มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ คะแนนเสียง | (n) vote, See also: ballot, Example: ส่วนหนึ่งของความสำเร็จของหัวคะแนนในการชักจูงให้ชาวบ้านลงคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครที่ตนสนับสนุนคือ การที่หัวคะแนนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวบ้าน, Thai Definition: ความเห็นที่ลงเป็นคะแนน, คะแนนจากผู้ที่มีสิทธิ์ออกเสียง | ลงคะแนนเสียง | (v) vote for, See also: elect, cast one's vote, ballot, opt, Syn. ลงคะแนน, โหวต, Example: ผู้ที่รับเงินเพื่อลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัคร เป็นพวกเห็นแก่เงิน, Thai Definition: แสดงความเห็นโดยนับความเห็นของผู้ออกเสียงคนหนึ่งเป็นหนึ่งคะแนน | คะแนนเสียงข้างมาก | (n) majority vote, Syn. เสียงส่วนใหญ่, Ant. คะแนนเสียงข้างน้อย, เสียงส่วนน้อย, Count Unit: คะแนน, Thai Definition: คะแนนเสียงที่มีมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนผู้ลงคะแนนเสียง | คะแนนเสียงข้างน้อย | (n) minority vote, Syn. เสียงส่วนน้อย, Ant. คะแนนเสียงข้างมาก, เสียงส่วนใหญ่, Count Unit: คะแนน, Thai Definition: คะแนนเสียงที่มีน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนผู้ลงคะแนนเสียง | ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | (n) elector, See also: qualified voter |
| คะแนนเสียง | น. คะแนนที่ลงในการออกเสียง. | แกนนำ | ผู้ที่เป็นหลักในการเจรจาเพื่อดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พรรคที่ได้คะแนนเสียงข้างมากเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล. | ท่วมท้น | ว. มากมายเหลือล้น เช่น ได้คะแนนเสียงท่วมท้น. | ฝักถั่ว | น. การแสดงความอ่อนน้อม อ้อนวอน หรือขอร้องโดยวิธียกมือไหว้ เช่น มืออ่อนเป็นฝักถั่ว, การพลอยยกมือแสดงความเห็นชอบตามเขาไป มักใช้พูดตำหนินักการเมืองในเวลาลงคะแนนเสียง. | ไพ่ไฟ | น. บัตรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่ลงด้วยวิธีการทุจริต | มติพิเศษ | น. มติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด ที่ได้ลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน. | สังเกตการณ์ | ก. เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง. น. เรียกผู้เข้าร่วมประชุมที่ไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง ว่า ผู้สังเกตการณ์. | เสียง | ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก. | เสียงแข็ง | น. คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่. | เสียงดี | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ. | เสียงตก | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าในการเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก. | เสียงแตก | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงแตกแยก เช่น เรื่องนี้ยังลงมติไม่ได้ เพราะในที่ประชุมยังมีเสียงแตกกัน. | หัวคะแนน | น. ผู้รับหาคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง. | ออกเสียง | ลงคะแนนเสียง |
| popular vote | คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | plurality | คะแนนเสียงที่เหนือกว่า (คู่แข่งขัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | limited vote | การลงคะแนนเสียงแบบจำกัด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | record vote | ๑. การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีเรียกชื่อ๒. การได้คะแนนเสียงมากเป็นประวัติการณ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | recount | การนับคะแนนเสียงใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | single transferable vote | คะแนนเสียงที่ปัดให้ลำดับถัดไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | simple majority | คะแนนเสียงข้างมากปรกติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | still hunt | การใช้เล่ห์ล่าคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | absentee voting | การลงคะแนนเสียงโดยไม่ต้องไปที่หน่วยเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | absolute majority | คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | absolute majority | คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | quotient, electoral; quota, electoral | เกณฑ์คะแนนเสียงอย่างน้อย (ที่จะได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | quota, electoral; quotient, electoral | เกณฑ์คะแนนเสียงอย่างน้อย (ที่จะได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | buying an election | การซื้อคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | majority, simple | คะแนนเสียงข้างมากปรกติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | majority, two-third | คะแนนเสียงสองในสาม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | machine, voting | เครื่องนับและบันทึกคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | minority | ๑. คะแนนเสียงข้างน้อย, ฝ่ายข้างน้อย๒. ภาวะผู้เยาว์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | majority | ๑. คะแนนเสียงข้างมาก, ฝ่ายข้างมาก๒. การบรรลุนิติภาวะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | majority of votes | คะแนนเสียงข้างมาก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | majority, absolute | คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | canvass | ๑. การตรวจนับคะแนนเสียงเลือกตั้ง๒. การออกหาเสียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | canvasser | ๑. ผู้ตรวจนับคะแนนเสียงเลือกตั้ง๒. ผู้ตระเวนหาเสียง, ผู้ช่วยหาเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | canvasser | ๑. กรรมการตรวจนับคะแนนเสียงเลือกตั้ง๒. ผู้ช่วยหาเสียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | cumulative voting | ๑. การออกเสียงลงคะแนนแบบสะสม๒. การทุ่มคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | cumulative voting | การออกเสียงลงคะแนนแบบสะสม, การทุ่มคะแนนเสียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | division | ๑. กอง (หน่วยงาน)๒. กองพล๓. การแบ่งพวก (ลงคะแนนเสียง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | division | ๑. กอง, กองพล (ทหาร) (ก. ปกครอง)๒. การแบ่งพวก (ลงคะแนนเสียง) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | floating vote | ๑. คะแนนเสียงเลื่อนลอย๒. คะแนนเสียงของผู้ไม่สังกัดพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | electoral quota; electoral quotient | เกณฑ์คะแนนเสียงอย่างน้อย (ที่จะได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | electoral quotient; electoral quota | เกณฑ์คะแนนเสียงอย่างน้อย (ที่จะได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | electoral vote | คะแนนเสียงของคณะผู้เลือกตั้ง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | voting, cumulative | ๑. การออกเสียงลงคะแนนแบบสะสม๒. การทุ่มคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | voting, cumulative | การออกเสียงลงคะแนนแบบสะสม, การทุ่มคะแนนเสียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | vote | ๑. การออกเสียง, การออกเสียงลงคะแนน, การลงคะแนนเสียง๒. การลงมติ, มติ๓. คะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | voting machine | เครื่องนับและบันทึกคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | vote, electoral | คะแนนเสียงของคณะผู้เลือกตั้ง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | vote, floating | ๑. คะแนนเสียงเลื่อนลอย๒. คะแนนเสียงของผู้ไม่สังกัดพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | vote, popular | คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | vote, record | ๑. การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีเรียกชื่อ๒. การได้คะแนนเสียงมากเป็นประวัติการณ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tie | คะแนนเสียงเท่ากัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | two-third majority | คะแนนเสียงสองในสาม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | teller | กรรมการนับคะแนนเสียง (ในสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | teller | ๑. ผู้นับคะแนนเสียง๒. พนักงานรับ-จ่ายเงิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | hunt, still | การใช้เล่ห์ล่าคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Voting | การลงคะแนนเสียง [TU Subject Heading] | Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | negative vote | ลงคะแนนเสียงคัดค้าน [การทูต] | unanimous vote | คะแนนเสียงเอกฉันท์ [การทูต] | Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
| การลงคะแนนเสียง | [kān long khanaēnsīeng] (n, exp) EN: voting FR: vote | คะแนนเสียง | [khanaēnsīeng] (n) EN: vote ; ballot FR: vote [ m ] ; scrutin [ m ] | คะแนนเสียงชี้ขาด | [khanaēnsīeng chīkhāt] (n, exp) EN: casting vote | คะแนนเสียงข้างมาก | [khanaēnsīeng khāngmāk] (n, exp) EN: majority vote | คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด | [khanaēnsīeng khāngmāk detkhāt] (n, exp) EN: absolute majority FR: majorité absolue [ f ] | คะแนนเสียงข้างน้อย | [khanaēnsīeng khāng nøi] (n, exp) EN: minority vote | ลงคะแนนเสียง | [long khanaēnsīeng] (v, exp) EN: vote for ; elect ; cast one's vote ; ballot ; opt FR: voter pour ; élire ; choisir | แพ้คะแนนเสียง | [phaē khanaēnsīeng] (v, exp) EN: be outvoted | ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | [phū mī sit long khanaēnsīeng leūaktang] (xp) EN: elector ; qualified voter ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] |
| abstain | (vi) ไม่ลงคะแนนเสียง, See also: นอนหลับทับสิทธิ์ | ballot | (n) วิธีลงคะแนนเสียงแบบลับ, Syn. election | ballot for | (phrv) ออกเสียงให้, See also: ลงคะแนนเสียงให้ | elect with | (phrv) ได้รับเลือกด้วย (คะแนนหรือคะแนนเสียง), Syn. return with | electioneer | (vi) ใช้อิทธิพลหรือวิธีการที่ไม่ซื่อสัตย์เพื่อได้คะแนนเสียงมา | electoral vote | (n) คะแนนเสียงที่ผู้แทนรัฐลงให้เพื่อเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิดีของสหรัฐอเมริกา | go to the polls | (idm) ลงคะแนนเสียง | vote of confidence | (idm) ผลการสำรวจที่แสดงฐานคะแนนเสียง | knock up | (phrv) พยายามหาคะแนนเสียง (การเลือกตั้ง) | plebiscite | (n) การลงคะแนนเสียงชี้ขาดโดยประชาชนทั่วไป, Syn. poll, referendum, vote | poll | (n) ผลคะแนนการออกเสียงเลือกตั้ง, See also: ผลการเลือกตั้ง, ผลการนับคะแนนเสียง | poll | (vt) ได้รับคะแนนเสียง | poll | (vt) ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, See also: ออกเสียงเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, Syn. ballot | poll | (vi) ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, See also: ออกเสียงเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, Syn. ballot | put to | (phrv) ตัดสินด้วยคะแนนเสียง | razor-thin | (adj) ชนะด้วยคะแนนเสียงจำนวนน้อยมาก | return with | (phrv) ได้รับเลือก (ตั้ง) ด้วย (คะแนนเสียง), Syn. elect with | suffrage | (n) การออกเสียงเลือกตั้ง, See also: การลงคะแนนเสียง, Syn. election, vote | suffragette | (n) ผู้หญิงที่ปลุกระดมให้คนอื่นไปลงคะแนนเสียง | teller | (n) ผู้นับคะแนนเสียงในสภา | volt out | (phrv) ทำให้แพ้ด้วยคะแนนเสียง | vote through | (phrv) ออกเสียงให้ผ่าน, See also: ลงคะแนนเสียงผ่าน, ยอมให้ผ่าน | vote | (n) การลงคะแนนเสียง, See also: การออกเสียง, Syn. polling, referendum | vote | (vt) ลงคะแนน, See also: ออกเสียง, ลงคะแนนเสียง | vote | (vi) ลงคะแนน, See also: ออกเสียง, ลงคะแนนเสียง | vote | (n) จำนวนคะแนนเสียง, Syn. poll | voter | (n) ผู้ออกเสียง, See also: ผู้ลงคะแนนเสียง, Syn. electorate, elector | write-in | (n) การลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ได้อยู่ในรายชื่อ, See also: ทางการเมือง |
| abstain | (แอบสเทน') vt. ละเว้น, ไม่ลงคะแนนเสียง, ไม่ฟุ่มเฟือยในการกินและดื่ม, อดเหล้า, สละสิทธิ์ -abstainer n., Syn. forbear, desist | cloture | (โคล'เชอะ) { clotured, cloturing, clotures } n. วิธีการปิดการอภิปรายและให้มีการลงคะแนนเสียงทันที vt., vi. ปิดการอภิปราย | electoral vote | คะแนนเสียงที่ลงโดยผู้แทนรัฐ (electoral college) ในการเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา | landslide | (แลนด'สไลดฺ) n. แผ่นดินถล่ม, แผ่นดินทลาย, การได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมทัน. vi. ถล่มลงมา, พังทลายลงมา, Syn. rockfall | majority | (มะจอ'ริที) n., adj. ส่วนใหญ่, ส่วนมาก, คะแนนเสียงข้างมาก, ตำแหน่งพันตรี, นิติภาวะ. | plebiscite | (เพลบ'บิไซทฺ) n. การลงคะแนนเสียงโดยประชาชนทั่วไป, See also: plebiscitary adj. | poll | (โพล) n. การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, บุคคลที่ปรากฎในรายชื่อ, การสำรวจความคิดเห็นของคนจำนวนมาก -vi., vi. ได้รับคะแนนเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, สำรวจความคิดเห็น, | popular vote | คะแนนเสียงจากผู้มีสิทธิออกเสียง (ต่างจาก electoral vote ซึ่งเป็นคะแนนเสียงจากผู้แทน) | referendum | (เรฟฟะเรน'ดัม) n. ประชามติ, การลงประชามติ, คะแนนเสียงที่ประชาชนลง pl. referendums, referenda | suffrage | (ซัฟ'ฟริจฺ) n. สิทธิในการออกเสียง, คะแนนเสียง, การสวดมนต์, การอธิษฐาน | teller | (เทล'เลอะ) n. ผู้บอก, ผู้เล่า, พนักงานธนาคารที่มีหน้าที่รับหรือจ่ายเงิน, ผู้นับ คะแนนเสียง, See also: tellership n., Syn. raconteur | votaless | (โวท'ลิส) adj. ไม่มีคะแนนเสียง, ไม่มีสิทธิออกเสียง, ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง | vote | (โวทฺ) n. การออกเสียง, การเลือกตั้ง, คะแนนเสียง, บัตรคะแนนเสียง, สิทธิการออกเสียง, จำนวนคะแนนเสียง, มติ vt., vt. ออกเสียง, ลงคะแนนเสียง, เลือกตั้ง, ลงมติ, เสนอ | voter | (โว'เทอะ) n. ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | write-in | (ไรทฺ'อิน) n., adj. การลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ใช่คนเดิมในรายชื่อ |
| ballot | (n) บัตรลงคะแนน, บัตรเลือกตั้ง, การลงคะแนนเสียง | constituency | (n) ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้เลือกตั้ง, เขตเลือกตั้ง | franchise | (n) สิทธิลงคะแนนเสียง, สัมปทาน, สิทธิพิเศษ | majority | (n) หมู่มาก, คะแนนเสียงส่วนมาก, วัยผู้ใหญ่ | plebiscite | (n) การลงคะแนนเสียงทั้งประเทศ | poll | (vi) ลงคะแนนเสียง, ออกเสียงเลือกตั้ง | referendum | (n) การลงประชามติ, คะแนนเสียง | suffrage | (n) สิทธิในการออกเสียง, คะแนนเสียง, การอธิษฐาน | teller | (n) ผู้บอกเล่า, ผู้นับคะแนนเสียง, พนักงานรับจ่ายเงินของธนาคาร | vote | (vi, vt) ลงคะแนนเสียง, ลงมติ, เลือกตั้ง | voter | (n) ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้เลือกตั้ง |
| | Stimme | (n) |die, pl. Stimmen| คะแนนเสียง |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |