earthquake | (n) แผ่นดินไหว, Syn. quake, seism, temblor |
earthquake | (เอิร์ธ'เควค) n. แผ่นดินไหว |
earthquake | (n) แผ่นดินไหว |
earthquake | แผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
earthquake fire damage | ความเสียหายจากไฟเพราะแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
earthquake insurance | การประกันภัยแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
earthquake sea wave; seismic sea wave; seismic surge | คลื่นจากแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
earthquake shock damage | ความเสียหายจากการสั่นสะเทือนเพราะแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
earthquake zone | เขตแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Earthquake | แผ่นดินไหว, Example: <p>แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่แผ่นดินเกิดการสั่นสะเทือน โดยเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกชั้นนอกซึ่งเคลื่อนที่ได้ตามกระแสความร้อนของหินละลายหลอมเหลวที่เป็นส่วนประกอบชั้นในของโลก เนื่องจากเปลือกโลกประกอบขึ้นด้วยแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่น ดังนั้นเมื่อความร้อนจากภายในโลกดันตัวออกมาจะทำให้แผ่นเปลือกโลกบางแผ่นเกิดการเคลื่อนที่ จึงทำให้การเกิดแผ่นดินไหวบนพื้นผิวโลกเกิดเฉพาะบางแห่งไม่เกิดขึ้นโดยทั่วไป นอกจากแผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังสามารถเกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ การระเบิดเหมืองแร่ <p> <p>การวัดขนาดของแผ่นดินไหวนิยมวัดโดยใช้มาตราริกเตอร์ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0-9<br/> แผ่นดินไหวขนาดน้อยกว่า 3 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 3.5-5 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดกลาง ซึ่งสร้างความเสียหายไม่มาก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 6-8 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขั้นรุนแรงสร้างความเสียหายมากแก่ชีวิตผู้คน สิ่งปลูกสร้าง และทรัพย์สิน<br/> แผ่นดินไหวขนาด 9 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากที่สุดสร้างความเสียหายมากและเป็นบริเวณกว้าง หากเกิดขึ้นใต้พื้นท้องทะเล มักจะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ที่เรียกว่า สึนามิ <p> <p>การตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย<br/> ประเทศไทยได้มีการติดตั้งเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2506 ณ สถานีตรวจวัดจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันได้มีการกระจายการติดตั้งไปยังจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้งมีการติดตั้งเพิ่มเติมในบางจุด เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยนำไปติดตั้งบริเวณเขื่อนขนาดใหญ่ <p> <p>การป้องกันและการบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหวโดยรัฐ<br/> 1. ออกกฎหมายควบคุมอาคารและสิ่งก่อสร้างให้มีความแข็งแรงพอที่จะต้านแรงแผ่นดินไหว<br/> 2. จัดให้หน่วยกู้ภัยมีอุปกรณ์และเครื่องมือที่พอเพียงกับการปฏิบัติงานและฝึกซ้อมบุคลากรให้พร้อมกับการกู้ภัย<br/> 3. จัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบที่สามารถควบคุมและประสานงานตามแผนปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br/> 4. ทำการศึกษาวิจัยในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหว<br/> 5. แบ่งเขตพื้นที่ของประเทศตามความเสี่ยงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหว<br/> 6. ให้ความสำคัญกับเหตุการณ์แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นตามมา เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ไฟฟ้าดับ โรคระบาด<br/> <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุภาพ ภู่ประเสริฐ. (2550). แผ่นดินไหว. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. (เล่มที่ 9, หน้า 6-57). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
earthquake | earthquake, แผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
earthquake | แผ่นดินไหว, การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Earthquake effects | ผลกระทบของแผ่นดินไหว [TU Subject Heading] |
Earthquake engineering | วิศวกรรมแผ่นดินไหว [TU Subject Heading] |
earthquake factor | earthquake factor, ตัวคูณค่าแผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
earthquake period | earthquake period, ช่วงแผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Earthquake prediction | พยากรณ์แผ่นดินไหว [TU Subject Heading] |
Earthquake resistant design | การออกแบบต้านทานแผ่นดินไหว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Earthquake resistant design | การออกแบบการต้านแรงแผ่นดินไหว [TU Subject Heading] |
แผ่นดินไหว | [phaendinwai] (n) EN: earthquake FR: séisme [ m ] ; tremblement de terre [ m ] |
earthquake | |
earthquakes | |
earthquake's |
earthquake | |
earthquakes |
earthquake | (n) shaking and vibration at the surface of the earth resulting from underground movement along a fault plane of from volcanic activity, Syn. temblor, quake, seism |
earthquake | (n) a disturbance that is extremely disruptive |
Earthquake | n. A shaking, trembling, or concussion of the earth, due to subterranean causes, often accompanied by a rumbling noise. The wave of shock sometimes traverses half a hemisphere, destroying cities and many thousand lives; -- called also
|
Earthquake | a. Like, or characteristic of, an earthquake; loud; startling. [ 1913 Webster ] The earthquake voice of victory. Byron. [ 1913 Webster ] |
地震 | [地 震] earthquake #3,753 [Add to Longdo] |
震中 | [震 中] earthquake epicenter #33,993 [Add to Longdo] |
地动 | [地 动 / 地 動] earthquake (old term) #49,232 [Add to Longdo] |
震灾 | [震 灾 / 震 災] earthquake damage #73,893 [Add to Longdo] |
地震中 | [地 震 中] earthquake epicenter [Add to Longdo] |
地震局 | [地 震 局] earthquake bureau [Add to Longdo] |
抗震救灾指挥部 | [抗 震 救 灾 指 挥 部 / 抗 震 救 災 指 揮 部] earthquake relief headquarter [Add to Longdo] |
抗震结构 | [抗 震 结 构] earthquake resistant construction [Add to Longdo] |
震区 | [震 区 / 震 區] earthquake area [Add to Longdo] |
地震 | [じしん(P);ない(ok);なえ(ok), jishin (P); nai (ok); nae (ok)] (n) earthquake; (P) #1,441 [Add to Longdo] |
大震災 | [だいしんさい, daishinsai] (n) (1) great earthquake (disaster); (2) (abbr) (See 関東大震災) Great Kanto earthquake of 1923; (P) #4,631 [Add to Longdo] |
震災 | [しんさい, shinsai] (n) (1) earthquake disaster; (2) (abbr) (See 関東大震災) Great Kanto Earthquake (1923); (P) #8,711 [Add to Longdo] |
震度 | [しんど, shindo] (n) Japanese earthquake scale (level 1 #10,455 [Add to Longdo] |
耐震 | [たいしん, taishin] (n, adj-no) resistant to earthquakes #13,709 [Add to Longdo] |
関東大震災 | [かんとうだいしんさい, kantoudaishinsai] (n) Great Kanto earthquake of 1923 #14,528 [Add to Longdo] |
震源 | [しんげん, shingen] (n, adj-no) (See 震央) hypocentre (of an earthquake); hypocenter; (P) #15,839 [Add to Longdo] |
P波;ピー波 | [ピーは, pi-ha] (n) P-wave (e.g. of earthquake); primary wave [Add to Longdo] |
S波;エス波 | [エスは, esu ha] (n) S-wave (e.g. of earthquake); secondary wave [Add to Longdo] |
ゆっくり地震 | [ゆっくりじしん, yukkurijishin] (n) slow earthquake [Add to Longdo] |