archive | (n) สถานที่เก็บเอกสารสำคัญ |
archive | (n) เอกสารสำคัญ |
archived file | (อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้) |
archives | (อาร์'ไคว'ซ) n., pl. เอกสารหรือบันทึกสำคัญห้องเก็บเอกสารหรือบันทึกสำคัญ. -archival adj., Syn. annal, record, chronicle |
archivist | (อาร์'คะวิสทฺ) n. ผู้เก็บและดูแลเอกสารหรือบันทึกสำคัญ |
archivolt | (อาร์'คิโวลท) n. แถบลวดลายที่ประดับส่วนโค้งของสิ่งก่อสร้าง |
archives | (n) เอกสารสำคัญ, บันทึกสำคัญ, ห้องเก็บเอกสาร |
archivist | (n) ผู้เก็บเอกสารสำคัญ, พนักงานเก็บหนังสือ |
archival material | วัสดุจดหมายเหตุ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
archive | หน่วยเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
archive | หน่วยเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
archived file | แฟ้มเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
archived file | แฟ้มเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
archives | จดหมายเหตุ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
archives | ๑. จดหมายเหตุ๒. หอจดหมายเหตุ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
archiving | การเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
archiving | การเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Archival box | กล่องเอกสารจดหมายเหตุ, Example: กล่องเอกสารจดหมายเหตุ (Archival box) หมายถึง กล่องที่ใช้เก็บเอกสารจดหมายเหตุที่ได้จัดหมวดและจัดเรียงอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อยทุกขั้นตอนแล้ว เพื่อจัดวางบนชั้นเก็บต่อไป กล่องเอกสารจดหมายเหตุนี้เป็นกล่องมีฝาปิด ทำด้วยกระดาษแข็งเป็นกระดาษไร้กรด (Acid-free) และมีสารบัฟเฟอร์ที่จะต่อต้านกรดและมลพิษในบรรยากาศ ช่วยป้องกันฝุ่นสิ่งสกปรกและการแทรกซึมของแสง เป็นกล่องที่มีความแข็งแรงได้รับการออกแบบโดยเฉพาะสำหรับการจัดเก็บข้อมูลระยะยาวของเอกสารจดหมายเหตุ (ต้นฉบับเอกสาร จดหมาย วารสาร แผนที่ ภาพพิมพ์ รูปถ่าย ฯลฯ) สำหรับกล่องกระดาษแข็งจะทำจากใยที่ไม่ได้ฟอก และไม่มีสารส้มและชันสน (Alum/Rosin size) อนุภาคของโลหะ ไขผึ้ง สารที่ใส่ในโพลิเมอร์ (เช่น สารเพิ่มความแข็งแรงเมื่อเปียก) และมีกำมะถันน้อยกว่า 0.0008 % นอกจากนั้น พื้นผิวของกล่องจะไม่มีปม และรอยแตก มุมกล่องเสริมด้วยโลหะสร้างความปลอดภัยด้วยแนวตะเข็บต้านการบีบอัด แม้ในขณะที่วางซ้อนกันโดยไม่ต้องใช้กาวหรือลวดเย็บกระดาษ สีของกล่องโดยทั่วไปใช้สีกลาง ๆ กล่องเอกสารจดหมายเหตุนี้มีหลายขนาดและหลากหลายรูปแบบให้เหมาะกับการใช้ตามมาตรฐานของเอกสารจดหมายเหตุประเภทต่าง ๆ <p> <img alt="Archival box" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120907-archival-box.jpg" style="width: 200px; height: 140px" /></p> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Archival materials | วัสดุจดหมายเหตุ [TU Subject Heading] |
Archival resources | ทรัพยากรจดหมายเหตุ [TU Subject Heading] |
Archival value | คุณค่าเอกสารจดหมายเหตุ, Example: คุณค่าเอกสารจดหมายเหตุเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาเพื่อตัดสินใจเลือกว่าเอกสารใดควรเก็บรักษาเป็นเอกสารจดหมายเหตุและเอกสารใดควรทำลาย การประเมินคุณค่าเอกสารจดหมายเหตุมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกเอกสารที่มีคุณค่าสำคัญ เพื่อเก็บรักษาเป็นเอกสารจดหมายเหตุไว้ตลอดไป ดังนั้น การประเมินคุณค่าเอกสารจดหมายเหตุจึงเป็นขั้นตอนสำคัญขั้นตอนหนึ่งในหลักวิชาการดำเนินงานจดหมายเหตุสากลและเป็นภารกิจหนึ่งที่สำคัญของนักจดหมายเหตุ ในการพิจารณาคุณค่าของเอกสารสามารถพิจารณาได้ ดังต่อไปนี้<br> <b>คุณค่าของเอกสารสามารถจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ </b><br> 1. คุณค่าขั้นต้น คือ การใช้ประโยชน์ในช่วงระยะแรกที่ได้จัดทำเอกสารขึ้นในด้านการบริหาร การปฏิบัติงาน หรือเพื่อเป็นหลักฐานอ้างอิงทางกฎหมายและทางการเงิน โดยพิจารณาจาก หน้าที่หรือวัตถุประสงค์ของเอกสารที่มีต่อหน่วยงานหรือบุคคลที่จัดทำและใช้เอกสารนั้น<br> 2. คุณค่าขั้นรอง คือ คุณค่าที่มีหลังจากเอกสารสิ้นกระแสการปฏิบัติงานแล้ว ซึ่งยังสามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานในการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงในเรื่องเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ เหตุการณ์ ประวัติ และพัฒนาการของหน่วยงาน <br> <b>คุณค่าของเอกสารที่ใช้กำหนดเป็นเกณฑ์สำหรับการประเมินคุณค่าเอกสารจดหมายเหตุ</b><br> 1. คุณค่าด้านการบริหาร คือ เอกสารที่เป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน/บริหารของหน่วยงานในปัจจุบันหรือในอนาคต เช่น เอกสารนโยบาย แผนงาน คำสั่ง ระเบียบ ประกาศ รายงานการประชุม<br> 2. คุณค่าด้านกฎหมาย คือ เอกสารที่จัดทำขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด/รองรับ และเอกสารที่เป็นพยานถึงเหตุการณ์หรือข้อตกลง ซึ่งสามารถนำมาอ้างอิงทางกฎหมาย เช่น เอกสารทางด้านเอกสิทธิ์ สัญญาต่างๆ ข้อตกลง พระราชบัญญัติ โฉนด<br> 3. คุณค่าด้านการเงิน คือ เอกสารที่จำเป็นต่อการดำเนินงานเรื่องการเงิน งบประมาณ เช่น หลักฐานทางการเงิน เอกสารการใช้จ่ายงบประมาณ ประมาณการรายรับรายจ่าย<br> 4. คุณค่าทางประวัติศาสตร์ แสดงประวัติศาสตร์ของหน่วยงานที่ผ่านมา โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตและ กิจกรรมของบุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาพถ่าย โปสเตอร์ ของที่ระลึก จดหมาย<br> 5. คุณค่าด้านวิชาการ คือ เอกสารที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ วัตถุสิ่งของ เหตุการณ์ ซึ่งมีประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า วิจัย<br> นอกจากนี้ยังต้องใช้เทคนิคการประเมินด้วยการพิจารณาด้านกายภาพของเอกสารมาเป็นเกณฑ์การประเมินเพิ่มเติม เช่น ความสมบูรณ์ ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ แล้วจึงนำข้อมูลและรายละเอียดที่ได้มาพิจารณาตัดสินใจและจัดทำเป็น “ตารางกำหนดอายุเอกสาร” เพื่อใช้เป็นแนวทางการพิจารณาหรือเป็นคู่มือในการจัดเก็บและทำลายเอกสารต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Archives | จดหมายเหตุ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Archives | จดหมายเหตุ, สถาบันจดหมายเหตุ, หอจดหมายเหตุ, Example: Archives มีความหมาย 3 ประการ ดังนี้ <p> 1. เอกสารที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนผลิตขึ้นเพื่อใช้ในการบริหารหรือการปฏิบัติงาน ซึ่งแสดงถึงประวัติและพัฒนาการของหน่วยงานนั้น ๆ เอกสารเหล่านี้ได้รับการสงวนรักษาไว้อย่างถาวรในหอจดหมายเหตุเพื่อเป็นหลักฐานสำคัญในการศึกษาค้นคว้าอ้างอิง การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ และการตัดสินทางกฎหมาย จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญยิ่งของชาติ จำเป็นต้องได้รับการจัดเก็บรักษาไว้อย่างเป็นระบบ และถูกต้องตามหลักวิชาการจดหมายเหตุ เอกสารสำคัญนี้ เรียกว่า จดหมายเหตุ หรือ เอกสารจดหมายเหตุ (Archival materials) <p> 2. สถาบันหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินงาน การจัดหาหรือรับมอบ การจัดเก็บดูแลรักษา และการถ่ายทอดสาระของเอกสารไปสู่ผู้ใช้ตามหลักวิชาการ ความหมายนี้ เรียกว่า สถาบันจดหมายเหตุ หรือ หน่วยงานจดหมายเหตุ (Archival Agency) สำหรับหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบในการบริหารงานจดหมายเหตุระดับชาติของไทยในปัจจุบัน คือ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร <p> 3. ตัวอาคารหรือส่วนของอาคารที่เป็นที่จัดตั้งหรือที่ทำการของสถาบันจดหมายเหตุหรือหน่วยงานจดหมายเหตุ ความหมายนี้ เรียกว่า หอจดหมายเหตุ (Archival Repository) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Archives | จดหมายเหตุ [TU Subject Heading] |
Archivist | นักจดหมายเหตุ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Archivist | นักจดหมายเหตุ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
archival copy | สำเนาบันทึกเอกสารสำคัญ |
archiv | Does ALC's web site include an archive of English expressions? |
สารบรรณ | (n) document, See also: archives, Example: ห้องเก็บสารบรรณถูกทำร้ายหมดสิ้น, Thai Definition: หนังสือที่เป็นหลักฐาน |
หอจดหมายเหตุ | (n) archives, See also: building of annals, Syn. ที่เก็บบรรณสาร, Example: หอจดหมายเหตุตรงข้ามสนามหลวงเป็นสถานที่จัดงานศิลปะสำหรับประชาชน, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: สถานที่เก็บและให้บริการเอกสารจดหมายเหตุ |
หอจดหมายเหตุ | (n) archive, Example: หอจดหมายเหตุตรงข้ามสนามหลวงเป็นสถานที่จัดงานศิลปะสำหรับประชาชน, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: สถานที่เก็บและให้บริการเอกสารจดหมายเหตุ |
บรรณสาร | [bannasān] (n) EN: papers ; archives FR: document officiel [ m ] |
สารบรรณ | [sāraban] (n) EN: documents ; office files ; archives ; correspondence FR: documents [ mpl ] ; archives [ fpl ] |
archive | |
archival | |
archived | |
archives | |
archivist | |
archivist | |
archivists | |
archivists |
archives | |
archivist | |
archivists |
archival | (adj) of or relating to or contained in or serving as an archive |
archive | (n) a depository containing historical records and documents |
archive | (v) put into an archive, Syn. file away |
archives | (n) collection of records especially about an institution |
archivist | (n) a person in charge of collecting and cataloguing archives |
Archival | a. Pertaining to, or contained in, archives or records. Tooke. [ 1913 Webster ] |
Archive | n.; Our words . . . . become records in God's court, and are laid up in his archives as witnesses. Gov. of Tongue. [ 1913 Webster ] [ Rarely used in Some rotten archive, rummaged out of some seldom explored press. Lamb. [ 1913 Webster ] |
archives | n. |
Archivist | n. [ F. archiviste. ] A keeper of archives or records. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
Archivolt | n. [ F. archivolte, fr. It. archivolto; pref. archi- + volto vault, arch. See Vault. ] (Arch.) |
图谱 | [图 谱 / 圖 譜] archive of graphics (e.g. maps, documents or botanical figures); atlas; collection of illustrations or sheet music #24,335 [Add to Longdo] |
档案馆 | [档 案 馆 / 檔 案 館] archive library [Add to Longdo] |
Archiv | (n) |das, pl. Archive| เอกสารสำคัญ |
Stadtarchiv | (n) |das, pl. Stadtarchive| เอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับเมือง |
Archiv { n } | archive [Add to Longdo] |
Archivar { m } | archivist [Add to Longdo] |
Archivband { n } | archive tape [Add to Longdo] |
Archivdatei { f } | archive file [Add to Longdo] |
Archivierung { f } | archiving [Add to Longdo] |
Archivnummer { f } | archive number [Add to Longdo] |
Archivnummernvergleich { m } | archive number comparison [Add to Longdo] |
archivarisch | archival [Add to Longdo] |
archivierbar | archivable [Add to Longdo] |
archivieren | archivierend | archiviert | to archive | archiving | archived [Add to Longdo] |
archivierte | archival [Add to Longdo] |
アーカイブ | [a-kaibu] (n) archive #1,415 [Add to Longdo] |
文書 | [ぶんしょ(P);もんじょ, bunsho (P); monjo] (n) document; writing; letter; paperwork; note; records; archives; (P) #1,535 [Add to Longdo] |
史料 | [しりょう, shiryou] (n) historical records; archives; (P) #3,619 [Add to Longdo] |
公文書 | [こうぶんしょ, koubunsho] (n) official document; archives; (P) #10,211 [Add to Longdo] |
公文 | [こうぶん, koubun] (n) official document; archives; (P) #12,123 [Add to Longdo] |
古文書 | [こもんじょ(P);こぶんしょ, komonjo (P); kobunsho] (n) ancient documents; archives; (P) #14,362 [Add to Longdo] |
蔵人;藏人 | [くろうど;くらんど;くらびと, kuroudo ; kurando ; kurabito] (n) (1) keeper of imperial archives; (2) worker at a sake brewery #17,463 [Add to Longdo] |
アーカイバ;アーカイバー | [a-kaiba ; a-kaiba-] (n) { comp } archiver [Add to Longdo] |
アーカイバルファイル | [a-kaibarufairu] (n) { comp } archival file [Add to Longdo] |
アーカイバルメモリ | [a-kaibarumemori] (n) { comp } archival memory [Add to Longdo] |
アーカイバ | [あーかいば, a-kaiba] archiver [Add to Longdo] |
アーカイビング | [あーかいびんぐ, a-kaibingu] archiving [Add to Longdo] |
アーカイブ | [あーかいぶ, a-kaibu] archive [Add to Longdo] |
アーカイブファイル | [あーかいぶふぁいる, a-kaibufairu] archive file [Add to Longdo] |
アーカイブ対象ファイル | [アーカイブたいしょうファイル, a-kaibu taishou fairu] archived file [Add to Longdo] |
階層記憶制御 | [かいそうきおいくせいぎょ, kaisoukioikuseigyo] HARC, Hierarchical Storage Archive and Retrieve Controller [Add to Longdo] |
公開アーカイブ | [こうかいアーカイブ, koukai a-kaibu] public archive [Add to Longdo] |
構造体保管 | [こうぞうたいほかん, kouzoutaihokan] structure archiving [Add to Longdo] |
史料 | [しりょう, shiryou] archives [Add to Longdo] |
史料館 | [しりょうかん, shiryoukan] archives [Add to Longdo] |