|
| กายทุจริต | (กายยะทุดจะหฺริด, กายทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางกาย ได้แก่ การฆ่าสัตว์ ๑ การลักทรัพย์ ๑ การประพฤติผิดในกาม ๑. | กายสุจริต | (กายยะสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางกาย มี ๓ อย่าง ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ ๑ การไม่ลักทรัพย์ ๑ การไม่ประพฤติผิดในกาม ๑. | กุลสตรี | (กุนละสัดตฺรี, กุนละสะตฺรี) น. หญิงผู้มีตระกูลและมีความประพฤติดี. | เข้าคอ | ก. ประพฤติให้ถูกใจกันได้, มีความประพฤติถูกกัน, ไม่ขัดคอกัน. | จรณะ | (จะระ-) น. ความประพฤติ, ในพระพุทธศาสนาหมายความว่า ข้อปฏิบัติเป็นเครื่องบรรลุวิชชา. | จรรยา | (จัน-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่ในคณะ เช่น จรรยาแพทย์, นิยมใช้ในทางดี เช่น มีจรรยา หมายความว่า มีความประพฤติที่ดี. | จรรยาบรรณ | (จันยาบัน) น. ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้. | จริต | (จะหฺริด) น. ความประพฤติ, กิริยาหรืออาการ, เช่น เสียจริต วิกลจริต, มักใช้ในทางไม่ดี เช่น ดัดจริต มีจริต, จริตจะก้าน ก็ว่า, ความประพฤติปรกติ, ความประพฤติที่หนักไปทางใดทางหนึ่ง อันเป็นปรกติอยู่ในสันดาน, แนวโน้มของจิตใจ, มี ๖ อย่าง คือ ราคจริต โทสจริต โมหจริต สัทธาจริต พุทธิจริต วิตกจริต. | จริย- | (จะริยะ-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น จริยศึกษา. | จริยวัตร, จริยาวัตร | ความประพฤติ ท่วงทีวาจา และกิริยามารยาท. | จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | จริยศึกษา | น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม. | จริยา | (จะ-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น ธรรมจริยา. | ชื่นใจ | ก. มีความสุข, มีความพอใจ, เช่น ลูกมีความประพฤติดี พ่อแม่ก็ชื่นใจ กลิ่นดอกไม้หอมชื่นใจ. | ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. | ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. | แตกฝูง | ก. ปลีกตัวออกจากหมู่, มีความประพฤติหรือความเห็นผิดแผกไปจากหมู่. | เถน | น. ชายที่มีอายุ อาศัยอยู่กินที่วัด อาจถือศีลหรือไม่ก็ได้ นุ่งห่มผ้าเหลืองตามแต่จะหาได้ บางคนมีความประพฤติดี บางคนมีความประพฤติไม่เหมาะสม. | ทุ ๑ | ว. คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทำได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า ปัญญาทราม เป็นต้น. (ดู ทุร ประกอบ). | ทุจริต | (ทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่ว, ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางกาย เรียกว่า กายทุจริต, ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต, ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต. | ทุราจาร | น. ความประพฤติชั่วช้าเลวทรามในที่ซึ่งไม่ควร. | โทสจริต | (โทสะจะหฺริด) น. ความประพฤติที่มีพื้นนิสัยหนักไปในทางใจร้อน หงุดหงิด โกรธง่าย, เป็นจริต ๑ ในจริต ๖. (ป.). (ดู จริต). | ธรรมนิยม | น. ความประพฤติที่มีธรรมเป็นที่ตั้ง. | นิสัย | น. ความประพฤติที่เคยชิน เช่น ทำจนเป็นนิสัย | เนตรนารี | น. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. | ใบสุทธิ | น. เอกสารแสดงวิทยฐานะและความประพฤติเป็นต้นของบุคคลผู้ถือเมื่อลาออกหรือจบการศึกษาชั้นสูงสุดของโรงเรียน. | ปฏิปทา | ความประพฤติ เช่น พระภิกษุรูปนี้มีปฏิปทาน่าเลื่อมใส. | ปติวัตร | น. ความประพฤติต่อผัว, ความจงรักในผัว. | ปรัตถจริยา | (ปะรัดถะจะริ-) น. ความประพฤติให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น. | ผ่าเหล่า | ว. มีความประพฤติผิดไปจากเทือกเถาเหล่ากอ (ใช้ในทางไม่ดี), ผ่าเหล่าผ่ากอ ก็ว่า. | ผู้หลักผู้ใหญ่ | บุคคลที่วางตัวหรือมีความคิดและความประพฤติเหมาะสมกับสถานภาพ เช่น แต่งงานแล้วดูเป็นผู้หลักผู้ใหญ่มากขึ้น. | พรต | มรรยาท, เขตแห่งความประพฤติ, ธรรมเนียม, ประเพณี, การสมาทานหรือประพฤติตามลัทธิศาสนา, การจำศีล (เช่น การเว้นบริโภค เว้นเมถุนธรรม) | พฤติ, พฤติ- | (พฺรึด, พฺรึดติ-) น. ความประพฤติ, กิจการ, ความเป็นไป | ฟอนเฟะ | ว. เละเทะ, เป็นที่น่ารังเกียจ, เช่น มีความประพฤติฟอนเฟะ สังคมฟอนเฟะ. | มโนทุจริต | (มะโนทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความโลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความพยาบาท ๑ ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม ๑. | มโนสุจริต | (มะโนสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความไม่โลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความไม่พยาบาท ๑ ความเห็นถูกตามทำนองคลองธรรม ๑. | มือสะอาด | ว. มีความประพฤติดี, มีความซื่อสัตย์สุจริตไม่คดโกงหรือฉ้อราษฎร์บังหลวง. | แม่พิมพ์ | น. สิ่งที่เป็นต้นแบบ เช่น แม่พิมพ์ตัวหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงครูอาจารย์ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่างความประพฤติของศิษย์. | ราคจริต | (ราคะจะหฺริด) น. ความประพฤติที่หนักไปทางความใคร่ในกามคุณ เช่น เขามีราคจริตมากจึงก่อคดีล่วงละเมิดทางเพศ, ความประพฤติที่มีพื้นนิสัยหนักไปในทางรักสวยรักงาม, เป็นจริต ๑ ในจริต ๖. (ป.) (ดู จริต). | ร้ายกาจ | ว. ร้ายมาก, ร้ายยิ่ง, เช่น เด็กคนนี้ความประพฤติร้ายกาจ ขยะส่งกลิ่นเหม็นร้ายกาจ. | ล่อแหลม | ว. หมิ่นเหม่, อยู่ในที่ใกล้อันตราย, เช่น แต่งตัวล่อแหลม พูดจาล่อแหลม ความประพฤติล่อแหลมต่อคุกตะราง. | เละเทะ | มีความประพฤติเหลวไหลไม่มีความรับผิดชอบ เช่น คนกินเหล้าเมายาเป็นคนเละเทะ เชื่อถือไม่ได้, มีความประพฤติเป็นที่น่ารังเกียจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น ผู้หญิงคนนั้นทำตัวเละเทะ. | เลือดก้อนเดียวตัดทิ้งได้ | น. ลูกคนเดียวตัดทิ้งได้ในเมื่อมีความประพฤติไม่เป็นที่พอใจพ่อแม่. | โลกัตถจริยา | (โลกัดถะจะ-) น. ความประพฤติเป็นประโยชน์แก่โลก. | โลกานุวัตร | น. ความประพฤติตามโลก. | วจีทุจริต | (วะจีทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การพูดเท็จ ๑ การพูดคำหยาบ ๑ การพูดส่อเสียด ๑ การพูดเพ้อเจ้อ ๑. | วจีสุจริต | (วะจีสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การไม่พูดเท็จ ๑ การไม่พูดคำหยาบ ๑ การไม่พูดส่อเสียด ๑ การไม่พูดเพ้อเจ้อ ๑. | วต-, วตะ | ความประพฤติ | วัต | ความประพฤติ. | วัตร, วัตร- | ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. |
| | Convention on Code for Liner Conferences 1974 | อนุสัญญาว่าด้วยประมวลความประพฤติของชมรมสายการเดินเรือ (ค.ศ. 1974) [TU Subject Heading] | Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] | Aestivation | การเปลี่ยนแปลงทั้งทางสรีรวิทยาและทางความประพฤติ [การแพทย์] | Behavioral Pattern | ความประพฤติ [การแพทย์] | Conduct Disorders | ปัญหาด้านความประพฤติ, พฤติกรรมแปรปรวนนอกลู่นอกทาง [การแพทย์] |
| | cad | (n) ผู้ชายที่มีความประพฤติไม่ดี | censor | (n) ผู้ควบคุมความประพฤติ | comportment | (n) ความประพฤติ, Syn. behavior | conduct | (n) ความประพฤติ, Syn. behavior | decency | (n) ความประพฤติที่ถูกทำนองคลองธรรม, See also: ความเหมาะสม, มารยาท, ความสุภาพ, Syn. decorum, propriety | deviation | (n) ความประพฤติที่เบี่ยงเบน, See also: การเบี่ยงเบนทางความประพฤติ, Syn. noncompliance, Ant. conformity | form | (n) พฤติกรรม, See also: ความประพฤติ, Syn. behavior, manner | hanky-panky | (n) ความประพฤติที่ไม่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, See also: นิสัยที่ไม่ดี, Syn. mischief, monkey business, trick | mend one's ways | (idm) แก้ไขพฤติกรรม, See also: ปรับปรุงตัว, ปรับปรุงความประพฤติ | infamy | (n) การมีชื่อเสียงในทางลบ, See also: นิสัยเลว, ความประพฤติไม่ดี, Syn. notoriety, scandal, disrepute | morals | (n) หลักความประพฤติ, See also: หลักจรรยา, หลักปฏิบัติ, หลักศีลธรรม, Syn. standards, dogmas | motto | (n) ภาษิต, See also: คติ, คำขวัญ, หลักความประพฤติ, Syn. slogan, catchword | probation | (n) การภาคทัณฑ์, See also: การคุมความประพฤติ | profanity | (n) ความไม่นับถือพระเจ้า, See also: ความประพฤติที่ไม่เชื่อในพระเจ้า | take after | (phrv) มีรูปร่างหน้าตาหรือความประพฤติเหมือน | well-bred | (adj) ซึ่งมีความประพฤติดีเหมือนอบรมเลี้ยงดูมาอย่างดี, Syn. well-behaved, well-mannered, refined, Ant. ill-bred, impolite, rude |
| action | (แอค' เชิน) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง, ขั้นตอน, การฟ้องร้อง, ฤทธิ์, อำนาจ, เหตุการณ์, การใช้กำลัง, การเดิน, การเคลื่อนไหว, การรบ, การพนัน, การกระทำที่ตื่นเต้น. -actions ความประพฤติ | advice | (แอดไวสฺ') n. คำแนะนำ, ข้อคิดเห็น, ความเห็น, ความประพฤติ, การบอกข่าว, ข่าว, รายงาน, Syn. counsel, notification | behavior | (บิเฮฟ'วิเออะ) n. ความประพฤติ, การกระทำตัว, พฤติกรรม, อาการ, ท่าที, Syn. manners | behaviour | (บิเฮฟ'วิเออะ) n. ความประพฤติ, การกระทำตัว, พฤติกรรม, อาการ, ท่าที, Syn. manners | character | (แค'ริคเทอะ) n. ตัวอักษร, อักขระ, อุปนิสัย, คุณสมบัติ, ลักษณะพิเศษ, หลักความประพฤติ, ความรักหรือหยิ่งในศักดิ์ศรี, ชื่อเสียงที่ดี, เกียรติคุณ, ฐานะตัวในเรื่อง, บทบาทในละครหรือภาพยนตร์, สัญลักษณ์, See also: characterisation, characterization n. | comport | (คัมพอร์ท', -โพร์ท') { comported, comporting, comports } vt . ประพฤติ, แสดงออก. vi. เข้าได้กับ n. ความประพฤติ, พฤติการณ์, กิริยามารยาท, See also: comportment n. ดูcomport, Syn. conduct, act | conduct | (คอน'ดัคทฺ) { conducted, conducting, conducts } n. ความประพฤติ, การปฎิบัติ, การชี้นำ. vt. (คอนดัคทฺ') นำไปซึ่ง, ชักนำ. vi. นำ, ชักนำ, เป็นคนนำ, See also: conductible adj. ดูconduct conductibility n. ดูconduct, Syn. deportment, b | correctitude | (คะเรค'ทิทูด) n. ความถูกต้อง, ความประพฤติที่เหมาะสม, Syn. correctness | cricket | (คริค'คิท) n. จิ้งหรีด, กีฬาคริคเก็ต, การเล่นที่ยุติธรรม, ความประพฤติของสุภาพของสุภาพบุรุษ vi. | demeanor | (ดิมี'เนอะ) n. ความประพฤติ, ท่าทาง, การวางตัว, สีหน้า, หน้าตา | demeanour | (ดิมี'เนอะ) n. ความประพฤติ, ท่าทาง, การวางตัว, สีหน้า, หน้าตา | faux pas | (โฟพา') ความประพฤติผิด, ความผิดพลาด | going | (โก'อิง) n. การไป, สภาพของผิวหน้าถนนหนทาง., See also: goings n. นิสัย, ความประพฤติ adj. เคลื่อนที่, กระฉับกระเฉง, มีชีวิต, ทั่วไป, ตามปกติ, ปัจจุบัน, ซึ่งกำลังจากไป, Syn. departure, ongoing | golden rule | หลักความประพฤติที่ให้ปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนที่ปฏิบัติต่อตัวเอง | ground rule | หลักความประพฤติขั้นพื้นฐาน | infamy | (อิน'ฟะมี) n. การมีชื่อเสียงในทางที่เลว, นิสัยหรือความประพฤติที่เลว, Syn. dishonour | juvenile delinquency | ความประพฤติผิดของเด็กและเยาวชน | law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง | malversation | (แมลเวอเซ'เชิน) n. ความประพฤติที่ไม่สมควรของข้าราชการ, ฉ้อราษฎร์บังหลวง | mischief | (มิส'ชีฟ) n. ความซุกซน, การชอบรบกวน, ความประพฤติหรือการกระทำที่ทำให้เกิดอันตรายหรือความลำบาก, อันตราย, ความลำบาก, ความร้าย, Syn. harm, Ant. advantage | misconduct | (มิสคอน'ดัคทฺ) n. ความประพฤติที่ผิดหรือไม่เหมาะสม, การกระทำผิด. vt. ประพฤติผิด, กระทำผิด, Syn. malfeasance | monitor | (มอน'นิเทอะ) n. นักเรียนผู้ทำหน้าที่ช่วยครูดูแลความประพฤติของนักเรียนคนอื่น, เครื่องเตือน, เครื่องบอกเหตุ, เหี้ยหรือจะกวด, เครื่องรับการส่งวิทยุ, พี่เลี้ยง. vt. ใช้เครื่องรับฟังสัญญาณ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม, สังเกต, ควบคุม. vi. เป็นเครื่องเตือน, เป็นเครื่องตรวจ. ตัวจอภาพหมายถึง ตัวจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องปลายทาง (terminal) จอภาพนั้นมีหลายชนิด เช่น สีเดียว, หลายสี มีหลายขนาด จอภาพที่ดีจะต้องมีความถี่สูง ทำให้ได้ภาพที่นิ่งสนิท (non interlaced) ทำให้ไม่มีอันตรายต่อสายตา มีความคมชัดสูง (high resolution) ขนาดมาตรฐานจะมีความละเอียด 1024 x 768 จุด แบบที่ผลิตออกมาขายใหม่ ๆ จะมีข้อดีอีกข้อหนึ่ง คือ ประหยัดไฟ โดยปิดตัวเองได้ในขณะที่ไม่ใช้งาน เรียกว่า green monitor | moral | (มอ'เริล, โม'เริล) adj. เกี่ยวกับศีลธรรม, เกี่ยวกับจรรยา, เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบ, บริสุทธิ์, เกี่ยวกับจิตใจ, ขึ้นอยู่กับการสังเกต. n. หลักศีลธรรม, หลักธรรมจริยา, See also: morals n. หลักความประพฤติ, Syn. ethical | motto | (มอท'โท) n. ภาษิตคำขวัญ, คติพจน์, คำพังเพย, หลักความประพฤติ pl.mottoes, mottos | proctor | (พรอค'เทอะ) n. ทนาย, ผู้ดูแลความประพฤติของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย, เจ้าหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อย. vt., vi. ดูแลความประพฤติ, ดูแลความสงบเรียบร้อย, See also: proctorial adj. proctorship n., Syn. agent, proxy | proper | (พรอพ'เพอะ) adj. เหมาะสม, เหมาะ, สมควร, ถูกต้อง, ถูกกาลเทศะ, ถูกมารยาท, เกี่ยวกับบุคคลใดหรือสิ่งใดโดยเฉพาะ, อันแท้จริง, ดั้งเดิม, กับตา, โดยตัวของมันเอง, เคร่งครัด, สมบูรณ์, เต็มที่, ดี. n. พิธีการ, มารยาท, ความประพฤติ, Syn. fit, suitable | slate | (สเลท) n. กระดานชนวน, หินชนวน, สีหินชนวน, สีเทาอมน้ำเงินเข้ม, รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ที่จะได้รับการพิจารณาคัดเลือก, -Phr. (clean slate ประวัติความประพฤติที่ขาวสะอาด) vt. ปูด้วยหินชนวน, ปูด้วยแผ่นหิน, เสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้ง, กำหนดรายชื่อผู้ที่อยู่ในข่ายที่จะได้รับพิจารณาได้รับเลือก | tao | (เดา, เทา) n. เต๋า, พื้นฐานความประพฤติที่สมควรของมนุษย์หรือการดำเนินชีวิตอย่างง่าย ๆ | tick | (ทิค) n., vi., vt. (เกิด, ทำ) เสียงดังติ๊ก ๆ ของนาฬิกา, ขณะ, ช่วงระยะเวลาอันสั้น, เครื่องหมายจุด, เครื่องหมายจดบัญชี. n. แมลงเช่นเห็บหมัดที่ดูดเลือดกินเป็นอาหาร, ปลอกหมอน, ผ้าปูที่นอน. -Phr. (what makes one tick หลักความประพฤติ, สิ่งดลใจ) | well-conditioned | (เวล'คันดิช'เชินดฺ) adj. แข็งแรง, มีสุขภาพดี, สมบูรณ์, มีนิสัยดี, มีความประพฤติดี | well-conducted | (เวลคอนดัค'ทิด) adj. มีความประพฤติดี | well-doing | (เวล'ดูอิง) n. ความประพฤติดี, การกระทำแต่ความดี, การกระทำที่ดี |
| behaviour | (n) ความประพฤติ, พฤติกรรม, พฤติการณ์, อาการ, การปฏิบัติ | censor | (n) ผู้ติชม, ผู้ตรวจหนังสือพิมพ์ฯลฯ, ผู้ควบคุมความประพฤติ | character | (n) ความประพฤติ, ลักษณะ, อุปนิสัย, ตัวอักษร, เครื่องหมาย, ตัวละคร | conduct | (n) การชี้นำ, การทำ, ความประพฤติ, การปฏิบัติ | demeanour | (n) ความประพฤติ, การวางตัว, ท่าทาง, การกระทำ, การปฏิบัติตัว | deportment | (n) พฤติกรรม, ความประพฤติ, การวางตัว, การวางท่าทาง | doings | (n) การปฏิบัติ, ความประพฤติ, พฤติกรรม, การกระทำ | infamy | (n) ชื่อเสีย, นิสัยเลว, ความประพฤติเลว | manner | (n) กิริยาท่าทาง, วิธี, ลักษณะ, อาการ, มารยาท, ความประพฤติ | misbehaviour | (n) ความประพฤติเลว, การประพฤติผิด, ความซุกซน | moral | (n) ศีลธรรม, จรรยา, ความประพฤติ | propriety | (n) ความเหมาะสม, ความถูกต้อง, ความสมควร, ความประพฤติ, ระเบียบ |
| 振る舞い | [ふるまい, furumai] (n) การกระทำ, ความประพฤติ, การต้อนรับ, See also: S. 行動こうどう), ごちそう |
| Verhalten | (n) |das, nur Sg.| ลักษณะท่าทางอาการ, ความประพฤติ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |