ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: คุกคาม, -คุกคาม- |
คุกคาม | (v) threaten, See also: menace, browbeat, intimidate, bully, cow, frighten, Syn. ขู่, กดขี่, ข่มเหง, Ant. ปลอบขวัญ, Example: เขาจ้างนักเลงไว้คุกคามบุคคลที่ขัดขวางแผนการหรือผลประโยชน์ของตน, Thai Definition: แสดงอำนาจด้วยกิริยาหรือวาจาให้หวาดกลัว, ทำให้หวาดกลัว |
|
| คุกคาม | ก. แสดงอำนาจด้วยกิริยาหรือวาจาให้หวาดกลัว, ทำให้หวาดกลัว เช่น ภัยคุกคาม, ในบทกลอนใช้ว่า คุก ก็มี เช่น ไป่ขู่ไป่คุก ไป่รุกรุมตี (สมุทรโฆษ). | กระเกรี้ยว | ว. เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). | กลาโหม | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ |
| | Biological invasion | การคุกคามทางชีวภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Abortion, Threatened | ภาวะแท้งคุกคาม [TU Subject Heading] | Harassment | การคุกคาม [TU Subject Heading] | Sexual harassment | การคุกคามทางเพศ [TU Subject Heading] | Sexual harassment in education | การคุกคามทางเพศในการศึกษา [TU Subject Heading] | Sexual harassment in universities and college | การคุกคามทางเพศในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] | Sexual harassment of men | การคุกคามทางเพศต่อบุรุษ [TU Subject Heading] | Sexual harassment of women | การคุกคามทางเพศต่อสตรี [TU Subject Heading] | Australia-New Zealand-US | สนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์-สหรัฐอเมริกา " โดยตกลงให้มีการช่วยเหลือประเทศสมาชิกเมื่อถูกคุกคามจากประเทศนอกภาคี ปัจจุบัน ANZUS ยังคงสถานะอยู่แต่ไม่มีการดำเนินการใด ๆ (non-operational) เนื่องจากความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกากับนิวซีแลนด์ยุติลง โดยนิวซีแลนด์ยังไม่ละทิ้งสนธิสัญญา ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าอาจจะมีการรื้อฟื้นขึ้นอีก " [การทูต] | High Level Panel on Threats, Challenges and Change | คณะผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูงว่าด้วยภัยคุกคาม ความท้าทายและการเปลี่ยนแปลง แต่งตั้งโดยนาย Kofi Annan เลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 16 คน มีนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายก - รัฐมนตรีเป็นประธาน [การทูต] | Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] | Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] | Secretariat of the United Nations | คือสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสมัชชาตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ตามที่องค์การต้องการหน้าที่สำคัญของเลขาธิการสหประชา ชาติ คือ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การ นำเรื่องใดก็ตามเสนอต่อคณะมนตรีความมั่นคง ซี่งตามทรรศนะของเลขาธิการเห็นว่าเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคง ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ทำรายงานประจำปี และรายงานเพิ่มเติมใด ๆ ที่จำเป็นเสนอต่อสมัชชาสหประชาชาติ เกี่ยวกับงานขององค์การ สหประชาชาติคณะเจ้าหน้าที่ที่ทำงานช่วยเหลือเลขาธิการนั้น ถือเป็นเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศ ประกอบด้วยชนชาติต่าง ๆ ในการเกณฑ์เจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าทำงานกับสหประชาชาติ จะคัดแต่ผู้ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถ และความซื่อสัตย์ในระดับสูงสุด และคำนึงถึงเขตภูมิศาสตร์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการทำงานตามหน้าที่ ทั้งตัวเลขาธิการและคณะเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมงาน จะต้องไม่แสวงหรือรับคำสั่งจากรัฐบาลใด ๆ หรือจากผู้มีอำนาจหน้าที่อื่นใดที่อยู่นอกเหนือองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สมาชิกของสหประชาชาติได้ตกลงยอมรับนับถือความรับผิดชอบที่มีลักษณะระหว่าง ประเทศของสำนักเลขาธิการ และจักไม่แสวงใช้อิทธิพลใด ๆ ต่อสำนักเลขาธิการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเหล่านั้น [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | Abortion, Threatened | การแท้งคุกคาม, แท้งคุกคาม, สภาวะที่คุกคามต่อการแท้งบุตร [การแพทย์] | Concentration, Maximum Allowable | ขนาดมาตรฐานของสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย [การแพทย์] | กลไกป้องกันทางจิต | กลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต] | Infection, Active | กำลังเป็นโรค, ก่อให้เกิดโรคด้วยตนเอง, ระยะที่โรคคุกคาม [การแพทย์] | Limit Value, Threshold | ขนาดมาตรฐานของสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย [การแพทย์] |
| การคุกคาม | [kān khukkhām] (n) EN: menace ; threat ; intimidation ; peril | การคุกคามทางเพศ | [kān khukkhām thāng phēt] (n, exp) EN: sexual harassment | คุกคาม | [khukkhām] (v) EN: threaten ; menace ; browbeat ; intimidate ; bully ; cow ; frighten FR: menacer ; intimider ; inquiéter |
| bulldoze | (vt) พาล, See also: ขู่เข็ญ, คุกคาม, Syn. coerce | cow | (vt) ขู่, See also: ทำให้กลัว, ทำให้ตื่นตระหนก, คุกคาม, Syn. overawe | menace | (vt) คุกคาม, See also: ทำให้ตกอยู่ในอันตราย, ขู่เข็ญ, ข่มขู่, Syn. endanger, imperil, Ant. protect, safeguard | menacing | (adj) ซึ่งคุกคาม, Syn. approaching, threatening, dangerous | minatory | (adj) ซึ่งคุกคาม, Syn. threatening, menacing | ramp | (vt) ขู่เข็ญ, See also: คุกคาม, Syn. threaten | threat | (n) การคุกคาม, See also: การขู่เข็ญ, Syn. menace, peril, intimidation | threaten | (vt) คุกคาม, See also: ขู่เข็ญ, Syn. menace, torment | threaten | (vi) คุกคาม, See also: ขู่เข็ญ, Syn. menace, torment |
| bulldoze | (บูล'โดซ) { bulldozed, bulldozing, bulldozes } vt. ทำให้กลัว, ขู่, ขู่เข็ญ, คุกคาม, ใช้รถแทรกเตอร์ไถพื้นที่ให้เรียบ | bully | (บูล'ลี) { bullied, bullying, bullies } n. คนพาล, แมงดา, คนลวง, เนื้อวัวกระป๋อง vt. ขู่, ขู่เข็ญ, คุกคาม, ทำให้กลัว vt. เป็นอันธพาล, รังแก. adj. ดีมาก, ดีเลิศ, ร่าเริง. interj. ดี, ทำได้ดี, เอาเลย | forbidding | (ฟอร์บิด'ดิง) adj. ไม่เป็นมิตร, น่ากลัว, อันตราย, มีภัยคุกคาม., See also: forbiddingly adv. forbiddingness n. | impend | (อิมเพนดฺ') vi. ใกล้, ใกล้ชิด, ใกล้เข้ามา, คุกคาม, แขวนอยู่, Syn. threaten | impendent | (อิมเพน' เดินทฺ) adj. ใกล้เข้ามา, ใกล้ชิด, ใกล้จะบังเกิดขึ้น, ใกล้จะถึง, คุกคาม., See also: impendence, impendency n. | impending | (อิมเพน' ดิง) adj. ใกล้เข้ามา, ใกล้จะบังเกิดขึ้น, คุกคาม., Syn. imminent, above | intimidate | (อินทิม'มิเดท) vt. ทำให้กลัว, ขู่ขวัญ, ขู่, คุกคาม., See also: intimidation n. intimidator n., Syn. frighten, scare, daunt | lower | (โล'เออะ) { lowered, lowering, lowers } vt. ทำให้ต่ำลง, ลดลง, ลดเสียง, ทำให้ต่ำต้อย, ลดเกียรติ, ทำให้ระดับเสียงต่ำลง. vi. ลดลง, น้อยลง, จมลง, (ท้องฟ้า) มืดลง, มืดมน, ขมวดคิ้ว, บูดบึ้ง. n. ท้องฟ้ามืดลง, ลักษณะอาการที่คุกคาม, การขมวดคิ้ว, หน้าตาบูดบึ้, ฟันล่าง, ขากรรไกรล่าง. | menace | (เมน'นิสฺ) n. สิ่งที่คุกคาม, การคุกคาม, อันตราย, ภยันตราย. v. คุกคาม, ขู่, เป็นภัย, เป็นอันตราย., See also: menacer n. menacingly adv. | minatory | (มิน'นะโทรี่, -ทอรี่) adj. คุกคาม, ขู่เข็ญ, ข่มขู่, เป็นลางร้าย | overhang | (โอ'เวอะแฮง) v. ห้อยอยู่เหนือ, แขวนอยู่เหนือ, เงื้อม, ยื่นออก, โผล่ออก, (ภัย) ใกล้เข้ามา, คุกคาม, แผ่คลุม. n. สิ่งที่ชะโงกเงื่อม, ส่วนเกิน | shadow | (แชด'โด) n. เงา, เงาร่ม, ร่ม, ระยะเวลาแห่งความน่าสงสัย, ความทุกข์, ความไม่ไว้วางใจ, ความอำพราง, การปิดบัง, การคุกคาม, ผู้ติดตามเฝ้าดู, คนผิวดำ vt. ทอดเงาลงบน, ทำให้สลัว, อำพราง, บังร่ม, บังแดด, ให้ที่หลบภัย, ป้องกัน, ระบายเงา, แลเงา, บอกเป็นนัย, See also: shadower n | squally | (สควอล'ลี) adj. มีลมพายุที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน (มักมีฝน หิมะหรือลูกเห็บ) , มีมรสุม, คุกคาม, มีความยุ่งยาก, ไม่ราบรื่น | terrorise | (เท'เรอไรซ) vt. ทำให้น่ากลัวมาก, ทำให้สยองขวัญ, คุกคาม, ข่มขวัญ., See also: terrorisation n. terrorization n. | terrorize | (เท'เรอไรซ) vt. ทำให้น่ากลัวมาก, ทำให้สยองขวัญ, คุกคาม, ข่มขวัญ., See also: terrorisation n. terrorization n. | threat | (เธรท) n. การคุกคาม, การขู่เข็ญ, ลางร้าย, ลางเตือนภัย, อาการน่ากลัว. vt., vi., คุกคาม, ขู่เข็ญ, เตือนภัย, เป็นลางร้าย., See also: threatful adj. threatfully adv., Syn. danger, menace | threaten | (เธรท'เทิน) vt., vi. คุกคาม, ขู่เข็ญ, เตือนภัย, เป็นลางร้าย., See also: threatener n. threateningly adv. | united front | n. กลุ่มรวมกันของหน่วยต่าง ๆ เพื่อต่อต้านกองกำลังข้าศึกที่คุกคามอยู่, แนวร่วม | wicked | (วิค'คิด) adj. โหดร้าย, ชั่วช้า, เลวทราม, มีเจตนาร้าย, คุกคาม, น่ารังเกียจ, ไร้เหตุผล, ชั้นหนึ่ง, ยอดเยี่ยม, See also: wickedly adv. |
| bully | (vt) ข่มเหง, แกล้ง, ข่มขี่, คุกคาม | impend | (vi) แขวน, ใกล้จะมาถึง, คุกคาม, ใกล้ชิด | intimidate | (vt) ขู่ขวัญ, ทำให้กลัว, ข่มขู่, คุกคาม | intimidation | (n) การขู่ขวัญ, การทำให้กลัว, การข่มขู่, การคุกคาม | menace | (n) การขู่, ห้วงอันตราย, ภัยอันตราย, การคุกคาม | menace | (vt) ขู่, เป็นอันตราย, คุกคาม | terrorize | (vt) ทำให้ตกใจกลัว, ทำให้สยองขวัญ, คุกคาม, ข่มขวัญ | threat | (n) คำขู่, การคุกคาม, การขู่เข็ญ, ลางร้าย | threaten | (vt) คุกคาม, ขู่, เป็นลางร้าย |
| Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง | cyber security | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | endangered | (adj) เป็นอันตราย, ถูกคุกคาม | non-refoulement | (n) หลักการไม่ส่งผู้ลี้ภัยกลับไปยังดินแดนหรือถิ่นที่ชีวิตและเสรีภาพของพวกเขาจะถูกคุกคาม Non-refoulement is a principle in international law, specifically, refugee law, which protects refugees from being returned to places where their lives and freedoms would be threatened.[ Google ] Art.33(1) of the 1951 UN Convention on the Status of Refugees, and its 1967 protocol. | S.W.O.T | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true | swot | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true |
| 脅威 | [きょうい, kyoui] (n) อันตราย, ภัยคุกคาม (มักเจอในประโยคเกี่ยวกับ Security) | 脅威 | [きょうい, kyoui] (n) อันตราย, ภัยคุกคาม (มักเจอในประโยคเกี่ยวกับ Security) |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |