Library employee | บุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Standard dosimetry laboratory | ห้องปฏิบัติการมาตรฐานการวัดรังสี, ห้องปฏิบัติการด้านการวัดรังสี ซึ่งมีต้นกำเนิดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ และบุคลากร ในการวัดรังสี ที่สามารถอ้างอิงได้กับมาตรฐานสากล, Example: [นิวเคลียร์] |
Human Resources Development | การพัฒนาบุคลากร [การจัดการความรู้] |
clinical professor | ศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Airmen | บุคลากรทางการบิน [TU Subject Heading] |
Community health aides | บุคลากรอนามัยชุมชน [TU Subject Heading] |
Conversation and phrase books (for tourism industry employees) | บทสนทนาและวลี (สำหรับบุคลากรในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว) [TU Subject Heading] |
Conversation and phrase books (for medical personnel) | บทสนทนาและวลี (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์) [TU Subject Heading] |
Correctional personnel | บุคลากรทัณฑสถาน [TU Subject Heading] |
Criminal justice personnel | บุคลากรทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา [TU Subject Heading] |
Dental personnel | บุคลากรทางทันตกรรม [TU Subject Heading] |
Electronic data processing personnel | บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] |
Employee retention | การรักษาบุคลากรไว้กับองค์การ [TU Subject Heading] |
Employee training personnel | บุคลากรทางการฝึกอบรมลูกจ้าง [TU Subject Heading] |
Instructional materials personnel | บุคลากรทางสื่อการศึกษา [TU Subject Heading] |
Library employees | บุคลากรห้องสมุด [TU Subject Heading] |
Medical personnel | บุคลากรทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Mental health personnel | บุคลากรทางจิตเวช [TU Subject Heading] |
Pollution control personnel | บุคลากรทางการควบคุมมลพิษ [TU Subject Heading] |
Professional employees | บุคลากรระดับวิชาชีพ [TU Subject Heading] |
Public health personnel | บุคลากรสาธารณสุข [TU Subject Heading] |
Public relations personnel | บุคลากรทางการประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
Rural development personnel | บุคลากรทางการพัฒนาชนบท [TU Subject Heading] |
Sports personnel | บุคลากรทางการกีฬา [TU Subject Heading] |
JAPAN-ASEAN General Exchange Fund | กองทุนการแลกเปลี่ยนญี่ปุ่น-อาเซียน เป็นกองทุนสำหรับการพัฒนาบุคลากรของประเทศสมาชิกใหม่และ การพัฒนาสำนักเลขาธิการอาเซียน โดยญี่ปุ่นบริจาคเงินจำนวน 2, 542, 000 เหรียญสหรัฐ ในปีงบประมาณ 2543 ได้จัดตั้งกองทุน JAGEF ขึ้นมาใหม่ แทนกองทุนความร่วมมือเดิม (JACPP) [การทูต] |
Regional Operate Center | ศูนย์ปฏิบัติการร่วม กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ROC เป็นโครงการนำร่อง ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศกระทรวงมหาดไทย สำนักงาน ก.พ.ร. และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2549 เพื่อพัฒนาการทำงานร่วมกันระหว่างเอกอัครราชทูตในประเทศเพื่อนบ้านกับผู้ว่า ราชการจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยทำหน้าที่ประสานเชื่อมโยงการทำงานระหว่างเอกอัครราชทูตกับผู้ว่าราชการ จังหวัด เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้สอดคล้องกับนโยบายต่างประเทศ รวมทั้งให้บริการข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรและงานวิจัยในท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนนโยบายต่างประเทศ [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
Secondment | การยืมตัวบุคลากรมาช่วยงาน [การจัดการความรู้] |
Administrative Personnel | บุคลากรบริหาร [การแพทย์] |
Community Health Aides | อนามัยชุมชน, บุคลากร;อนามัยชุมชน, การสงเคราะห์ [การแพทย์] |
Education of Personal | การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร [การแพทย์] |
บริหารงานสุขภาพจิต | บริหารงานสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานในแง่การบริหารงานสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุข และเครือข่ายที่กระทำต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ โดยอาจสอดแทรกในการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การบำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต เพื่อให้บรรลุวัถุประ [สุขภาพจิต] |
มิติงานสุขภาพจิต | มิติงานสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุขที่กระทำต่อกลุ่มเป้าหมาย ที่มีความเสี่ยงของปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ประกอบด้วย การส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การบำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต ซึ่งอาจแตกต่างจากม [สุขภาพจิต] |
ICT professional | บุคลากรที่มีหน้าที่หลักเกี่ยวกับงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, Example: การจำแนกประเภทอาชีพในระดับนานาชาติมักจะใช้มาตรฐานอาชีพสากลขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Standard of Industrial Classification of Occupations: ISCO) เป็นหลัก อย่างไรก็ดี แต่ละประเทศ อาจมีการ กำหนดนิยามประเภทและการจัดเก็บข้อมูลบุคลากรในรายละเอียดที่แตกต่างกันไป เพื่อให้สะท้อนประเภทของอาชีพ ทักษะ/องค์ ความรู้ที่มีความต้องการในระดับต่างๆ <p>ดังนั้น ความหมายกว้างๆ ของ ICT professional ในกรอบนโยบาย ICT2020 หมายรวมถึงบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง บุคลากรที่มีหน้าที่หลัก (Job description) เกี่ยวกับงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งประกอบด้วย บุคลากรหลายกลุ่ม เช่น บุคลากรด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เน็ตเวิร์ค ความมั่นคงปลอดภัย (security) เป็นต้น [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ] |
Manpower | บุคลากร, กำลังคน [การแพทย์] |
Medical Personnels | บุคลากรทางการแพทย์ [การแพทย์] |
Military Personnel | บุคลากรทหาร, ทหาร [การแพทย์] |