ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ระกา, -ระกา- |
新正如意 新年发财 | [xīn zhèng rú yì xīn nián fā cái, ㄒㄧㄣ ㄓㄥˋ ㄖㄨˊ ㄧˋ ㄒㄧㄣ ㄋㄧㄢˊ ㄈㄚ ㄘㄞˊ, 新 正 如 意 新 年 发 财] (phrase) คำอวยพรสวัสดีปีใหม่ของชาวจีนในวันตรุษจีน ความหมายคือ ขอให้ปีใหม่นี้สมหวังทุกประการ และร่ำรวยมั่งคั่ง คนไทยมักอ่านว่า ซินเจียยู่อี่ซินนี้ฮวดใช้ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากสำเนียงแต้จิ๋ว |
|
| trade terms | [เทรด เทอมส] (n) "ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า | สลินดา | [สะ-ลิน-ดา] น้ำบริสุทธิ์, หญิงผู้เป็นดั่งน้ำบริสุทธิ์, ความงดงามบริสุทธิ์ที่เปร่งประกาย, หญิงผู้ดีมีสกุลที่งดงามมีเสน่ห์ |
| | 发布 | [fā bù, ㄈㄚ ㄅㄨˋ, 发 布] ประกาศ(คำสั่ง); แถลง(ข่าว) | 宣布 | [xuān bù, ㄒㄩㄢ ㄅㄨˋ, 宣 布] ประกาศ; แถลงให้ทราบ |
| ระกา | (n) year of the chicken, See also: the 10th year of the Thai animal cycle represented by a cock, year of the cock, Thai Definition: ชื่อปีที่ 10 ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย | ตระการ | (adv) strangely, See also: queerly, Syn. ประหลาด, แปลก, น่าอัศจรรย์, Example: นกบางชนิดมีวิธีการทำรังอย่างตระการพิสดารเหลือเชื่อ, Thai Definition: อย่างที่มีความแตกต่างไปจากที่เคยรู้เคยเห็น | ตระการ | (adv) beautifully, See also: gracefully, Syn. งาม, วิจิตร, งดงาม, Example: ช่างแกะสลักบานประตูได้ตระการงดงามมาก, Thai Definition: อย่างงดงาม, อย่างชวนให้ยินดีหรือพอใจ | ประกาย | (n) spark, See also: flash, sparkle, shine, Syn. ความสุกใส, ความสว่างไสว, ความแวววาว, Example: นัยน์ตาเขาเป็นประกายวับ, Thai Definition: แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากวัตถุที่ลุกเป็นไฟ แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากของแข็งบางอย่างที่กระทบกันอย่างแรง โดยปริยายหมายถึงแสงที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น | ประการ | (clas) numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects, Syn. ชนิด, อย่าง, Example: ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ | ประการ | (clas) numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects, Syn. ชนิด, อย่าง, Example: ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ | ประกาศ | (n) notice, See also: notification, announcement, declaration, proclamation, Syn. ข้อมูล, ข่าวสาร, ข่าว, Example: รัฐบาลปิดประกาศให้ประชาชนไปเสียภาษี, Thai Definition: ข้อความที่แจ้งให้ทราบทั่วกัน | ประกาศ | (v) announce, See also: proclaim, declare, promulgate, publish, state, Syn. แจ้ง, ป่าวร้อง, แจ้งให้ทราบ, ประชาสัมพันธ์, เผยแพร่, บอกกล่าว, พูด, แถลง, Example: รัฐบาลประกาศว่าจะเปิดสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนาม | ปีระกา | (n) year of the cock, Syn. ปีไก่, Example: ไก่เป็นสัญลักษณ์ของปีระกา, Thai Definition: ชื่อปีที่ 10 ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย | ใบระกา | (n) toothlike ridges on the sloping edges of a gable, representing the fin on the back of Naga, Example: ทุกสิ่งทุกอย่างในวัดเงียบสนิทจนได้ยินแต่เสียงใบไม้ไหวลม กับเสียงกรุ๋งกริ๋งของใบระกา, Count Unit: ใบ, Thai Definition: ไม้สลักหรือปูนปั้นรูปเป็นครีบๆ หรือลวดลายต่างๆ ติดกับตัวลำยองระหว่างช่อฟ้ากับหางหงส์ ประกอบ 2 ข้างหน้าบันโบสถ์ วิหาร และปราสาท | คำประกาศ | (n) announcement, See also: declaration, proclamation, manifesto, Example: ข้าพเจ้าอ่านคำประกาศกล่าวสดุดีหน่วยต่างๆ ที่ทำการรบในศึกคราวนี้, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: เนื้อความที่บอกให้รู้ทั่วกัน | ตระการตา | (adv) dazzlingly, See also: showily, gorgeously, Syn. งดงาม, หรูหรา, เลิศ, หรู, Example: หนุ่มสาวชาวเหนือแต่งตัวตามวัฒนธรรมดั้งเดิมมาเข้าขบวนลากปราสาทกันอย่างวิจิตรตระการตาจริงๆ, Thai Definition: อย่างสวยงามหรูหรา | ตระการตา | (v) charm, See also: enchant, fascinate, Syn. ตื่นตา, มีเสน่ห์, ชวนชม, Example: เรือนหลังนี้ตระการตา ดึงดูดผู้ที่พบเห็นเป็นยิ่งนัก, Thai Definition: มีลักษณะงดงามชวนให้ตื่นตาตื่นใจเมื่อได้พบเห็น | ประกายไฟ | (n) spark, See also: sparkle, flash, Syn. ประกาย, แสง, สะเก็ดไฟ, แสงแวบ, แสงแปลบปลาบ, Example: ประกายไฟที่หัวเทียนอ่อนมาก | ประการใด | (n) what, See also: whatever, whatsoever, how, however, Syn. ทำนอง, แบบ, อย่างไร, Example: ปัญหานี้จะแก้ไขประการใด | ประกาศิต | (n) command, See also: order, commandment, Syn. คำสั่งเด็ดขาด, คำพูดที่ศักดิ์สิทธิ์, Example: เขาขัดขืนประกาศิตพระผู้เป็นเจ้า | ใบประกาศ | (n) poster, See also: handbill, notice, circular, Example: ใบประกาศรับสมัครงานติดอยู่หน้าบริษัท | ใบประกาศ | (n) poster, See also: handbill, notice, circular, Example: ใบประกาศรับสมัครงานติดอยู่หน้าบริษัท | ใบประกาศ | (n) poster, See also: handbill, notice, circular, Example: ใบประกาศรับสมัครงานติดอยู่หน้าบริษัท | จุดประกาย | (v) spark, See also: inspire, provoke, stimulate, trigger (off), precipitate, Example: ครูเป็นคนจุดประกายให้เขาทำตามฝันที่เขาตั้งใจไว้, Thai Definition: ทำให้เกิดความหวังหรือความคิดที่เริ่มจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง | ติดประกาศ | (v) post a notice, Example: ทางมหาวิทยาลัยจะติดประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการทดสอบในวันพรุ่งนี้, Thai Definition: ติดป้ายบอกเรื่องราวให้ทราบทั่วกัน | ที่ประกาศ | (n) board, See also: notice board, billboard, signboard, display panel, poster board, display panel, poster boa, Syn. ป้ายประกาศ | บางประการ | (n) some aspects, See also: some measures, Ant. ทุกประการ, Example: องค์กรแรงงานได้รับสิทธิสามารถดำเนินมาตรการบางประการเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกรรมกรได้ | ประกาศตัว | (v) declare oneself, See also: announce, proclaim, Example: กลุ่มผู้ประท้วงได้พยายามเคลื่อนไหวที่จะประกาศตัวจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นเพื่อต่อต้านรัฐบาล | ประกาศรับ | (v) announce one is accepting application, See also: announce accepting application, Syn. รับสมัคร, ประกาศรับสมัคร, Example: หากบริษัทเรามีตำแหน่งว่าง เราจะประกาศรับทันที, Thai Definition: แจ้งให้ทราบถึงการรับสมัคร | ประกาศใช้ | (v) promulgate, See also: declare, proclaim, Example: รัฐบาลประกาศใช้กฎหมายในราชกิจจานุเบกษา | ปิดประกาศ | (v) post a notice, See also: put up an announcement, placard, Example: ผู้ใช้บริการทุกคนสามารถส่งบทความมาปิดประกาศบนบอร์ดไฟฟ้านี้ได้, Thai Definition: นำแผ่นป้ายประกาศมาติดไว้เพื่อแจ้งให้ผู้คนทราบ | ผู้ประกาศ | (n) announcer, See also: broadcaster, reporter, newsreader, Syn. ผู้ดำเนินรายการ, Example: ฤดีมาสสอบเป็นผู้ประกาศเมื่อหลายปีก่อน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้อ่านข่าวทางโทรทัศน์หรือวิทยุ | ส่งประกาย | (v) twinkle, See also: glitter, sparkle, shimmer, shine, glisten, gleam, glint, flicker, Syn. เปล่งประกาย, ฉายประกาย, Example: ดวงดาวส่งประกายระยิบระยับ | ส่งประกาย | (v) shine, See also: foreshadow, indicate a future probability, promise, augur, be token, Syn. เปล่งประกาย, ทอประกาย, ฉายแวว, Example: ความสามารถทางด้านดนตรีของเขาส่งประกายตั้งแต่เขายังเด็ก | ส่งประกาย | (v) shine, See also: foreshow, indicate a future probability, promise, augur, Syn. เปล่งประกาย, ทอประกาย, ฉายแวว, Example: ความสามารถทางด้านดนตรีของเขาส่งประกายตั้งแต่เขายังเด็ก | อัญประกาศ | (n) quotation marks, See also: double quotation marks, Syn. เครื่องหมายคำพูด, Thai Definition: เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความ เพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็นคำพูด หรือเพื่อเน้นความนั้นให้เด่นชัดขึ้นเป็นต้น | อัญประกาศ | (n) quotation mark, Syn. เครื่องหมายคำพูด, Example: ประโยคนี้ต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศ, Count Unit: ตัว, คู่, Thai Definition: เครื่องหมายวรรคตอน สำหรับขีดคร่อมคำหรือข้อความเพื่อแสดงว่าเป็นคำพูด | นานาประการ | (adj) various, See also: diversified, varied, different, numerous, many, Syn. นานัปการ, มากมาย, หลากหลาย, Ant. เล็กน้อย, นิดหน่อย, น้อย, Example: การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วย่อมก่อให้เกิดปัญหานานาประการตามมา, Thai Definition: ที่มีมากมายหลายอย่าง | ประกายพรึก | (n) morning star, See also: Venus, Syn. ดาวรุ่ง, ดาวพระะศุกร์, ดาวประจำเมือง, Example: ตอนใกล้รุ่งจะมองเห็นดาวประกายพรึกส่องแสงบนท้องฟ้า, Count Unit: ดวง, Thai Definition: ดาวรุ่ง คือ ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด, ถ้าเห็นในเวลาหัวค่ำ เรียกว่า ดาวประจำเมือง | ป่าวประกาศ | (v) announce, See also: publicize, broadcast, proclaim, Syn. ประกาศ, ป่าว, Example: เรามีข้อมูลที่ค่อนข้างจะแจ้งว่าชัยชนะครั้งแรกที่พันธมิตรป่าวประกาศไปทั่วโลกนั้นห่างไกลจากความถูกต้อง, Thai Definition: บอกให้รู้ทั่วกัน | ป้ายประกาศ | (n) sign board, See also: notice board, Example: ผมจะเป็นคนแรกที่เขียนป้ายประกาศให้นักศึกษารู้ว่าอาจารย์คนไหนไม่ควรเข้าเรียน, Count Unit: ป้าย, แผ่น, Thai Definition: แผ่นหนังสือมีแจ้งความไว้ให้คนดู | หมายประกาศ | (n) notice, See also: announcement, notification, Syn. ประกาศ, Example: พระองค์โปรดให้มีหมายประกาศ ห้ามมิให้ฆ่าสัตว์ในเวลาเฉลิมพระชนมพรรษา, Count Unit: ฉบับ | เป็นประกาย | (v) sparkle, See also: flash, twinkle, shimmer, glisten, Syn. แวววาว, สุกใส, สว่าง, มันเงา, Ant. มัว, หม่น, หมอง, Example: ดวงตาของดาวพระศุกร์เป็นประกายด้วยความยินดี | ประกายไฟฟ้า | (n) spark, Example: ประกายไฟฟ้าของฟ้าแลบสามารถทำให้อากาศในบริเวณนั้นร้อนขึ้นมาก | ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย | ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย | ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย | เปล่งประกาย | (v) radiate, See also: shine, glisten, glister, flash, gleam, sparkle, twinkle, Syn. ฉายแสง, ขับแสง, แผ่รัศมี, เปล่งรัศมี, ส่งประกาย, ส่องแสง, Ant. หมอง, Example: ขนรอบคอของนกน้อยเปล่งประกายวาม, Thai Definition: สะท้อนแสงจากสิ่งที่เป็นมันเป็นเงา | เสียงประกาศ | (n) announcement, Example: งานวัดเลิกลาไปพร้อมกับเสียงประกาศชื่อผู้ใจบุญรายสุดท้ายทางไมโครโฟน, Thai Definition: เสียงป่าวร้องเพื่อแจ้งให้ทราบ | แต่ประการใด | (adv) at all, See also: in any way, whatsoever, Syn. แต่อย่างใด, Example: เธอไม่โต้ตอบแต่ประการใด | ใบปิดประกาศ | (n) poster, Syn. โปสเตอร์, Example: ทั้ง 2 พรรคการเมืองหาเสียงร่วมกันโดยมีการทำใบปิดประกาศโฆษณาร่วมกัน, Count Unit: แผ่น, ใบ | ประกาศสงคราม | (v) declare war, Syn. ทำสงคราม, Example: อังกฤษประกาศสงครามกับเยอรมนี | ประกาศนียบัตร | (n) certificate, See also: diploma, testimonial, Syn. ใบสุทธิ, วุฒิบัตร, ใบรับรอง, Example: เขาเรียนจบระดับปวส. โดยมีประกาศนียบัตรรับรองความรู้, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปกติต่ำกว่าระดับอุดมศึกษา | ประกาศอิสรภาพ | (v) declare independence, Syn. ปลดปล่อย, Example: วันนี้เป็นวันที่ประเทศอเมริกาประกาศอิสรภาพจากประเทศอังกฤษ |
| กิตติกรรมประกาศ | น. ข้อความที่กล่าวถึงผลงานและแสดงความขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ มักเขียนไว้ตอนต้นของวิทยานิพนธ์. | จำห้าประการ | ว. มีเครื่องจองจำครบ ๕ อย่าง คือ ๑. ตรวนใส่เท้า ๒. เท้าติดขื่อไม้ ๓. โซ่ล่ามคอ ๔. คาไม้ใส่คอทับโซ่ ๕. มือ ๒ ข้างสอดเข้าไปในคาและไปติดกับขื่อทำด้วยไม้, เรียกสั้น ๆ ว่า จำครบ. | ดาวประกายพรึก | น. ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด, ดาวรุ่ง ก็เรียก. | ตระการ | (ตฺระ-) ว. งาม เช่น ป่าดงพงหลวงตระการ เซราะเซราเขาธาร ชรลัดชรล่องดองไพร (อนิรุทธ์), น้ำพุพุ่งซ่า ไหลฉ่าฉาดฉาน เห็นตระการ (สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย เพลงเถา) | ตระการ | ประหลาด, แปลก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพู ตรูรัตนพิสาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร), เสียงแตรสังขแลพาทยเภริยนุดนตรี อึงเองบพักตี ตระการ (อนิรุทธ์) | ตระการ | หลากหลาย, มีต่าง ๆ. | นานาประการ | ว. มีหลายอย่าง, นานัปการ ก็ว่า. | ใบระกา | น. ชื่อตัวไม้หรือปูนปั้นทำเป็นครีบ หรือลวดลายต่าง ๆ ติดกับตัวลำยองระหว่างช่อฟ้ากับหางหงส์ ประกอบ ๒ ข้างหน้าบันโบสถ์ วิหาร และปราสาท เป็นต้น. | ประกาย | น. แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากวัตถุที่ลุกเป็นไฟ เช่น ประกายลูกไฟ, แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากของแข็งบางอย่างที่กระทบกันอย่างแรง เช่น ดาบกระทบกันเป็นประกาย ตีเหล็กไฟเป็นประกาย, ความแวววาวที่เหลี่ยมเพชรเป็นต้นกระทบแสง, แสงแปลบปลาบอย่างแสงฟ้าแลบ, โดยปริยายหมายถึง แสงที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตาเป็นประกาย, แสงสะท้อนจากสิ่งที่เป็นมันเป็นเงา เช่น ประกายแสงจากกระเบื้องหลังคาโบสถ์. | ประกายพรึก | (ปฺระกายพฺรึก) น. ชื่อดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด เรียกว่า ดาวประกายพรึก, ดาวรุ่ง ก็เรียก, ถ้าเห็นในเวลาหัวคํ่า เรียกว่า ดาวประจำเมือง. | ประการ | น. อย่าง เช่น จะทำประการไร, ชนิด เช่น หลายประการ | ประการ | ทำนอง, แบบ, เช่น ด้วยประการฉะนี้. | ประกาศ | ก. ป่าวร้อง, แจ้งให้ทราบ, เช่น ประกาศงานบุญงานกุศล. | ประกาศ | น. ข้อความที่แจ้งให้ทราบทั่วกัน เช่น ประกาศของวัด ประกาศของบริษัท | ประกาศ | ข้อความที่ทางราชการแจ้งให้ประชาชนทราบหรือวางแนวทางให้ปฏิบัติ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศกระทรวง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี. | ประกาศก | (-กาสก) น. ผู้ประกาศ. | ประกาศนียบัตร | (-กาสะนียะบัด, ปฺระกาดสะนียะบัด) น. เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปรกติตํ่ากว่าระดับอุดมศึกษา. | ประกาศิต | น. คำสั่งเด็ดขาด, คำพูดที่ศักดิ์สิทธิ์. | ปะตาระกาหลา | (-หฺลา) น. เทวดาผู้ใหญ่. | ป่าวประกาศ | ก. ประกาศให้รู้ทั่วกัน. | ระกา | น. ชื่อปีที่ ๑๐ ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย. | วิจิตรตระการตา | (-จิดตฺระ-) ว. งามน่าตื่นตา เช่น ขบวนแห่รถบุปผชาติประดับประดาได้วิจิตรตระการตา. | วิปการ, วิประการ | (วิปะกาน, วิปฺระกาน) ก. ผิดฐานะ, ไม่เหมาะสม. | สัญประกาศ | (สันยะปฺระกาด) น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ – ใช้ขีดไว้ใต้คำหรือข้อความที่สำคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่านสังเกตเป็นพิเศษ, ขีดเส้นใต้ ก็เรียก. | อัญประกาศ | (อันยะ-) น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ “ ” สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความ เพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็นคำพูด หรือเพื่อเน้นความนั้นให้เด่นชัดขึ้นเป็นต้น. | อัญประกาศเดี่ยว | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ‘ ’ สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความที่ซ้อนอยู่ภายในข้อความที่มีเครื่องหมายอัญประกาศอยู่แล้ว. | กฎ | (กด) น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ (พงศ. ๑๑๓๖) | กฎ | ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง | กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. | กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). | กตเวทิตา | (กะตะ-) น. ความเป็นผู้ประกาศคุณท่าน, ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญุตา. | กตเวที | (กะตะ-) ว. ซึ่งประกาศคุณท่าน, ซึ่งสนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญู. [ ป. กต ว่า อันเขาทำแล้ว + เวที ว่า ซึ่งรู้, ซึ่งประกาศให้รู้ ]. | กรรมฐาน | (กำมะถาน) น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. | กรรมวาจา | (กำมะ-) น. คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์. | กระจองงอง, กระจองงอง ๆ | ว. เสียงร้องเช่นนั้นพร้อมตีฆ้องป่าวประกาศว่า กระจองงอง ๆ เจ้าข้าเอ๊ย. | กระทู้ ๑ | หลัก เช่น ช้างพังพลายเป็นสัตว์มีคุณแล้วก็เป็นกระทู้ราชการสำหรับแผ่นดินสืบมา (ท้องตราโบราณ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๗), ประการหนึ่งปืนเป็นกระทู้การสงคราม (เรื่องตั้งเจ้าพระยานครศรีธรรมราชครั้งกรุงธนบุรี ประชุมพงศ. ๒). | กระลอก | (-หฺลอก) ว. มีประกาย, เป็นประกาย, เช่น เนมินท์พิศทรงเหมือนกงรถ จอมบรรพตเลิศล้วนมณีผา กระลอกรุ่งพุ่งพรายถึงเมฆา เล่ห์วลาหกทิพอันพรอยพรำ (สมบัติอมรินทร์), ใช้เข้าคู่กับคำ กระลับ หรือ กระลาย เป็น กระลับกระลอก หรือ กระลายกระลอก. | กริยาวิเศษณ์วลี | น. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี. | กว่าชิ่น, กว่าชื่น | ว. ไปทั้งสิ้น, ยิ่งนัก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพูตรูรัตนพิศาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร). | กษัยน้ำ | น. กษัยเนื่องจากเลือด นํ้าเหลือง หรือเสมหะเป็นพิษ ถ้ารวมทั้ง ๓ ประการ เรียกว่า กษัยเลือด. | ก้อง ๒ | ก. อ่อนน้อมเจริญพระราชไมตรี เช่น พระเจ้ากรุงไทยแต่งขุนนางไปก้องกรุงปักกิ่ง (ประกาศ ร. ๔). | กามคุณ | น. สิ่งที่น่าปรารถนา มี ๕ ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส | การยุบสภา | น.อำนาจของฝ่ายบริหารในการประกาศให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ การยุบสภาต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา. | กาสะ | ก. ไอ, ใช้ว่า ทรงพระกาสะ, ใช้ว่า ทรงพระกรรสะ ก็มี. | กุกกุฏ- | (-กุตะ-) น. ไก่, ไก่ป่า, เช่น กุกกุฏสังวัจฉร หมายความว่า ปีระกา. | เกล็ดถี่ | น ชื่อปลาน้ำจืดขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Thynnichthys thynnoides (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae ปากเล็กอยู่ปลายสุดของหัว ไม่มีหนวด ลำตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดเล็กมาก พื้นลำตัวสีเงินเป็นประกาย พบทั่วไป แต่มีชุกชุมในเขตภาคกลางของประเทศไทย ยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, นางเกล็ด พรม หรือ ลิง ก็เรียก. | แก๊ป | เครื่องที่ทำให้ระเบิดเป็นประกายติดดินปืน เดิมมีรูปเหมือนหมวกแก๊ปแต่ไม่มีกะบังปิดหน้า | แกล้ง | ตั้งใจ, จงใจ, เช่น แกล้งประกาศแก่สงฆ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ข้อสังเกต | น. สิ่งที่กำหนดไว้ให้สนใจเป็นพิเศษ เช่น บทความนี้มีข้อสังเกตอยู่หลายประการ เขาตั้งข้อสังเกตว่า ๒-๓ วันนี้มีชายแปลกหน้ามาเยี่ยม ๆ มอง ๆ ที่ประตูบ้านบ่อย. | ของเก่า | ทรัพย์ที่เสนอขาย แลกเปลี่ยน หรือจำหน่ายโดยประการอื่นอย่างทรัพย์ที่ใช้แล้ว ทั้งนี้ รวมถึงของโบราณด้วย. |
| posting | การประกาศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | posting | การประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proclamation | ประกาศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | proclamation | ประกาศ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proclamation, royal | ประกาศพระบรมราชโองการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | proclamation, Royal | ประกาศพระบรมราชโองการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proof, burden of | หน้าที่นำสืบ, ภาระการพิสูจน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | public notice | ประกาศ, แจ้งความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | poster | ใบปิดประกาศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | post | ประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | publication | ๑. การประกาศโฆษณา๒. สิ่งพิมพ์เผยแพร่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | promulgation | การประกาศใช้กฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | promulgation | ๑. การออกประกาศ (ก. แพ่ง)๒. การประกาศใช้กฎหมาย (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | post | ประกาศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | post | ๑. ปิดประกาศ๒. ไปรษณีย์๓. ตำแหน่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | publication of banns | การประกาศชื่อผู้จะสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | publicity | โฆษณาการ, การประกาศโฆษณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lienteric stool | อุจจาระกากมาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | royal proclamation | ประกาศพระบรมราชโองการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Royal proclamation | ประกาศพระบรมราชโองการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark duration | ช่วงเกิดประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark erosion cutting | การตัดเซาะด้วยประกาย [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | spark knock | น็อกจากประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark line | เส้นประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark reignition | การจุดประกายอาร์กซ้ำ [ มีความหมายเหมือนกับ HF reignition ] [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | service by publication | การส่งหมายหรือคำคู่ความโดยวิธีประกาศในหนังสือพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | SI engine; spark-ignition engine | เครื่องยนต์เอสไอ, เครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark starting | การเริ่มจุดประกายอาร์ก [ มีความหมายเหมือนกับ HF ignition ] [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | spark test | การทดสอบประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark-ignition engine; SI engine | เครื่องยนต์เอสไอ, เครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | Seven Liberal Arts | ศิลปศาสตร์เจ็ดประการ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | SDV (spark delay valve) | เอสดีวี (ลิ้นหน่วงการเกิดประกายไฟ) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark; jump spark | ประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark delay valve (SDV) | ลิ้นหน่วงการเกิดประกายไฟ (เอสดีวี) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | standard of proof | ภาระการพิสูจน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | stool, lienteric | อุจจาระกากมาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | self-announcement | การประกาศตนเข้าแข่งขัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order of business; order of the day | ระเบียบวาระการประชุม [ ดู agenda ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | outlawry | การประกาศให้เป็นคนนอกกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | order of the day; order of business | ระเบียบวาระการประชุม [ ดู agenda ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | onus probandi (L.) | ภาระการพิสูจน์, หน้าที่นำสืบ [ ดู burden of proof ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | acknowledgement | ๑. การตอบรับ๒. กิตติกรรมประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | aventurine glaze | การเคลือบเกล็ดประกาย [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | announcement service | การบริการประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | agenda | ระเบียบวาระการประชุม [ ดู order of business และ order of the day ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | agenda | ระเบียบวาระการประชุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | jump spark; spark | ประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | business, order of | ระเบียบวาระการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Acknowledgement | กิตติกรรมประกาศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Acknowledgement | กิตติกรรมประกาศ, ประกาศคุณูปการ, Example: คำที่ผู้เขียนกล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการเขียนหนังสือ บางครั้งอาจแห่ง อาจใช้เป็น กิตติกรรมประกาศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | พระสัปตปฎลเศวตฉัตร | ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น พระสัปตปฎลเศวตฉัตรเป็นฉัตรประกอบพระอิสริยยศสำหรับพระมหากษัตริย์ที่ยังไม่ผ่านการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-02.JPG" alt="พระสัปตปฎลเศวตฉัตร์"> <p>ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น [ศัพท์พระราชพิธี] | ถวายพระพรลา | กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี] | Treatment, waste | การบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเปลี่ยนแปลงลักษณะของกากกัมมันตรังสีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาและการขจัด โดยมีหลักพื้นฐาน 3 ประการ คือ 1. ลดปริมาตร เช่น การกดอัด 2. แยกสารกัมมันตรังสีออกจากกาก เช่น การตกตะกอน การแลกเปลี่ยนไอออน 3. เปลี่ยนองค์ประกอบ เช่น การเผา การระเหย [นิวเคลียร์] | Irradiated food | อาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์] | Academic decoration of honor | เครื่องหมายประกาศเกียรติคุณของสถาบันการศึกษา [TU Subject Heading] | Certification | ประกาศนียบัตร [TU Subject Heading] | Convention Relation to Registration of Rights in Respect of Vessels under Construction, 1967 | อนุสัญญาว่าด้วยการจดทะเบียนซึ่งสิทธิบางประการของเรือที่อยู่ระหว่างการต่อ (ค.ศ. 1967) [TU Subject Heading] | Decorations of honor | เครื่องหมายประกาศเกียรติคุณ [TU Subject Heading] | Internal combustion engines, Spark ignition | เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบจุดระเบิดด้วยประกายไฟ [TU Subject Heading] | International Convention for the Unification of Certain Rules of Law Relating to Bills of Lading (1924) | อนุสัญญาว่าด้วยการทำให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งกฎเกณฑ์บางประการที่เกี่ยวกับใบตราส่ง (ค.ศ. 1924) [TU Subject Heading] | Acknowledgement | ประกาศคุณูปการ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Phrachetiyavisakhabujanusornsakonlokprakadborvornbujawanvisakha | พระเจดีย์วิสาขบูชานุสรณ์สกลโลกประกาศบวรบูชาวันวิสาขะ [TU Subject Heading] | Clone (โคลน) | การสร้างสำเนาที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการของโมเลกุล เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Proclamation | ประกาศ [TU Subject Heading] | Radio announcing | การประกาศทางวิทยุ [TU Subject Heading] | Television announcing | การประกาศทางโทรทัศน์ [TU Subject Heading] | Television news anchors | ผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์ [TU Subject Heading] | Shore Reef | แนวประการังแบบหย่อม, Example: ดู Fringing Reef (Fringing Reef or Shore Reef หมายถึง แนวปะการังเล็กๆ พบแพร่กระจายอยู่ตามบริเวณชายฝั่งทะเล) [สิ่งแวดล้อม] | Currency Revaluation | การประกาศเพิ่มค่าเงิน, Example: การประกาศเพิ่มค่าของเงินสกุลหนึ่ง เมื่อเทียบกับค่าเงินตราสกุลอื่นๆ การประกาศเพิ่มค่าเงิน มีความหมายในทางปฏิบัติเช่นเดียวกับการเพิ่มค่าของเงิน (ดู Currency Appreciation) แต่ส่วนที่แตกต่างกัน คือ กรณี "revaluation" จะใช้กับการเพิ่มค่าของเงินตราในระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ โดยการประกาศลดค่าอย่างเป็นทางการ ในขณะที่ "appreciation" ใช้กับการเพิ่มค่าของเงินในระบบอัตราแลกเปลี่ยนอื่นๆ [สิ่งแวดล้อม] | Devaluation, Currency | การประกาศลดค่าเงิน, Example: การประกาศลดค่าของเงินสกุลหนึ่งเมื่อเทียบกับ ค่าเงินตราสกุลอื่นๆ การประกาศลดค่าเงิน มีความหมายในทางปฏิบัติเช่นเดียวกับการลดค่าของเงิน (ดู Currency Depreciation) แต่ส่วนที่แตกต่างกันคือ กรณีของ "Devaluation" จะใช้กับการลดค่าของเงินตราใน ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่คงที่โดยการประกาศลดลงอย่างเป็นทางการในขณะที่ "Depreciation" ใช้กับการลดค่าของเงินในระบบอัตราแลกเปลี่ยนอื่นๆ [สิ่งแวดล้อม] | Accelerating Economic Recovery in Asia | โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต] | African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] | Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] | APSC | แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก [การทูต] | Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] | Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] | Drug-Free ASEAN | อาเซียนที่ปลอดจากยาเสพติด เป็นคำประกาศของอาเซียนในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 31 ที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยการตั้งเป้าหมาย ที่จะทำให้ภูมิภาคนี้ปลอดจากยาเสพติดในปี พ.ศ. 2563 และต่อมา ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 33 ที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2543 ได้ประกาศร่นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เร็วขึ้น 5 ปี จากเดิมในปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558 [การทูต] | Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] | Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] | Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] | International Force in East Timor | กองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1264 (1999) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 มีภารกิจหลัก 3 ประการ คือ ฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในติมอร์ตะวันออก ป้องกันและสนับสนุนงานของเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติ และอำนวยความสะดวกในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม กองกำลังนานาชาติปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกจนถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Joint Declaration for a Socially Cohesive and Caring ASEAN | ปฏิญญาร่วมว่าด้วยสังคมที่เป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรในอาเซียน เป็นคำประกาศของอาเซียนซึ่งมีการลงนามที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2543 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้มีการดำเนินโครงการด้านโครงข่ายรองรับทาง สังคมในภูมิภาคนี้ร่วมกันอย่างจริงจัง ในอันที่จะเป็นการนำอาเซียนไปสู่การเป็นสังคมที่มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้อ อาทรตามวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 [การทูต] | moratorium | ประกาศพัก/ระงับชั่วคราว [การทูต] | National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] | Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
| อัญประกาศ | [anyaprakāt] (n) EN: quotation marks FR: guillemets [ mpl ] | อัญประกาศเดี่ยว | [anyaprakāt dīo] (n, exp) EN: single quotation marks ; ' ' | ใบปิดประกาศ | [baipit prakāt] (n, exp) EN: poster FR: affiche [ f ] | ใบประกาศ | [baiprakāt] (n) EN: poster ; handbill ; notice ; circular FR: affiche [ f ] | ใบระกา | [bairakā] (n) EN: toothlike ridges on the sloping edges of a gable (representing the fin on the back of Naga) | บางประการ | [bāng prakān] (n, exp) EN: some aspects ; some measures | บอร์ดประกาศ | [bøt prakāt] (n, exp) EN: bulletin board FR: tableau d'affichage [ m ] ; valves [ fpl ] (Belg.) | ดาวประกายพรึก | [dāo prakāiphreuk] (n, exp) EN: morning star ; Venus FR: étoile du matin [ f ] ; Venus | ด้วยประการไฉน | [dūay prakān chanai] (adv) EN: by what manner | ด้วยประการฉะนี้ | [dūay prakān chanī] (adv) EN: thus ; in this manner ; here and now ; for this reason ; therefore | ด้วยประการทั้งปวง | [dūay prakān thangpūang] (adv) EN: in every respect | อีกประการหนึ่ง | [īk prakān neung] (adv) FR: d'autre part | จุดประกาย | [jut prakāi] (v, exp) EN: spark ; inspire ; provoke ; stimulate ; trigger (off) ; precipitate | การป่าวประกาศ | [kān pāoprakāt] (n) FR: annonciation [ f ] (vx) ; annoncement [ m ] (vx) | การปิดประกาศ | [kān pit prakāt] (n, exp) FR: affichage [ m ] | การประกาศ | [kān prakāt] (n) EN: announcement ; declaration ; stating FR: déclaration [ f ] ; annonce [ f ] ; proclamation [ f ] | การประกาศใช้ | [kān prakāt chai] (n, exp) EN: promulgation FR: promulgation [ f ] | การประกาศใช้กฎหมาย | [kān prakāt chai kotmāi] (n, exp) FR: promulgation d'une loi [ f ] | การประกาศอิสรภาพ | [kān prakāt itsaraphāp] (n, exp) FR: proclamation d'indépendance [ f ] | การประกาศจ่ายเงินปันผล | [kān prakāt jāi ngoen panphon] (n, exp) EN: declaration of a dividend | การประกาศเจตจำนง | [kān prakāt jētjamnong] (n, exp) EN: declaration of intent FR: déclaration d'intention [ f ] | การประกาศของเทพ | [Kān Prakāt Khøng Thēp] (n, prop) EN: Annunciation FR: Annonciation [ f ] | การประกาศสงคราม | [kān prakāt songkhrām] (n, exp) EN: declaration of war FR: déclaration de guerre [ f ] | คำประกาศิต | [khamprakāsit] (n) EN: command | คำประกาศ | [khamprakāt] (n) EN: announcement ; declaration | เครื่องหมายอัญประกาศ | [khreūangmāi anyaprakāt] (n, exp) EN: « “ “ » ; « » ; quotation marks ; double quotation marks FR: « “ “ » ; « » ; guillemets [ mpl ] | เครื่องหมายสัญประกาศ | [khreūangmāi sanyaprakāt] (n, exp) EN: « _ » ; underscore FR: « _ » ; soulignement [ m ] | ความเท่ากันทุกประการ | [khwām thaokan thuk prakān] (n, exp) EN: congruence FR: congruence [ f ] | หมายประกาศ | [māi prakāt] (n, exp) EN: announcement ; notice | มีประกาศว่า... | [mī prakāt wa ...] (v, exp) EN: it has been announced that ... | นานาประการ | [nānāprakān] (adj) EN: various | เงินปันผลที่ประกาศจ่าย | [ngoenpanphon thī prakāt jāi] (n, exp) EN: declared dividend | ป้ายประกาศ | [pāi prakāt] (n, exp) EN: bilboard FR: panneau d'affichage [ m ] | ป่าวประกาศ | [pāoprakāt] (v) EN: announce ; publicize ; broadcast ; proclaim FR: annoncer ; proclamer | ป่าประกาศ | [pāprakāt] (v) EN: proclaim | เป็นประกาย | [pen prakāi] (v, exp) EN: sparkle ; flash ; twinkle ; shimmer ; glisten FR: étinceler ; scintiller | ภาระการพิสูจน์ | [phāra kān phisūt] (n, exp) EN: burden of proof | ผีเสื้อฟ้าขอบประกาย | [phīseūa fā khøp prakāi] (n, exp) EN: Grass Jewel | ผีเสื้อฟ้าขอบประกายเล็ก | [phīseūa fā khøp prakāi lek] (n, exp) EN: Small Grass Jewel | ผู้ป่าวประกาศ | [phū pāoprakāt] (n, exp) FR: annonciateur [ m ] ; annonciatrice [ f ] | ผู้ปิดประกาศ | [phū pit prakāt] (n, exp) FR: afficheur [ m ] ; placardeur [ m ] (vx) | ผู้ประกาศ | [phūprakāt] (n) EN: announcer ; broadcaster ; reporter ; newsreader ; speaker FR: annonceur [ m ] ; présentateur [ m ] | ผู้ประกาศข่าว | [phūprakāt khāo] (n, exp) EN: newsreader ; newscaster | ปีระกา | [pī rakā] (n, exp) EN: Year of the Rosster (Chinese astrology) ; Year of the Cock (Chinese astrology) FR: année du coq [ f ] | ปิดประกาศ | [pit prakāt] (v, exp) EN: post a notice FR: placarder | ประกาย | [prakāi] (n) EN: spark ; flash ; sparkle FR: étincelle [ f ] | ประกายไฟฟ้า | [prakāi faifā] (n, exp) EN: spark FR: étincelle électrique [ f ] | ประการ | [prakān] (n) EN: [ classifier : numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects ] FR: [ classificateur : éléments, points, aspects, espèces, sortes, lieux...) | ประการใด | [prakān dai] (x) EN: what ; whatever ; whatsoever ; how ; however | ประการหนึ่ง | [prakān neung] (x) EN: some ; a feature |
| | absolve | (vt) ประกาศว่าพ้นผิด, Syn. acquit, exonerate | acquit | (vt) ประกาศว่าไม่มีความผิด, See also: ประกาศว่าพ้นผิด, Syn. exonerate, clear, absolve | admission | (n) การประกาศยอมรับ, See also: การยอมรับ | advertise | (vt) ลงประกาศ, See also: แจ้งความ, เสนอข่าว | advertise | (vi) ลงประกาศ, See also: แจ้งความ, เสนอข่าว, Syn. proclaim, publicize, announce | air | (vt) ประกาศ, See also: แสดง | align | (vt) ประกาศสนับสนุน | aline | (vt) ประกาศสนับสนุน | altogether | (adv) ด้วยประการทั้งปวง, See also: โดยสิ้นเชิง | anchor | (vt) เป็นผู้ประกาศข่าว | anchor | (n) ผู้ประกาศข่าว, Syn. newscaster, commentator | announce | (vt) ป่าวประกาศ, See also: ประกาศ, Syn. declare, proclaim | announcement | (n) การประกาศ, See also: เสียงประกาศ, การป่าวประกาศ, Syn. declaration, notification, proclamation | announcement | (n) คำประกาศ, Syn. statement, news | announcer | (n) ผู้ประกาศ, See also: โฆษก, Syn. program announcer, broadcaster | annulment | (n) การประกาศว่าเป็นโมฆะ, Syn. invalidation, nullification, cancellation | annunciator | (n) ผู้ประกาศ, Syn. announcer | atoll | (n) เกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากหินประการัง | absolve from | (phrv) ยกโทษให้, See also: ประกาศว่า บางคน ไม่มีความผิด | absolve of | (phrv) ยกโทษให้, See also: ประกาศว่า บางคน ไม่มีความผิด | acquit of | (phrv) ประกาศว่าไม่มีความผิด (ทางกฎหมาย) | advertise for | (phrv) ประกาศรับ, See also: โฆษณา เพื่อรับสมัคร | announce to | (phrv) ประกาศต่อ | assign to | (phrv) ระบุว่าเป็นหรืออยู่ในช่วง, See also: ประกาศว่าเป็นของ | billboard | (vt) ประกาศหรือโฆษณา | brilliance | (n) ความสุกใส, See also: ความเป็นประกาย, Syn. brightness, Ant. darkness | bulletin | (n) แถลงการณ์, See also: ประกาศ, Syn. announcement | by no means | (adv) ไม่ด้วยประการใดเลย, See also: มิใช่ใดๆเลย, Syn. by no means, not by any means, not in any way, absolutely not, not at all | book off | (phrv) ประท้วงไม่ทำงาน, See also: ประกาศไม่เข้าทำงาน | bring down | (phrv) ประกาศหรือบอกให้รู้อย่างเป็นทางการ, Syn. hand down | caller | (n) ผู้ประกาศ, Syn. announcer | canonise | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่าเป็นนักบุญ, Syn. canonize, saint, sanctify | canonize | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่าเป็นนักบุญ, Syn. canonise, saint, sanctify | cardinal sin | (n) หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน) | celebrate | (vt) ประกาศ, Syn. declare, proclaim | certificate | (n) ประกาศนียบัตร, Syn. credential | certificate | (vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร | certify | (vt) ประกาศว่าวิกลจริตตามกฎหมาย | certify | (vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร | clarion | (vt) ประกาศอย่างดัง | condemn | (vt) ประกาศว่าทำผิด, See also: กล่าวโทษ, Syn. convict | crier | (n) ผู้ประกาศ, Syn. proclaimer | call by2 | (phrv) เรียกชื่อ, See also: ประกาศชื่อ, ขานชื่อ, Syn. go by | charge with | (phrv) ประกาศว่ามีความผิด | close the door on | (idm) ประกาศว่าหมดหวังสำหรับ, Syn. shut on | convict of | (phrv) ประกาศว่ามีความผิดฐาน, See also: มีความผิดในเรื่อง | count out | (phrv) ประกาศว่าสมาชิกในการประชุมสภาไม่เพียงพอ (เพื่อปิดการประชุม) | declaim against | (phrv) ประกาศโจมตีต่อสาธารณชน, Syn. declare for | declare for | (phrv) ประกาศโจมตีต่อสาธารณชน, Syn. declaim against | declare off | (phrv) ประกาศว่าจะไม่เกิดขึ้น, Syn. break off, declare on |
| advertise | (แอด' เวอไทซ, แอดเวอไทซ') vt., vi. แจ้งความ, โฆษณา, ประกาศ. | advertize | (แอด' เวอไทซ, แอดเวอไทซ') vt., vi. แจ้งความ, โฆษณา, ประกาศ. | agenda | (อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable | alert box | ช่องข้อความเตือนหมายถึงช่องข้อความที่คอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นบนจอภาพ มีข้อความเตือนในเรื่องการใช้คำสั่งบางประการที่อาจทำให้เกิดผลเสีย เช่น เครื่องพิมพ์ไม่มีกระดาษ ข้อความบางตอนอาจศูนย์หาย ฯ เป็นต้น | altogether | (ออลทูเกธ' เธอะ) adv. ทั้งหมด, พร้อมกัน, ด้วยประการทั้งปวง, โดยสิ้นเชิง, ทั้งสิ้น, โดยสรุป, รวมทั้งสิ้นเป็น (entirely, completely) | announce | (อะเนาซฺ') vt., vi. ประกาศ, แจ้ง, แสดง, ทำให้รู้, ทำหน้าที่เป็นโฆษก, โฆษณา | announcement | (อะเนาซฺ' เมินทฺ) n. การประกาศ, การแถลง, การทำให้รู้, การโฆษณา | announcer | (อะเนา' เซอะ) n. ผู้ประกาศ, ผู้แถลง, ผู้โฆษณา, Syn. broadcaster | annunciate | (อะนัน' ซีเอท) vt. แจ้งให้ทราบ, ประกาศ, ประกาศให้ทราบ -annunciable adj., Syn. tell, announce -annunciation n. | annunciator | (อะนัน'ซีเอเทอะ) n. ผู้ประกาศ, เครื่องบอกสัญญาณ (signaling apparatus) | attaint | (อะเทนทฺ') vt. ประกาศเพิกถอนสิทธิ, ทำให้เสื่อมเสีย (เกียรติ) , กล่าวหา -n. =attainder, ความเสื่อมเสีย (เกียรติ) (disgrace, taint) | avow | (อะเวา') vt. ประกาศ, รับรอง, ยอมรับ, รับสารภาพ, ปฏิญาณ, สบถสาบาน. -avower n., Syn. testify, avouch, Ant. deny, hide | avowal | (อะเวา'เอิล) n. การรับรองอย่างเปิดเผยการประกาศ, การยอมรับ (acknowledgment) | ban | (แบน) { banned, banning, bans } vt., n. ห้าม, ประกาศห้าม, สั่งห้าม, ขับออกนอกศาสนา, ประณาม, สาปแช่ง | banns | (แบนซ) n., pl. ประกาศล่วงหน้าที่แจ้งการแต่งงานที่จะมีขึ้น | bans | (แบนซ) n., pl. ประกาศล่วงหน้าที่แจ้งการแต่งงานที่จะมีขึ้น | bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | bid | (บิด) { bade/bid, bidden/bid, bidding, bids } vt., n. (การ) ออกคำสั่ง, สั่ง, กล่าว, บอก, ให้ราคา, ประมูลราคา, เชื้อเชิญ, ประกาศอย่างเปิดเผย, รับเป็นสมาชิก, ความพยายามเพื่อให้ได้มา vi. ออกคำสั่ง, กริยาช่อง 3 ของ bide, See also: bidder n. ดู bid -Conf. bade | bill poster | n. ผู้ติดประกาศ, ผู้ติดโฆษณา, ผู้ติดใบปลิว, See also: billsticking n. | bill sticker | n. ผู้ติดประกาศ, ผู้ติดโฆษณา, ผู้ติดใบปลิว, See also: billsticking n. | billposter | n. คนที่ประกาศ, คนติดโฆษณา, คนติดใบปลิว, See also: billposting, billsticking n. | billsticker | n. คนที่ประกาศ, คนติดโฆษณา, คนติดใบปลิว, See also: billposting, billsticking n. | binary number system | ระบบเลขฐานสอง <คำแปล>ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์) เปิด และ ปิด | blazer | (เบล'เซอะ) n. สิ่งที่ลุกสว่างโชติช่วง, ผู้แพร่กระจาย, ผู้ประกาศ | blazon | (เบล'เซิน) { blazoned, blazoning, blazons } n. ตรา, เครื่องหมาย ธง vt. ทำเครื่องหมาย, ทำตรา, แสดง, ประกาศ, เผยแพร่, โอ้อวด, See also: blazoner n. blazonment n. ดูblazon blazoning n. ดูblazon, Syn. proclaim | bulletin | (บูล'ละทิน) n. แถลงการณ์, ประกาศ, รายงานข่าว, สิ่งตีพิมพ์ที่ออกมาเป็นระยะ | bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | canonise | (แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz | canonize | (แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz | ccp | (ซีซีพี) ย่อมาจาก Certificate in Computer Programming หมายถึงประกาศนียบัตรที่ให้แก่ผู้ที่สอบผ่านความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม การสอบนี้จะทำปีละ 1 ครั้งในประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ฯ | cd | abbr. ธาตุ cadmium, แผ่นซีดี ย่อมาจาก compact disk แปลตามตัวอักษรว่า จานบันทึกอัดแน่น มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล จานบันทึกนี้มีความจุสูงมาก (ประมาณ 600ล้านตัวอักษร) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ใช้อ่านข้อมูลจากจานบันทึกนี้ได้ แต่การบันทึกข้อมูลลง ยังทำไม่ได้ง่าย ๆ ต้องมีเครื่องพิเศษเฉพาะ บันทึกได้ทั้งข้อมูลธรรมดา เพลง ภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้มาก เพราะราคาถูก ความจุสูง แต่ยังติดขัดในปัญหาบางประการในเรื่องการบันทึกข้อมูลลง ดู CD ROM ประกอบ 2. ย่อมาจากคำ Change Directory เป็นคำสั่งในระบบดอสที่สั่งให้เข้าไปในสารบบ (directory) ใดสารบบหนึ่ง หรือออกจากสารบบใดสารบบหนึ่ง เช่น C:/>CD <ชื่อสารบบ> \ (หมายความว่าให้เข้าไปในสารบบชื่อนั้น) C:> CD\ (หมายความว่า ให้ออกจากสารบบที่อยู่) | cedula | n. หลักฐานการเสียภาษีแล้ว, ประกาศนียบัตร | celebrate | (เซล'ละเบรท) { celebrated, celebrating, celebrates } v. ฉลอง, ประกอบพิธี, เฉลิม, ประกาศ, สรรเสริญ, ยกย่อง, ทำพิธี, จัดงานเลี้ยงฉลอง, See also: celebrative adj. ดูcelebrate celebrator n. ดูcelebrate -Conf. celibate | certificate | (เซอทิฟ'ฟะเคท) { certificated, certificating, certificates } n. หนังสือรับรอง, ประกาศนียบัตร, ใบรับรอง, ในสุทธิ, ใบสำคัญ, ข้อพิสูจน์ vt. รับรองด้วยหนังสือรับรอง, See also: certificatory adj. | charter | (ชาร์'เทอะ) { chartered, chartering, charters } n. ตราตั้ง, กฎบัตร, กฎหมาย, สัญญาเช่าเรือ, สัญญาเช่า, สิทธิพิเศษ, สิทธิยกเว้น, หนังสือรับรอง, ประกาศนียบัตร -vt. อนุญาตด้วยตราตั้ง, ให้สิทธิพิเศษ. -adj. เช่ามา, เหมา, See also: charterer n. -Conf. chartered กริยาช | claw | (คลอ) { clawed, clawing, claws } n. อุ้งเล็บ, ก้ามกุ้งและปู, ส่วนยื่นคล้ายคีม, เครื่องมือคล้ายคีม v. ใช้อุ้งเล็บหรือเล็บฉีก (ข่วน, แทง, ขุด, ควัก) ปีนป่าย, ตระกาย, ตะครุบ. | cold start | เปิดเครื่อง (คอมพิวเตอร์) การเริ่มต้นระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ทั้งหมด โดยเปิดสวิตซ์ที่ตัวเครื่อง การเริ่มต้นเช่นนี้เป็นการเริ่มต้นครั้งแรกหรือเริ่มต้นใหม่เนื่องจากบางครั้ง ขณะที่ใช้อยู่ เกิดข้อผิดพลาดบางประการเกี่ยวกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จนทำให้ไม่สามารถประมวลผลต่อไปได้ จึงต้องใช้วิธีปิดสวิตช์ แล้วเริ่มต้นใหม่ดู warm start เปรียบเทียบ | cold war) | n. สงครามเย็น, สงครามที่ไม่ประกาศสงคราม | commandment | (คะมาน'เมินทฺ) n. อำนาจ, คำสั่ง, การออกคำสั่ง, บัญญัติ, หนึ่งในบัญญัติ10ประการ (Ten Commandments) | computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ | computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส | confession | (คันเฟส'เชิน) n . การสารภาพ, การยอมรับ, การสารภาพความผิด, สิ่งที่ได้สารภาพ, การประกาศความเลื่อมใสและยอมรับการปฎิบัติตามความเชื่อทางศาสนา, สุสานนักบุญ, Syn. admission, confirmation | copy disk | คัดลอกทั้งแผ่นเป็นคำสั่งในระบบวินโดว์ ที่สั่งให้คัดลอกแฟ้มข้อมูลทั้งหมดในแผ่นต้นแบบ ไปลงในอีกแผ่นหนึ่งซึ่งต้องมีขนาดเท่าแผ่นต้นแบบทุกประการ การคัดลอกด้วยคำสั่งนี้ จะเลือกเฉพาะบางแฟ้มข้อมูลไม่ได้ นอกจากนั้น เมื่อคัดลอกมาแล้ว จะลบแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่เดิมทิ้งไปให้ด้วย (เฉพาะแผ่นที่เก็บข้อมูลที่คัดลอกมาเท่านั้น) | coruscant | (คะรัส'คันท) adj. แวววับ, เป็นประกายแวววับ, สุกใส | coruscate | (คอ'รัสเคท) vi. แวววับ, เป็นประกายแวววับ, Syn. sparkle | credential | (คริเดิน'เชิล) n. หลักฐานอ้างอิง, หนังสือรับรอง, หนังสือแนะนำตัว, สาสน์ตราตั้งทูต, ประกาศนียบัตร. adj. ซึ่งเป็นหลักฐานอ้างอิง หรือรับรอง, See also: credentialed adj. | crier | (ไคร'เออะ) n. ผู้ร้อง, คนร้องขาย, เจ้าหน้าที่ศาลที่เรียกขาน, เจ้าหน้าที่ประกาศ | cry | (ไคร) { cried, crying, cries } vt., vi., n. (การ, เสียง) ร้อง, ร้องเรียก, ร้องขอ, แผดเสียงร้อง, ร้องไห้, หลั่งน้ำตา, การป่าวประกาศ, การเรียกพยานในศาล | data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น |
| advertise | (vt) โฆษณา, ประกาศ, แจ้งความ | advertisement | (n) การโฆษณา, การประกาศ, การแจ้งความ | affirmation | (n) การประกาศ, การยืนยัน, การรับรอง | agenda | (n) ระเบียบวาระการประชุม | announce | (vt) ประกาศ, แถลง, แจ้ง | announcement | (n) การประกาศ, การแถลง, การแจ้ง | announcer | (n) ผู้ประกาศ, ผู้แถลง | annunciate | (vt) ประกาศ, แจ้ง | annunciation | (n) การประกาศ, การแจ้ง | annunciator | (n) ผู้ประกาศ, ผู้แจ้ง | avow | (vt) รับสารภาพ, ประกาศ, รับรอง, สบถสาบาน, ปฏิญาณ | ban | (n) การห้าม, การประกาศห้าม, การสั่งห้าม | ban | (vt) ห้าม, สั่งห้าม, ประกาศห้าม | bellman | (n) คนตีระฆัง, คนเดินประกาศข่าว, ยาม | billboard | (n) บอร์ด, กระดานปิดประกาศ | billsticker | (n) ผู้ติดประกาศ, ผู้ติดโฆษณา, ผู้ติดใบปลิว | blaze | (vt) แพร่, กระจาย, เผยแพร่, แถลง, ประกาศ | blazer | (n) เสื้อสามารถ, ผู้ประกาศ | blazon | (vt) ประกาศ, ทำเครื่องหมาย, ประดับ, แสดง | bulletin | (n) ประกาศ, แถลงการณ์ | certificate | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, ใบรับรอง, หนังสือรับรอง | credentials | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, หนังสือรับรอง, หลักฐานอ้างอิง, สาสน์ตราตั้ง | crier | (n) คนป่าวประกาศ, ผู้ประกาศ | Decalogue | (n บัญญัติ 10) ประการ | declaration | (n) คำประกาศ, การประกาศ, การเปิดเผย, การแจ้ง, แถลงการณ์ | declarative | (adj) ซึ่งบอกเล่า, ที่เปิดเผย, ที่ประกาศ, ที่อธิบาย | declare | (vi, vt) ประกาศ, แถลง, เปิดเผย, บอกกล่าว, แจ้ง | decree | (n) กฎ, พระราชกฤษฎีกา, คำสั่ง, คำบัญชา, ประกาศิต, คำพิพากษา | decree | (vt) ประกาศพระราชกฤษฎีกา, สั่ง, บัญชา, พิพากษา | diploma | (n) ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, อนุปริญญา, หนังสือสำคัญ | divulge | (vt) เปิดเผย, บอก(ความลับ), ประกาศ | edict | (n) คำสั่ง, คำประกาศ, คำประกาศิต, พระบรมราชโองการ, พระราชกฤษฎีกา | enact | (vt) ประกาศเป็นกฎหมาย, แสดงบทบาท, ออกพระราชบัญญัติ | enactment | (n) การประกาศเป็นกฎหมาย, พระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ | enunciate | (vi) เปล่งเสียง, แถลง, สาธยาย, ประกาศ | enunciation | (n) การออกเสียง, การอ่านออกเสียง, การแถลง, การประกาศ, การสาธยาย | first | (n) ตอนแรก, ชั้นหนึ่ง, วันที่หนึ่ง, ประการแรก, อันดับหนึ่ง | former | (n) อันก่อน, กรณีแรก, ประเด็นแรก, ประการแรก, ข้อแรก | glitter | (n) แสงประกาย, แสงแวววาว, แสงระยิบระยับ | glitter | (vi) ส่องแสงเป็นประกาย, ส่องแสงระยิบ, ส่องแสงแวววาว | harbinger | (vt) ประกาศ, นำทาง, เบิกทาง, ไปล่วงหน้า | herald | (vt) แจ้งข่าว, ประกาศ, แถลง | heraldic | (adj) เกี่ยวกับผู้สื่อข่าว, เป็นพิธีการ, เกี่ยวกับการประกาศ | hereby | (adv) โดยนัยนี้, โดยวิธีนี้, ด้วยประการฉะนี้ | intimate | (vt) แนะ, บอก, แจ้ง, แสดง, ประกาศ | intimation | (n) การแนะ, การบอก, การแจ้ง, การแสดง, การชี้แจง, การประกาศ | launch | (vt) ปล่อยลงน้ำ, ปล่อย(จรวด), ส่งหมัด, ประกาศ, กล่าว, ยิง | Lucifer | (n) ซาตาน, มาร, ดาวประกายพรึก, ดาวพระศุกร์ | mandate | (n) คำสั่ง, อำนาจที่ได้รับมอบหมาย, อาณัติ, กฤษฎีกา, ประกาศิต | mandate | (vt) ทำให้อยู่ในอาณัติ, มอบอำนาจ, ออกประกาศิต |
| Act of war | เหตุแห่งสงคราม คือการกระทำหรือเหตุการณ์ใดๆที่ทำให้อีกฝ่ายมีความชอบธรรมในการประกาศสงคราม, Syn. Casus belli | alhambra decree | (n) พระราชประกาศอาลัมบรา เป็นพระราชประกาศที่ออกโดยสมเด็จพระราชินีนาถอิสซาเบลลาแห่งสเปน และสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอาราอน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1492 เพื่อขับไล่ชาวยิวออกจากสเปน (wikipedia.org), Syn. Edict of Expulsion | Ark of the Covenant | (n) หีบแห่งพันธสัญญา บรรจุบัญญัติสิบประการของพระเจ้าไว้ | cyber security | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | Declaration of a State of Emergency | (n) ประกาศภาวะฉุกเฉิน | declare war on | (vt, phrase) ประกาศสงครามกับ | Free Carrier ( FCA ) | การเสนอราคา ที่ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการมอบสินค้าตามสัญญาก็ต่อเมื่อผู้ขายได้จัดสินค้าส่งมอบให้กับผู้รับขนส่ง ณ สถานที่ของผู้รับขนส่ง(เช่น บรรดาบริษัท shipping ต่างๆ) ตามที่ผู้ซื้อระบุไว้เพราะฉะนั้นในการเสนอราคา ผู้ขายก็จะเสนอราคาขาย ที่บวกค่าส่งมอบสินค้าในเบื้องต้นลงไปด้วย | Hot Work | (n) งานที่ทำให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟ | How Work | (n) งานที่ทำให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟ | NOTAM | [no-tam] (Notice to Airmen) ประกาศนักบิน | public service announcements | ประกาศโฆษณาในบริการสาธารณะ | scarlet | (vt, adj) (สการ์เล็ต) สีแดงเป็นประกาย | speleothems | (n) หินถ้ำ หินที่เกิดภายในถ้ำในรูปลักษณะต่างๆ มีประกายระยิบระยับจากการสะสมแร่ เช่น หินงอก หินย้อย | กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ | (adj, name, uniq) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (อังกฤษ: Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก |
| 伝道師 | [でんどうし, dendoushi] (n) นักประกาศ (ศาสนาคริสต์) | 名乗り | [なのり, nanori] (n) การประกาศตัว | 証明書 | [しょうめいしょ, shoumeisho] (n) ใบรับรอง ประกาศนียบัตร |
| 予告 | [よこく, yokoku] (n, vi) (การ)ประกาศ หรือแจ้งเตือนล่วงหน้า, See also: R. 通知、警告 | 掲示 | [けいじ, keiji] (n) การติดประกาศ | 掲示板 | [けいじばん, keijiban] (n) กระดานข่าว, เว็บบอร์ด, บอร์ดติดประกาศ | 宵の明星 | [よいのみょうじょう, yoinomyoujou] (n) ดาวศุกร์ ดาวประกายพฤกษ์ ดาวรุ่ง | 発布 | [はっぷ, happu] การประกาศใช้กฎหมาย | 金ぴか | [きんぴか, kinpika] เป็นประกายสีทองระยิบระยับ | 立て札 | [たてふだ, tatefuda] (n) ป้ายประกาศ | アナウンサー | [あなうんさー, anaunsa] (n) ผู้ประกาศ (ข่าว), โฆษก | 火気 | [かき, kaki] 1. ไฟ (ที่เป็นต้นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้) 2. ความอุ่นจากไฟ 3. ประกายไฟ (ในป้ายเตือน) | 火気厳禁 | [かきげんきん, kakigenkin] (n, phrase) ห้ามจุดไฟ ห้ามทำให้เกิดประกายไฟ |
| 掲示板 | [けいじばん, keijiban] TH: ป้ายติดประกาศ EN: bulletin board | 輝く | [かがやく, kagayaku] TH: เป็นประกาย EN: to shine | お知らせ | [おしらせ, oshirase] TH: หมายประกาศ EN: Notification |
| Sprecher | (n) |der, pl. Sprecher| โฆษก, ผู้ประกาศ | Zeugnis | (n) |das, pl. Zeugnisse| ประกาศนียบัตร | Nachricht | (n) |die, pl. Nachrichten| คำประกาศ | großartig | (adj, adv) ดีมาก, ยิ่งใหญ่ เช่น ein großartiger Junge ชายหนุ่มที่ดีมาก, ein großartiges Bauwerk สิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ตระการ, Syn. klasse | ankündigen | (vt) |kündigte an, hat angekündigt| ประกาศ, แจ้ง เช่น In Tschechien ist es üblich, daß man einen Besuch telefonisch ankündigt., See also: melden | Ansage | (n) |die, pl. Ansagen| คำประกาศตามวิทยุ, โทรทัศน์, หรือตามงานต่างๆ | ansagen | (n) |sagte an, hat angesagt| ประกาศตามวิทยุ, โทรทัศน์, หรือตามงานต่างๆ ว่ามีรายการอะไรถัดไป, Syn. ankündigen | Plakat | (n) |das, pl. Plakate| ใบประกาศ, ป้ายโฆษณา, ป้ายประกาศ, โปสเตอร์ | beglaubigen | (vt) |beglaubigte, hat beglaubigt, etw.(A)| ให้การรับรอง, ยืนยัน, พิสูจน์ว่าจริง เช่น Die Kopie des Abschlusszeugnisses muß beglaubigt werden. สำเนาใบประกาศนียบัตรจบการศึกษาต้องได้รับการรับรอง | Fachoberschule | (n) |die, pl.Fachoberschulen| สถาบันวิชาชีพ, สถานศึกษาด้านอาชีพหรือโรงเรียนอาชีวะซึ่งเทียบเท่ากับโรงเรียนมัธยมปลาย จบไปได้ประกาศนียบัตรเป็น Fachhochschulreife | angeblich | (adj, adv) เป็นที่ประกาศให้ทราบ, เป็นที่รู้กัน เช่น Er ist angeblich wieder mit seiner Ex-Freundin zusammen und will sie sogar heiraten. | Bekanntgabe | (n) |die, nur Sg.| การประกาศอย่างเป็นทางการ เช่น Der Amtsinhaber trat nach Bekanntgabe der Wahlergebnisse im Fernsehen auf. |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |