ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ละเว้น, -ละเว้น- |
ละเว้น | (v) exclude, See also: leave out, omit, reject, make an exception of, Syn. ยกเว้น, Example: การออกเงินให้กู้ แกก็ไม่เคยละเว้นดอกเบี้ยให้ใคร | ละเว้น | (v) exclude, See also: leave out, omit, reject, make an exception of, Syn. ยกเว้น, Example: การออกเงินให้กู้ แกก็ไม่เคยละเว้นดอกเบี้ยให้ใคร |
|
| ละเว้น | ก. งดเว้น, ยกเว้น, เช่น ลงโทษทุกคนไม่ละเว้นผู้ใด ทุกคนถูกบังคับให้ทำงานไม่มีละเว้น. | ข่มขืนใจ | ก. บังคับจิตใจหรือฝืนใจให้ต้องกระทำการหรืองดเว้นกระทำการ เช่น ข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย ซึ่งเป็นความผิดต่อเจ้าพนักงาน. | ขอที, ขอเสียที | ก. ห้ามเชิงขอร้อง, ขอให้ละเว้นการกระทำ. | ขอบิณฑบาต | ก. ขอให้ละเว้นการกระทำ. | คดีปกครอง | น. คดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนหรือระหว่างหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน ซึ่งเป็นข้อพิพาทอันเนื่องมาจากกระทำหรือการละเว้นการกระทำในทางปกครองของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ. | ทุจริตต่อหน้าที่ | ก. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่ หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ทั้งที่ตนมิได้มีตำแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตนเองหรือผู้อื่น. | เว้น | ก. แยกเอาออก (ไม่ให้พัวพันกันอยู่กับสิ่งซึ่งพึงกระทำหรือไม่พึงกระทำ) เช่น ทำเลขทุกข้อเว้นข้อ ๔ เปิดทุกวันเว้นวันนักขัตฤกษ์ วันโกนไม่ละวันพระไม่เว้น, เป็นคำใช้ได้ทั่ว ๆ ไป ถ้าต้องการให้ทราบชัดว่าเว้นด้วยลักษณะไหน ก็เอาคำอื่นซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกันมาประกอบเข้า เช่น งดเว้น ยกเว้น ละเว้น. | เวรมณี | (-ระมะนี) น. การงดเว้น, การละเว้น. |
| | Omission, Criminal | การละเว้นทางอาญา [TU Subject Heading] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
| โดยไม่มีข้อละเว้น | [dōi mai mī khølawēn] (adv) EN: without exception | การละเว้น | [kān lawen] (n) EN: abstinence FR: abstention [ f ] ; abstinence [ f ] | ข้อละเว้น | [khølawēn] (n) EN: prohibition ; exception | ละเว้น | [lawen] (v) EN: refrain from ; abstain ; stop ; exclude ; leave out ; omit ; reject ; make an exception of ; abandon ; give up ; remit ; desert FR: s'abstenir ; arrêter ; se désister ; abandonner ; quitter | ไม่มีการละเว้น | [mai mī kān lawen] (x) EN: without exception FR: sans exception |
| abstain | (vi) งดเว้น, See also: ละเว้น, Syn. refrain, forbear, avoid | abstain from | (phrv) ละเว้นจาก, See also: ละเว้น, หลีกเลี่ยง, Syn. forbear from | celibacy | (n) การละเว้นจากการร่วมเพศ, Syn. chastity, sexual abstention | chastity | (n) การถือพรหมจรรย์, See also: การละเว้นเรื่องเพศ, พรหมจรรย์, ความเป็นพรหมจรรย์, ความบริสุทธิ์, Syn. celibacy, sexual abstention, sexual morality, virtue | dispense from | (phrv) ยกเว้น, See also: ละเว้นให้ | forbear from | (phrv) งดเว้นจาก, See also: ละเว้นจาก, หลีกเลี่ยง โดยควบคุมตัวเอง, ป้องกันตนจาก, Syn. refrain from, withhold from | exempt | (vt) ยกเว้น, See also: ละเว้น, Syn. grant, immunity, release | keep off | (phrv) งด, See also: ละเว้น, ยกเลิก, Syn. keep away from, stay away from, stay off | nonfeasance | (n) การเพิกเฉย (ทางกฎหมาย), See also: การละเลย, การละเว้นไม่ยอมปฏิบัติตาม, ความล้มเหลว, Syn. failure, lack, omission | prevent from | (phrv) งดเว้นจาก, See also: ละเว้นจาก, Syn. hinder from, keep from | refrain | (vi) งดเว้น, See also: หลีกเลี่ยง, ละเว้น, เลิก, Syn. abstain, avoid, cease | restrain from | (phrv) ละเว้นจาก, See also: ระงับจาก, ยับยั้งจาก, Syn. prevent from |
| absentee | (แอบ' เซนที) n. ผู้ที่ไม่มา, ผู้ละเว้นหน้าที่, ผู้สละทรัพย์สมบัติ. | abstain | (แอบสเทน') vt. ละเว้น, ไม่ลงคะแนนเสียง, ไม่ฟุ่มเฟือยในการกินและดื่ม, อดเหล้า, สละสิทธิ์ -abstainer n., Syn. forbear, desist | abstention | (แอบสเทน' เชิน) n. การงด, การละเว้น, การสละสิทธิ์. -abstentious adj. | continence | (คอน'ทะเนินซฺ) n. การควบคุมใจตัวเอง, การรู้จักละเว้น, Syn. continency | dispense | (ดิสเพนซฺ') vt. แจกจ่าย, จัดการ, ปรุงยาและจ่ายยา vi. แจกจ่าย, ละเว้น, งด, ขจัด, ยกเว้น, ไม่จำเป็นต้องมีก็ได้, Syn. scatter | eschew | (เอสชิว') vt. หลบหนี, ละเว้น., See also: eschewal n. ดูeschew eschewer n. ดูeschew | exempt | (เอคเซมพฺทฺ') { exempted, exempting, exempts } vt. ยกเว้น, ละเว้น, พ้น. adj. ซึ่งถูกยกเว้น, พ้น., See also: exemptible adj. | exemption | (เอคเซมพฺ'เชิน) n. การยกเว้น, การละเว้น, ผู้ได้รับการยกเว้นภาษี, การพ้นจาก, See also: exemptive adj. | forbear | (ฟอแบร์') v. อดีตกาลของforbid, อดทน, อดกลั้น, หักห้าม, บังคับจิตใจ, ข่มใจ, ละเว้น. -forbearer n. | miss | (มิส) vt. พลาด, ทำพลาด, ตี, ต่อย, แทง, ฟัน, ขว้าง, ปาพลาด, พลาดโอกาส, พลาดรถไฟหรือพาหนะอื่น ๆ , ทำหาย, คิดถึง, หลบหลีก, หนี, ไม่สามารถเข้าใจ. vi. พลาด, ทำพลาด. n. การพลาด, การทำพลาด, การละเว้น, Syn. lose, fail | moderation | (มอดดะเร'เชิน) n. ความไม่รุนแรง, การกระทำที่พอประมาณ, ความพอควร, การละเว้นของมึนเมา. -Phr. (in moderation พอควร, พอประมาณ), Syn. temperance | omission | (โอมิส'เชิน) n. การละเว้น, การละเลย, Syn. neglect | omissive | (โอมิส'ซิฟว) adj. เป็นการละเว้น, เป็นการละเลย, | omit | (โอมิท') vt. ละเว้น, เว้น, ละเลย, เอาออก, ตัดทอน, ข้ามไป | pardon | (พาร์'ดัน) n. การให้อภัย, ละเว้นโทษ | prohibition | (โพรฮิบิช'เชิน) n. การห้าม, ข้อห้าม, คำสั่งห้าม, ข้อละเว้น, การห้ามผลิตและขายสุรา, See also: prohibitionary adj. | refrain | (รีเฟรน') vi., vt. ระงับ, ข่มจิต, กลั้น, ละเว้น, เลิก, หยุดยั้ง n. (เพลงหรือบทกวี) ลูกคู่, บทลูกคู่, บทซ้ำ, บทรับ, ทำนอง, See also: refrainment n. | remit | (รีมิท') vt., vi. ส่งเงิน, อภัยโทษ, ยกโทษ, ยกหนี้, ละเว้น, ผ่อนคลาย, บรรเทา, ทำให้กลับสู่สภาพเดิม, ให้กลับ, ส่งกลับศาลชั้นต่ำกว่า n. การส่งกลับศาลชั้นต่ำกว่า, การส่งบันทึกจากศาลหนึ่งไปยังอีกศาลหนึ่ง, See also: remittable adj. S. forward, excuse | spare | (สแพรฺ) vt., vi., adj. ประหยัด, สงวน, ออม, เจียด, ไม่ใช้, ปล่อยไป, ปล่อยไว้, ยกโทษให้, อภัยโทษ, ยกชีวิต, ละเว้น, งดเว้น, เหลือไว้, สงวน, มีเหลือ, มีเกิน, ผอม, ขาดแคลน. n. สิ่งที่ออมไว้, ชั้นสำรอง, สิ่งสำรอง, ของอะไหล่ (กีฬาโบว์ลิ่ง) การล้มตัวโบว์ลิ่งลงหมดด้วยลูกโยน2ลูก, แต้มที่ทำได้จากการโยนดังกล่าว | temperance | (เทม'เพอเรินซฺ) n. การควบคุมอารมณ์, การบังคับตัวเอง, การละเว้นสิ่งมึนเมา, ความพอควร, Syn. moderation, self-restraint |
| abstain | (vi) เว้น, ละเว้น, อด | abstention | (n) การเว้น, การสละสิทธิ์, การละเว้น | abstinence | (n) การเว้น, การละเว้น | continence | (n) การรู้จักละเว้น, การบังคับใจตนเอง, ความไม่มักมาก | continent | (adj) ไม่มักมาก, รู้จักละเว้น | eschew | (vt) หลีกเลี่ยง, ละเว้น, หลบหนี, อดกลั้น, กล้ำกลืน | exempt | (vt) ยกเว้นให้, ละเว้น, พ้นจาก | exemption | (n) การยกเว้น, การละเว้น, การพ้นจาก, ผู้ได้รับการยกเว้นภาษี | forbear | (vi, vt) อดกลั้น, หักห้าม, ระงับ, ละเว้น, อดทน, ข่มใจ | forbearance | (n) การข่มใจ, การหักห้าม, การระงับ, ความอดทน, การละเว้น | omission | (n) การเว้น, การละเลย, การละเว้น, การคัดออก | omit | (vt) ละเว้น, ละเลย, เว้น, เอาออก | prohibition | (n) การห้าม, ข้อห้าม, ข้อละเว้น, การปราม, คำสั่งห้าม | refrain | (vi) งด, ละเว้น, กลั้น, ระงับ, ข่มจิต | remission | (n) การลดหย่อน, การหลุดพ้น, การอภัยโทษ, การละเว้น |
| 断つ | [たつ, tatsu] ตัด ตัดขาด เลิก ละเว้น ปลิด(ชีพ) |
| 飛ばす | [とばす, tobasu] TH: ละเว้นไป EN: to omit |
| Studiengebühr | (n) |die, pl. Studiengebühren| เงินบำรุงการศึกษา (ไม่ใช่ค่าหน่วยกิจ เพราะโดยมากแล้ว ในเยอรมนีจะละเว้นค่าหน่วยกิจเนื่องจากรัฐเป็นผู้ช่วยเหลือในส่วนนี้ หรือ เป็นการศึกษาแบบให้เปล่าจากรัฐ จนถึงระดับดิโพลม) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |