มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ทางการแพทย์ | (adj) medical, Example: ความมั่นคงทางการเงินของสุวรรณในทุกวันนี้ มาจากความมานะพยายามของเขา, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับการแพทย์ |
|
| การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. | ด้วงน้ำมัน | น. ชื่อแมลงพวกด้วง ในวงศ์ Meloidae ที่สำคัญ ได้แก่ ชนิด Mylabris phalerata (Pallas) ลำตัวยาวประมาณ ๓.๕ เซนติเมตร ปีกมีสีดำและเหลืองสลับกันอย่างละ ๓ แถบ มีน้ำมันซึมออกมาซึ่งมีสารแคนทาริดินปนอยู่ นำไปใช้ในทางการแพทย์ เมื่อถูกตัวจะทำให้เกิดผื่นคัน หากกินจะทำลายระบบการทำงานของไตและกระเพาะอาหาร ทำให้อาเจียน ปัสสาวะเป็นเลือด ดิ้นทุรนทุรายคล้ายคนบ้า หมดสติและเสียชีวิต กินใบและดอกโสน กระเจี๊ยบแดง ปอแก้ว และถั่ว, ด้วงไฟ ด้วงถั่ว เต่าบ้า หรือ แมลงไฟเดือนห้า ก็เรียก. | ตะเภา ๓ | น. ชื่อหนูชนิด Cavia porcellus (Linn.) ในวงศ์ Caviidae ลำตัวอ้วนป้อม ขนปุย หางสั้น มีหลายสี เช่น ขาว นํ้าตาล ดำ มีถิ่นกำเนิดในประเทศเปรู มักใช้ในการทดลองทางการแพทย์. | นิติเวชศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการใช้หลักทางการแพทย์ช่วยแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. | แมลงวันสเปน | น. ชื่อแมลงพวกด้วงชนิด Lytta vesicatoria (Linn.) ในวงศ์ Meloidae ลำตัวแคบ ยาวเรียว ยาว ๑.๕-๒.๐ เซนติเมตร สีเขียวหรือน้ำเงินเหลือบทั้งตัว พบในทวีปยุโรปเฉพาะยุโรปทางตอนใต้ เช่น ประเทศสเปน ไม่พบตามธรรมชาติในประเทศไทย สามารถนำปีกคู่หน้ามาสกัดสารแคนทาริดิน ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์. | สำลี ๒ | น. ชื่อเรียกปุยฝ้ายที่นำมาฟอกให้ขาวปราศจากไขมันและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ เพื่อใช้ในทางการแพทย์เป็นต้น | แอสไพริน | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร CH3COO∙C6H4∙COOH ชื่อทางเคมี คือ acetylsalicylic acid ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๓๓ ํซ. ใช้ในทางการแพทย์เป็นยาลดไข้และระงับปวด. |
| | Medical parasitology | ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Medical biotechnology | เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Medical photography | การถ่ายภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Imaging systems in medicine | ระบบการสร้างภาพทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Biomedical material | วัสดุทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Coincidence counting | การนับรังสีบรรจวบ, การนับรังสีที่เกิดจากเหตุการณ์การแผ่รังสีลักษณะเฉพาะตั้งแต่สองเหตุการณ์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือเกิดในช่วงเวลาที่สัมพันธ์กัน การนับรังสีนี้เป็นวิธีหนึ่งเพื่อตรวจหาหรือจำแนกวัสดุกัมมันตรังสี และใช้เทียบมาตรฐานอัตราการสลายของวัสดุกัมมันตรังสีนั้น ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี การถ่ายภาพทางการแพทย์ การศึกษารังสีคอสมิก และการวัดรังสีระดับต่ำ (ดู counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Diagnostic exposure | การรับรังสีจากการวินิจฉัยโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการวินิจฉัยโรค หรือตรวจหาความบกพร่องของอวัยวะ [นิวเคลียร์] | Medical mycology | กิณวิทยาทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Dose limit | ขีดจำกัดปริมาณรังสี, ค่ากำหนดสูงสุดของปริมาณรังสียังผลหรือปริมาณรังสีสมมูลที่บุคคลอาจได้รับจากการดำเนินกิจกรรมทางรังสี ซึ่งคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี (International Commission on Radiation Protection, ICRP) ได้กำหนดขีดจำกัดปริมาณรังสีไว้ดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงาน -ปริมาณรังสียังผลเฉลี่ยไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ตต่อปีในระยะเวลา 5 ปีติดต่อกัน โดยในปีใดปีหนึ่งต้องได้รับปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 50 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่เลนส์ตา ไม่เกิน 150 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่มือและเท้า หรือที่ผิวหนัง ไม่เกิน 500 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี 2. บุคคลทั่วไป ปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 1 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี โดยไม่รวมปริมาณรังสีจากธรรมชาติและปริมาณรังสีจากการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ ทั้งนี้ในทางปฏิบัติต้องจำกัดให้ได้รับรังสีน้อยที่สุด (ดู sievert ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Medical wastes | ขยะทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Therapeutic exposure | การรับรังสีจากการบำบัดโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] | Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Public exposure | การรับรังสีของบุคคลทั่วไป, การได้รับรังสีของบุคคลทั่วไปจากต้นกำเนิดรังสี หรือจากการดำเนินกิจการทางรังสีซึ่งได้รับอนุญาต หรือกรณีเกิดอุบัติเหตุ ทั้งนี้ไม่รวมถึงการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน จากการรักษาทางการแพทย์ และจากต้นกำเนิดรังสีในธรรมชาติ (ดู occupational exposure และ medical exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Medical microbiology | จุลชีววิทยาทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Medical exposure | การได้รับรังสีจากการแพทย์, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวินิจฉัยโรคหรือการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] | Medical technology | เทคโนโลยีทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Medical innovation | นวัตกรรมทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Internal radiation | รังสีในร่างกาย, รังสีจากต้นกำเนิดรังสีใดๆ ที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งที่ร่างกายได้รับจาก น้ำ อาหาร อากาศ การบำบัดรักษาทางการแพทย์ การปฏิบัติงานทางรังสี และจากอุบัติเหตุทางรังสี [นิวเคลียร์] | Internal exposure | รังสีในร่างกาย, รังสีจากต้นกำเนิดรังสีใดๆ ที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งที่ร่างกายได้รับจาก น้ำ อาหาร อากาศ การบำบัดรักษาทางการแพทย์ การปฏิบัติงานทางรังสี และจากอุบัติเหตุทางรังสี [นิวเคลียร์] | Communication in medicine | การสื่อสารทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Conversation and phrase books (for medical personnel) | บทสนทนาและวลี (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์) [TU Subject Heading] | Death certificates | ใบรับรองการตายทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Electronics, Medical | อิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Health care reform | การปฏิรูปบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Health services ; Medical care | บริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Health services accessibility | การเข้าถึงบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Health services administration | การบริหารบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Human experimentation in medicine | การทดลองต่อมนุษย์ในทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | tritium | ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้น, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของไฮโดรเจนที่มนุษย์ผลิตขึ้นมีเลขมวลเท่ากับ 3 และครึ่งชีวิตเท่ากับ 12.32 ปี ทริเทียมสลายให้อนุภาคบีตาพลังงาน 18 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ใช้เป็นสารกัมมันตรังสีตามรอยในทางการแพทย์และอุตสาหกรรม (ดู hydrogen, H และ deuterium, $^2$H, D ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Managed care plans (Medical care) | ข้อตกลงการดูแลทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical assistance | ความช่วยเหลือทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical assistance, Thai | ความช่วยเหลือทางการแพทย์ของไทย [TU Subject Heading] | Medical care surveys ; Health care surveys | การสำรวจบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical errors | ความผิดพลาดทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical ethics | จรรยาบรรณทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical fees | ค่าบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical informatics | สารสนเทศศาสตร์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical instruments and apparatus | เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical instruments and apparatus industry | อุตสาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical laboratories | ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical museums | พิพิธภัณฑ์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical offices | สำนักงานทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical oncology | วิทยาเนื้องอกทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical parasitology | ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical personnel | บุคลากรทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical photography | การถ่ายภาพทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical publishing | การจัดพิมพ์วรรณกรรมทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical rehabilitation | การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical social work | สังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ [TU Subject Heading] | Medical statistics | สถิติทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
| | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | medical expertise | (n, phrase) ความเชี่ยวชาญทางการแพทย์ |
| breakthrough | (n) การพัฒนาหรือการค้นพบที่ยิ่งใหญ่, See also: โดยเฉพาะทางวิทยาศาสต์ เทคโนโลยี หรือทางการแพทย์, Syn. discovery | dehydrate | (vt) สูญเสียน้ำจากร่างกาย (ทางการแพทย์), Syn. dry | dehydrate | (vi) สูญเสียน้ำจากร่างกาย (ทางการแพทย์), Syn. dry | delirious | (adj) เพ้อเพราะพิษไข้ (ทางการแพทย์) | delirium | (n) อาการเพ้อคลั่ง (ทางการแพทย์), See also: ความเลอะเลือน, ความเลื่อนลอย, ความขาดสติ, ความวิปลาส, Syn. mental derangement, darkened mind | depressor | (n) เครื่องมือผ่าตัดชนิดหนึ่ง, See also: เครื่องมือทางการแพทย์ | electrolysis | (n) การกำจัดขน ผม ไฝ หูดหรือเนื้องอกด้วยกระแสไฟฟ้า (ทางการแพทย์) | EMS | (abbr) บริการทางการแพทย์แบบฉุกเฉิน (คำย่อของ Emergency Medical Service) | eruct | (vt) เรอ (ทางการแพทย์), Syn. belch, burp | eruct | (vi) เรอ (ทางการแพทย์), Syn. belch, burp | gastritis | (n) กระเพาะอาหารอักเสบ (ทางการแพทย์) | graft | (vt) ย้ายมาเพาะ (เนื้อ, หนัง) ทางการแพทย์, See also: ผ่าตัดนำผิวหนัง / เนื้อเยื่อส่วนที่ดีมาแปะแทนส่วนที่บกพร่อง, Syn. engraft | hepatic | (adj) เกี่ยวกับตับ (ทางการแพทย์), See also: มีผลต่อตับ | hiccough | (n) อาการสะอึก (ทางการแพทย์), Syn. hiccup | hiccup | (n) อาการสะอึก (ทางการแพทย์), Syn. hiccough | impacted | (adj) ซึ่งมีอุจจาระอัดแน่นหรืออุดตัน (ทางการแพทย์) | implant | (vt) สอดใส่ (ทางการแพทย์), See also: ใส่, สอด, ฝัง, Syn. inject, Ant. extract | inlay | (n) สารอุดฟัน (ทางการแพทย์) | inoperable | (adj) ซึ่งผ่าตัดไม่ได้ (ทางการแพทย์), Syn. incurable, terminal | intercurrent | (adj) ซึ่งแทรกซ้อน (ทางการแพทย์) | lotion | (n) ยาน้ำใช้ทาภายนอก (ทางการแพทย์) | magnesium sulfate | (n) สารแม็กนีเซียมซัสเฟต มีสัญลักษณ์ทางเคมีคือ MgSo4, See also: ดีเกลือ ซึ่งใช้ในทางการแพทย์และอุตสาหกรรม, Syn. sulfate | manikin | (n) หุ่นคนสำหรับการเรียนการสอนทางการแพทย์, Syn. model | masked | (adj) ซึ่งซ่อนเร้น (ทางการแพทย์), See also: ซึ่งไม่ค้นพบ, Syn. occult, mysterious | med | (adj) ทางการแพทย์ (คำไม่เป็นทางการ) | medical | (adj) ทางการแพทย์, See also: ด้านการแพทย์, เกี่ยวกับการแพทย์, เกี่ยวกับการรักษา, Syn. healing, curative | medically | (adv) ทางการแพทย์ | murmur | (n) เสียงเต้นผิดปกติของหัวใจซึ่งบ่งบอกถึงความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (ทางการแพทย์), See also: เสียงเมอร์เม่อร์ | nebula | (n) ฝ้าขาวบริเวณกระจกตา (ทางการแพทย์) | nebula | (n) ความขุ่นขาวของน้ำปัสสาวะ (ทางการแพทย์) | oedema | (adj) อาการบวมน้ำ (ทางการแพทย์), Syn. edema | orderly | (n) เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล (ที่ไม่มีความรู้ทางการแพทย์ เช่น คนขนส่งผู้ป่วย), Syn. medical orderly | paralyze | (vt) ทำให้เป็นอัมพาต (ทางการแพทย์), Syn. deaden, desensitize, anesthetize | paramedic | (n) เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์, Syn. ambulanceman, medical attendant | pathology | (n) พยาธิวิทยา (ทางการแพทย์), Syn. parasitology | physical | (n) การตรวจร่างกาย (ทางการแพทย์) | radioisotope | (n) ไอโซโทปที่มีกัมมันตภาพรังสีของธาตุใช้ทางการแพทย์หรือชีววิทยา | preemie | (sl) เด็กคลอดก่อนกำหนด (ทางการแพทย์) | sanguineous | (adj) เกี่ยวกับเลือด (ทางการแพทย์), See also: ประกอบด้วยเลือด | screening | (n) การตรวจโรค (ทางการแพทย์), See also: การทดสอบทางการแพทย์ | section | (n) การผ่าตัด (ทางการแพทย์), See also: การตัด, Syn. operation | seizure | (n) การเป็นลมชักอย่างปัจจุบันทันด่วน (ทางการแพทย์), Syn. convulsion, spasm | sharp | (n) เครื่องมือที่แหลมคม (ทางการแพทย์) | vegetative | (adj) ซึ่งไม่สามารถพูด คิดหรือเคลื่อนไหวได้ (ทางการแพทย์), See also: ซึ่งเป็นอัมพาต | workup | (n) การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์อย่างครบถ้วน | x ray | (n) ภาพถ่ายด้วยรังสีเอ็กซ์ (ทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์), See also: ภาพเอ็กซ์เรย์ | x-ray | (n) ภาพถ่ายด้วยรังสีเอ็กซ์ (ทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์), See also: ภาพเอ็กซ์เรย์ |
| medical | (adj) ทางอายุรศาสตร์, ทางการแพทย์, ทางเวชกรรม |
| Hepatorenal Syndrome | กลุ่มอาการโรคไตเนื่องจากโรคตับ เป็นภาวะทางการแพทย์อย่างหนึ่งซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ทำให้ผู้ป่วยโรคตับแข็งหรือตับวายเต็มขั้นมีการทำงานของไตเสื่อมลงอย่างเฉียบพลัน โรคนี้มักเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหากไม่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนตับ การรักษาอื่นๆ เช่นการฟอกเลือด อาจช่วยชะลอการดำเนินโรคได้ | Magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP) | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางการแพทย์ที่ใช้การถ่ายภาพสะท้อนแบบแม่เหล็กเพื่อแสดงให้เห็นถึงน้ำดีและท่อตับอ่อนในลักษณะที่ไม่รุกราน ขั้นตอนนี้สามารถใช้ในการตรวจสอบว่านิ่วในท่อที่อยู่รอบถุงน้ำดีหรือไม่ | medical staff | (n, phrase) เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ | moulage | (n) แม่พิมพ์ที่ใช้ในการสืบสวนคดี เช่นรอยเท้า หรือใช้ในทางการแพทย์เพื่อใช้ในการฝึกปฏิบัติการ, See also: cast, Syn. mold | MRI | (n, abbrev) (Magnetic Resonance Imaging) ระบบสร้างภาพจากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นการสร้างภาพตัดขวางทางการแพทย์ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |