvial fan | เนินตะกอน(น้ำพา)รูปพัด, เนินตะกอนที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนในบริเวณที่มีการเปลี่ยนระดับของทางน้ำจากหุบเขาชันลงสู่ที่ราบ ทำให้ความเร็วของกระแสน้ำลดลงจนไม่สามารถนำพาตะกอนบางส่วนต่อไปได้ ตะกอนจึงตกสะสมในลักษณะที่แยกกระจายออกไปรอบข้างเป็นรูปพัด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Alluvial fans | เนินตะกอนรูปพัด [TU Subject Heading] |
Alluvial Plain | ที่ราบตะกอนน้ำพา, Example: ที่ราบหรือค่อนข้างราบขนาดใหญ่ 2 ฝั่งแม่น้ำ ในฤดูน้ำหลาก น้ำจะไหลล้น 2 ฝั่งแม่น้ำท่วมบริเวณดังกล่าว และนำตะกอนมาสะสม ถ้าเป็นที่ราบขนาดเล็ก เรียกว่า ที่ลุ่มราบตะกอนน้ำพา (alluvial flat) [สิ่งแวดล้อม] |
alluvial plain | alluvial plain, ที่ราบตะกอนน้ำพา [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Alluvial plains | ที่ราบลุ่มน้ำ [TU Subject Heading] |
alluvial soil | alluvial soil, ดินตะกอนน้ำพา [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Alluvial Terrace | ตะพักลุ่มน้ำ, Example: ที่ราบเป็นขั้น ๆ ข้างตลิ่ง เกิดจากทางน้ำที่ตะกอนตก จมทับถมจนกลายเป็นที่ราบลุ่มน้ำ แล้วต่อมากระแสน้ำไหลแรงและสามารถกัดเซาะ ที่ราบลุ่มน้ำจนต่ำลง จึงทำให้ที่ราบลุ่มน้ำส่วนที่เหลืออยู่สูงกว่าท้องน้ำใหม่ นานๆ เข้า ท้องน้ำก็จะยิ่งกว้างออกไปและอาจเกิดที่ราบลุ่มน้ำตรงท้องน้ำที่กว้างออกไป ขึ้นอีก วนเวียนกันไปเรื่อยๆ จนเกิดที่ราบเป็นชั้นๆ ข้างตลิ่งในบริเวณนั้น [สิ่งแวดล้อม] |
alluvial terrace | alluvial terrace, ตะพักลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |