|
|
|
|
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | Parliamentary practice | กฎและระเบียบปฏิบัติทางการนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] |
|
|
|
เกี่ยวกับรัฐสภา | [kīokap ratthasaphā] (adj) EN: parliamentary FR: parlementaire |
|
|
|
parliamentary | (adj) relating to or having the nature of a parliament | parliamentary | (adj) having the supreme legislative power resting with a body of cabinet ministers chosen from and responsible to the legislature or parliament | parliamentary | (adj) in accord with rules and customs of a legislative or deliberative assembly | parliamentary agent | (n) a person who is employed to look after the affairs of businesses that are affected by legislation of the British Parliament | parliamentary democracy | (n) a democracy having a parliament | parliamentary monarchy | (n) a monarchy having a parliament |
|
Parliamentary | a. [ Cf. F. parlementaire. ] [ 1913 Webster ] 1. Of or pertaining to Parliament; as, parliamentary authority. Bacon. [ 1913 Webster ] 2. Enacted or done by Parliament; as, a parliamentary act. Sir M. Hale. [ 1913 Webster ] 3. According to the rules and usages of Parliament or of deliberative bodies; as, a parliamentary motion; parliamentary order; parliamentary procedure. [ 1913 Webster +PJC ] Parliamentary agent, a person, usually a solicitor, professionally employed by private parties to explain and recommend claims, bills, etc., under consideration of Parliament. [ Eng. ] -- Parliamentary train, one of the trains which, by act of Parliament, railway companies are required to run for the conveyance of third-class passengers at a reduced rate. [ Eng. ] [ 1913 Webster ]
|
|
|
|
議席 | [ぎせき, giseki] (n) parliamentary seat; (P) #4,488 [Add to Longdo] | 政務次官 | [せいむじかん, seimujikan] (n) parliamentary vice-minister; (P) #18,106 [Add to Longdo] | 院外 | [いんがい, ingai] (n, adj-no) non-parliamentary; outside congress [Add to Longdo] | 院外団 | [いんがいだん, ingaidan] (n) nonparliamentary party association [Add to Longdo] | 議員特権 | [ぎいんとっけん, giintokken] (n) parliamentary privilege [Add to Longdo] | 議院内閣制 | [ぎいんないかくせい, giinnaikakusei] (n) parliamentary system of government [Add to Longdo] | 議会制民主主義 | [ぎかいせいみんしゅしゅぎ, gikaiseiminshushugi] (n) parliamentary democracy [Add to Longdo] | 議会政治 | [ぎかいせいじ, gikaiseiji] (n) parliamentarism; parliamentary government [Add to Longdo] | 議会選挙 | [ぎかいせんきょ, gikaisenkyo] (n) parliamentary election [Add to Longdo] | 合議制 | [ごうぎせい, gougisei] (n) parliamentary system [Add to Longdo] |
|