มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ สภานิติบัญญัติ | (n) legislative assembly, See also: legislature, Example: เกษตรกรไม่เชื่อว่าร่างที่ผ่านสภานิติบัญญัติจะให้ประโยชน์สูงสุดแก่พวกเขา, Thai Definition: สภาซึ่งมีหน้าที่และบัญญัติเรื่องกฎหมายและพระราชบัญญัติ | อำนาจนิติบัญญัติ | (n) legislative power, Example: หลักการแยกหน้าที่กันระหว่างส.ส. ผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติออกจากรัฐมนตรีผู้ใช้อำนาจบริหารนั้น เป็นหลักการที่มีเหตุผลทางวิชาการ, Notes: (กฎหมาย) |
|
| นิติบัญญัติ | น. กระบวนการในการตรากฎหมาย. | กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. | กระทู้ถาม | น. คำถามในข้อเท็จจริงหรือนโยบายที่สมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติตั้งถามฝ่ายบริหารให้ตอบในที่ประชุมแห่งสภานั้น ๆ หรือตอบเป็นหนังสือ. | การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. | เขตเลือกตั้ง | น. ท้องที่ที่กำหนดเป็นเขตสำหรับจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติหรือผู้บริหารท้องถิ่น. | คาน | ก. รองรับหรือเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งรองรับของหนักขึ้นไว้, ถ่วงนํ้าหนักกัน เช่น อำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติกับอำนาจของฝ่ายบริหารคานกัน, โดยปริยายหมายความว่า ค้านกัน ยังตกลงกันไม่ได้. | เจ้าหน้าที่ของรัฐ | น. ผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติงานให้แก่รัฐหรือในหน่วยงานของรัฐ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานองค์การมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กฎหมายบางฉบับก็ขยายไปถึงสมาชิกสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย. | ญัตติ | ข้อเสนอเพื่อให้มีการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในกิจการของสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ | ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป | น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ. | ประชามติ | มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติแล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum) | ผู้แทนราษฎร | น. บุคคลที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้ทำหน้าที่นิติบัญญัติในสภา, (ปาก) ผู้แทน. | พระราชบัญญัติ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติ. | พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. | รัฐสภา | (รัดถะสะพา, รัดสะพา) น. องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร. | วุฒิสภา | น. สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือแต่งตั้งและเลือกตั้งผสมกัน มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | สภาผู้แทนราษฎร | น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. |
| Parliament, legislative supremacy of | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary committee | คณะกรรมาธิการของสภา (นิติบัญญัติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | power, investigative | อำนาจสืบสวน (ของสภานิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | power, legislative | อำนาจนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | privilege, breach of | การละเมิดเอกสิทธิ์ (ของฝ่ายนิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative power | อำนาจนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative power | อำนาจนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative supremacy | อำนาจสูงสุดของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative veto | การยับยั้งของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Legislative, the | ฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislator | ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislature | สภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislature | สภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legistative supremacy of Parliament | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative council | คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative counsel | ที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative court | ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative court | ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative day | ๑. วันในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติ๒. วันประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative function | อำนาจหน้าที่ทางนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative immunity | ความคุ้มกันฝ่ายนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative investigation | การสืบสวนทางนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative jurisdiction | เขตอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative act | บทบัญญัติที่ออกโดยผ่านสภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative blackmail | การกรรโชกทางนิติบัญญัติ (ว่าจะออกกฎหมายบังคับ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative budget | งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติเสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legislative council | คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | recess | ๑. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ)๒. การเลื่อนการนั่งพิจารณาคดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | recess | ๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | supremacy, legislative | อำนาจสูงสุดของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | standing committee | คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา (นิติบัญญัติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | assembly government | การปกครองโดยสภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Assembly, National Legislative | สภานิติบัญญัติแห่งชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | quasi-legislative | กึ่งนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | quasi-legislative | กึ่งนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | budget, legislative | งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติเสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | breach of privilege | การละเมิดเอกสิทธิ์ (ของฝ่ายนิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | blackmail, legislative | การกรรโชกทางนิติบัญญัติ (ว่าจะออกกฎหมายบังคับ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | council, legislative | คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | council, legislative | คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Committee of Ways and Means | คณะกรรมาธิการพิจารณาวิธีการจัดหารายได้ (ของสภานิติบัญญัติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | counsel, legislative | ที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional limitations | ข้อจำกัดอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติโดยรัฐธรรมนูญ (ในการออกกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | court, legislative | ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | court, legislative | ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | day, legislative | ๑. วันในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติ๒. วันประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | diet | สภานิติบัญญัติ (บางประเทศ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | government, assembly | การปกครองโดยสภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | impoundment | การไม่ใช้งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติกำหนดให้ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | impeachment | การฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่ง (โดยสภานิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Legislative bodies | องค์กรนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] | Legislative power | อำนาจนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] | Parliamentary practice | กฎและระเบียบปฏิบัติทางการนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] | Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
| อำนาจนิติบัญญัติ | [amnāt nitibanyat] (n, exp) EN: legislative power FR: pouvoir législatif [ m ] | นิติบัญญัติ | [nitibanyat] (n) EN: legislation ; statute FR: législation [ f ] | นิติบัญญัติ | [nitibanyat] (adj) EN: legislative FR: législatif | สภานิติบัญญัติ | [saphānitibanyat] (n, exp) EN: legislative assembly ; legislature | สภานิติบัญญัติ | [saphā nitibanyat] (n, exp) EN: legislative assembly FR: assemblée législative [ f ] |
| legislative | (adj) เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ | legislator | (n) สมาชิกของสภานิติบัญญัติ | lobby | (n) กลุ่มผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ |
| assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า | capitol | (แคพ'พิทอล) n. อาคารรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา, อาคารนิติบัญญัติของรัฐ, ศาลากลาง | congress | (คอง'เกรส) { congressed, congressing, congresses } n. รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, การชุมนุม, การสังวาส. vi. รวมกลุ่ม, ชุมนุม, See also: congressional adj. ดูcongress congressionalist n. ดูcongress, Syn. council, assembly, concourse | council | (เคา'เซิล) n. สภา, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ, กลุ่มคณะที่ปรึกษา, การประชุม, องค์กรร่วม, คณะมนตรี -Conf. counsel | cutcherry | n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ | cutchery | n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ | diet | (ได'เอท) n. อาหาร, อาหารพิเศษ, สภานิติบัญญัติ vt. ควบคุมอาหาร, See also: dieter n. dietary adj. | gemot | (กะโมท') n. สภานิติบัญญัติ | gemote | (กะโมท') n. สภานิติบัญญัติ | general assembly | n. สมัชชาใหญ่ของสหประชาชาติ, สภานิติบัญญัติ | lawmaker | (ลอ'เมเคอะ) n. ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ., See also: lawmaking n., adj. การ บัญญัติกฎหมาย, Syn. legislator | legislation | (เลจจิสเล'เชิน) n. การบัญญัติกฎหมาย, นิติบัญญัติ, กฎหมาย | legislative | (เลจ'จิสเลทิฟว) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ. n. สภานิติบัญญัติ., Syn. constitutional | legislator | (เลจ'จิสเลเทอะ) n. ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ, See also: legislatorship n. ดูlegislator | legislatorial | (เลจจิสละทอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับสมาชิกหรือสภานิติบัญญัติ, นิตินัย | legislature | (เลจ'จิสเลเชอะ) n. สภานิติบัญญัติ, หน่วยนิติกรของรัฐบาล, Syn. congress | lobby | (ลอบ'บี) { lobbied, lobbying, lobbies } n. ห้องพักแขก, ระเบียง, ห้องพักผ่อนของสภา, ห้องรับรอง, กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ. vt., vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง, See also: lobbyer n. ดูlobb | order | (ออร์'เดอะ) n. คำสั่ง, ใบสั่ง, ตั๋วแลกเงิน, ธนาณัติ, หนังสือมอบอำนาจ, ระดับ, ลำดับ, ขั้น, นิกาย, คณะสงฆ์, อนุกรม, ชนิด, แบบแผน, ระเบียบ, สมณศักดิ์, เครื่องอิสริยาภรณ์, การลงมติในที่ประชุมนิติบัญญัติ. -Phr. (in order เหมาะสม, เป็นระเบียบ) -Phr. (in order that เพื่อว่า) vt.ออกคำสั่ง, สั่งซื้อ, ทำให้เป็นระเบียบ, บรรพชา, แต่งตั้งให้เป็นพระ | speaker | (สพี'เคอะ) n. ผู้พูด, ผู้บรรยาย, ประธานสภานิติบัญญัติ, เครื่องขยายเสียง, หนังสือฝึกพูด., See also: speakership n., Syn. lecturer, orator | supreme council | n. สภานิติบัญญัติของโซเวียตสมัยก่อน | supreme soviet | n. สภานิติบัญญัติของโซเวียตสมัยก่อน |
| congress | (n) ที่ประชุม, รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, สภาคองเกรส | congressional | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับรัฐสภา, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ | council | (n) สภา, คณะมนตรี, สภาองคมนตรี, คณะกรรมการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ | diet | (n) อาหาร, อาหารพิเศษ, โภชนาการ, สภานิติบัญญัติ | legislation | (n) นิติบัญญัติ, การออกกฎหมาย, การบัญญัติกฎหมาย | legislative | (adj) ในทางนิติบัญญัติ, เกี่ยวกับกฎหมาย | legislator | (n) สมาชิกสภานิติบัญญัติ, ผู้ออกกฎหมาย, ผู้แทนราษฎร, ผู้บัญญัติกฎหมาย | legislature | (n) สภานิติบัญญัติ, รัฐสภา | parliament | (n) รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ |
| National Diet | (org) สภานิติบัญญัติแห่งชาติของประเทศญี่ปุ่น | nla | (abbrev, name, org) สนช. ย่อมาจากคำว่า สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เกิดขึ้นจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร(19 กันยายน 2548)โดยภาษาอังกฤษคำเต็มคือ National Legislative Assembly |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |