ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ถ้อย, -ถ้อย- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ถ้อย | (n) speech, See also: word, Syn. คำพูด, ถ้อยคำ, Example: หล่อนพูดต่อเรื่อยๆ ไม่รู้ว่าคนฟังตั้งใจฟังเหลือเกินและได้ยินทุกถ้อยทุกคำ, Count Unit: คำ | ถ้อยคำ | (n) word, See also: confession, expression, statement, term, saying, Example: การกล่าวคำอวยพรในงานมงคลสมรสจะกล่าวเพียงสั้นๆ ด้วยถ้อยคำที่เป็นมงคลแก่คู่สมรส ไม่ควรจะพูดเยิ่นเย้อ, Thai Definition: คำที่กล่าว | ท่อถ้อย | (n) debate, See also: answer, Syn. คำโต้, คำโต้ตอบ | ท้อถ้อย | (v) argue, See also: answer suddenly, retort, Syn. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, โต้ตอบ, ถ้อถ้อย, ท่อถ้อย | ถ้อยความ | (n) lawsuit, See also: litigation, Example: คนทั้งปวงยกย่องพระองค์ ตั้งไว้เป็นที่พึ่ง ใครมีทุกข์ร้อนถ้อยความประการใดก็ย่อมมาร้องให้ช่วย, Thai Definition: เรื่องราวที่ฟ้องร้องกัน | ถ้อยความ | (n) statement, See also: words, Syn. เนื้อเรื่อง, Example: ข้าพเจ้าขอสารภาพว่าตนเองรู้สึกงุนงง จับต้นชนปลายเรื่องราวและถ้อยความที่เขาสนทนากันไม่ได้, Thai Definition: เรื่องราวที่เขียนหรือเรียบเรียง | ถ้อยแถลง | (n) statement, See also: argument, summation, declaration, pamphlet, contents, text, Syn. คำชี้แจง, คำประกาศ, Example: ถ้อยแถลงของเขาทำให้ผมเห็นสัจจะของความเป็นมนุษย์, Thai Definition: คำอธิบายเป็นทางการ | ถ้อยคำสำนวน | (n) idiomatic wording, See also: idiom, Syn. สำนวนโวหาร, Example: หนังสือของเขาเต็มไปด้วยถ้อยคำสำนวนแบบกวี, Thai Definition: ถ้อยคำที่เรียบเรียงสละสลวย | ชัดถ้อยชัดคำ | (adv) distinctly, See also: clearly, precisely, plainly, articulately, succinctly, Syn. กระจ่าง, ชัดแจ้ง, Example: เขาเล่าเรื่องของตัวเองได้อย่างคล่องแคล่วชัดถ้อยชัดคำ | ประหยัดถ้อยคำ | (v) be taciturn, See also: practice economy of words, Syn. ประหยัดปาก, ประหยัดคำ, ยับยั้ง, ระมัดระวัง, Example: เธอต้องประหยัดถ้อยคำไว้ หลังจากการถกเถียงกัน | ถ้อยทีถ้อยอาศัย | (v) mutually depend on each other, Syn. ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน, พึ่งพาอาศัยกัน, Example: ทั้งคู่ต่างถ้อยทีถ้อยอาศัย ทำคะแนนตีคู่กันมาตลอดจนวินาทีสุดท้าย, Thai Definition: ต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกัน | เจ้าถ้อยหมอความ | (n) adept at arguing a case as a lawyer, See also: controversialist, argumentative person, Example: ผมเองไม่นึกอยากเป็นเจ้าถ้อยหมอความเท่าไรนัก แต่เรียนเผื่อเหลือเผื่อขาดเอาไว้เท่านั้นเอง, Thai Definition: ผู้มักใช้โวหารพลิกแพลงไปในทางกฎหมาย |
| เจ้าถ้อยหมอความ | น. ผู้ที่ชอบเอากฎหมายมาอ้าง, ผู้มักใช้โวหารพลิกแพลงไปในทางกฎหมาย. | ถ้อถ้อย | น. คำโต้. | ถ้อถ้อย | ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, เช่น ร้องโดยยามสรุโนค ถ้อถ้อยโบกบินฉวาง (ม. คำหลวง วนประเวศน์), บางแห่งใช้ ท่อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี. | ถ่อย | ว. ชั่ว, เลว, ทราม. | ถ้อย | น. คำพูด, มักใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น ถ้อยคำ เจ้าถ้อยหมอความ เป็นถ้อยร้อยความ. | ถ้อยความ | น. เรื่องราวที่เขียนหรือเรียบเรียง, เรื่องราวที่ฟ้องร้องกัน, มักใช้ในสำนวนว่า เป็นถ้อยเป็นความ. | ถ้อยคำ | น. คำที่กล่าว. | ถ้อยคำสำนวน | น. หนังสือใดที่ศาลจดเป็นหลักฐานแห่งรายละเอียดทั้งหลายในการดำเนินคดีอาญาในศาลนั้น. | ถ้อยแถลง | (-ถะแหฺลง) น. คำชี้แจง, คำประกาศ, คำอธิบายเป็นทางการ. | ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน | ว. ต่างฝ่ายต่างปฏิบัติดีต่อกันในเรื่องเดียวกันหรือในทำนองเดียวกัน. | ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน | ว. ต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกัน. | ถั่งถ้อย | ก. พูดพลั่ง ๆ ออกมา, เบิกความ. | ท่อถ้อย | น. คำโต้. | ท่อถ้อย | ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, ใช้ว่า ถ้อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี. | เนื้อถ้อยกระทงความ | น. ถ้อยคำที่ได้เรื่องได้ราวเข้าใจได้ชัดเจน. | ใส่ถ้อยร้อยความ | ก. ใส่ความ, พูดหาเหตุหาเรื่อง. | กถา | (กะ-) น. ถ้อยคำ, เรื่อง, คำอธิบาย, คำกล่าว. | กัปปิยโวหาร | น. โวหารที่ควรแก่ภิกษุ เช่น เรียกเงินตราว่า กัปปิยภัณฑ์, ถ้อยคำสำนวนที่เหมาะแก่กาลเทศะ. | ก้าน ๒ | น. ก่าน, กล้า, เช่น รู้ไป่ทันแก่ก้าน กล่าวถ้อยกลางสนาม (โลกนิติ). | การสื่อสาร | น. วิธีการนำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง. | เกลือก ๒ | (เกฺลือก) สัน. หาก, ถ้า, แม้, บางที, เผื่อว่า, มักใช้ว่า เกลือกว่า เช่น แม่อย่าสามานย์ด้วยวาจา มันจะตามถ้อยคำเข้ามาประสมประสาน เกลือกว่าเหยื่อมันสาธารณ์แม่จะอดสู (ม. ร่ายยาว ชูชก). | โกฐาส | (โกดถาด) น. ส่วน เช่น พรพอใจบ้นนน้นนอนนเป็นโกฐาสถ้อย (ม. คำหลวง ทศพร). | เข้าตัว | ก. อาการที่อาคม ของขลัง หรือถ้อยคำที่ปรารถนาจะกระทำหรือพูดให้ร้ายแก่ผู้อื่นแล้วย้อนกลับมาโดนตัวเอง, ไม่พ้นตัว เช่น พูดเข้าตัว. | คติพจน์ | น. ถ้อยคำที่เป็นแบบอย่าง. | คารม | (-รม) น. ถ้อยคำที่คมคาย, ฝีปาก. | คำขวัญ | น. ถ้อยคำที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจหรือเพื่อให้เป็นสิริมงคล. | คำคม | น. ถ้อยคำที่หลักแหลมชวนให้คิด. | คำให้การ | น. ถ้อยคำหรือข้อความที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้อง รับ ภาคเสธ ปฏิเสธ หรือแก้ข้อหาในคดีที่ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในคดีอาญา หรือที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกเป็นข้อต่อสู้ในคดีแพ่งหรือในคดีปกครอง. | ง่าม ๑ | น. ลักษณะหรือสิ่งที่แยกออกเป็น ๒ หรือ ๓ เป็นต้น เช่น ง่ามไม้ ไม้ง่าม สามง่าม, โดยปริยายใช้หมายถึงถ้อยคำที่มีความหมายได้ ๒ ทาง คือ ทั้งทางสุภาพและไม่สุภาพ เช่น พูดสองง่าม. | จำอวด | น. การแสดงโดยใช้ถ้อยคำ ท่าทาง ชวนให้ตลกขบขัน. | ฉะฉาน | ว. อาการที่พูดห้าวหาญและชัดถ้อยชัดคำ, ฉาดฉาน ก็ใช้. | ฉาดฉาน | ว. อาการที่พูดห้าวหาญและชัดถ้อยชัดคำ, ฉะฉาน ก็ใช้. | ชื่นมื่น | ก. ชื่นบาน เช่น ท้าวสามนต์ฟังถ้อยค่อยชื่นมื่น (สังข์ทอง). | ด่า | ก. ใช้ถ้อยคำว่าคนอื่นให้เสียหาย มักใช้คำหยาบหรือคำที่มีความหมายส่อไปในทางไม่ดี, ตำหนิ เช่น เมื่อเช้าถูกนายด่า. | ดำอวด | ก. จำอวด, การแสดงโดยใช้ถ้อยคำ ท่าทาง ชวนให้ตลกขบขัน. | ตราสิน | น. ถ้อยคำที่แจ้งความไว้เพื่อเป็นหลักฐานของทรัพย์สินที่เสียหายหรือสูญหายจากการถูกปล้น, บางทีเขียนเป็น ตราสีน ก็มี เช่น ให้ทำฎีกาตราสีนแต่โดยสัจโดยจรีง (สามดวง ลักษณะโจร) | ตีความ | วิเคราะห์ถ้อยคำ ข้อความ และความมุ่งหมายของบทกฎหมาย นิติกรรม สัญญา หรือเอกสารอื่น ๆ ที่มีปัญหาสงสัย หรือที่มีความหมายไม่ชัดเจน เพื่อให้ทราบความหมายของถ้อยคำหรือข้อความนั้น ๆ. | เต้า ๓ | ก. ไป เช่น คร้นนเช้ากหิ้วกรนนเช้า ชายป่าเต้าไปตามชาย (ม. คำหลวง มัทรี), มา เช่น แต่นี้จักเปล่งถ้อย แถลงนาม หัวหมื่นพันพลเหนือ แต่เต้า (ยวนพ่าย). | ถ่อ ๑ | ก. ทำให้เรือหรือแพเคลื่อนที่ไปโดยใช้ไม้ถ่อยันดินใต้ท้องน้ำ | ถ่อง | ชัด, แน่, แท้, เที่ยง, จะแจ้ง, เช่น เร่งหาผู้รู้รอบ ทุกการ เฉลียวฉลาดโวหาร ถ่องถ้อย (ลอ). | ทัณฑ์บน | น. ถ้อยคำหรือหนังสือสัญญาว่าจะไม่ประพฤติละเมิดตามเงื่อนไขที่ได้ให้ไว้, (โบ) ทานบน | ทานบน | น. ทัณฑ์บน, ถ้อยคำหรือหนังสือสัญญาว่าจะไม่ประพฤติละเมิดตามเงื่อนไขที่ได้ให้ไว้, เช่น ให้เอาตัวมาสบถษาบานเฉพาะพระพุทธพระธรรมพระสงฆเจ้าจงหนักหนา แล้วให้เรียกเอาทานบนไว้ครั้งหนึ่งก่อน ถ้าผู้นั้นมิละพะยศยังทำอยู่อิกไซ้ ก็ให้จับเอาตัวมาส่งให้ผู้รักษาเมืองผู้รั้งกรมการ (สามดวง). | เที้ยน | ก. เปรียบ, คล้ายคลึง, เหมือน, เช่น ไม่เคลือบแคลงมิดเมี้ยน คำราชอาจเทียบเที้ยน ที่ถ้อยตูแถลงนี้แล (สามกรุง). | ธรรมกถา | น. การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม. | น้ำคำ | น. คำพูด, ถ้อยคำสำนวน. | นิพนธ์ | ก. ร้อยกรองถ้อยคำ, แต่งหนังสือ, (ราชา) ทรงนิพนธ์, ทรงพระนิพนธ์, ทรงพระราชนิพนธ์. | นิพันธ์ | ก. ร้อยกรองถ้อยคำ, แต่งหนังสือ. | นิรุตติปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | เน้น | ก. ทำให้หนักแน่นเพื่อให้เห็นความสำคัญ (ใช้แก่กริยาพูด) เช่น เน้นถ้อยเน้นคำ, ลงเสียงหนัก เช่น เน้นเสียง, กดให้แน่น เช่น เน้นเหงือก เน้นฟัน. | เนื้อเพลง ๑ | ถ้อยคำที่เป็นบทร้อง. |
|
| | Word frequency | ความถี่ของการใช้ถ้อยคำ [TU Subject Heading] | Persuasion (Rhetoric) | การจูงใจ (ศิลปะการใช้ถ้อยคำ) [TU Subject Heading] | Rhetoric | ศิลปะการใช้ถ้อยคำ [TU Subject Heading] | Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] | Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Credential หรือ Letter of Credence | เอกสารทางราชการที่ประมุขของประเทศเป็นผู้ลงนาม ในเอกสารนั้น ประมุขของประเทศจะกล่าวยกย่องตัวทูตต่อประมุขของรัฐที่ผู้ที่เป็นทูตไปประจำ อยู่ (รัฐผู้รับ) ภาษาที่ใช้ในเอกสารจะเขียนด้วยถ้อยคำสำนวนหรูหรา และกล่าวถึงคุณสมบัติของทูตอย่างสูงส่ง แล้วลงท้ายด้วยการขอให้ความเชื่อถือแก่ทุกสิ่งทุกอย่างที่ทูตอาจจะกล่าวใน นามของรัฐบาลของตน [การทูต] | Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] | intervention | 1. การเข้าแทรกแซง 2. การเข้าร่วมอภิปราย การเข้าร่วมกล่าวถ้อยแถลง (ใช้ในกรณีการประชุมพหุภาคี) [การทูต] | New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] | Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | point of order | ประท้วง หรือขัดจังหวะในระหว่างการประชุม หรือระหว่างการกล่าวถ้อยแถลงในเรื่องผิดข้อบังคับการประชุม [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | reciprocity | หลักถ้อยทีถ้อยประติบัติหรือการประติบัติต่างตอบแทน [การทูต] | verbatim record | บันทึกการประชุมละเอียด, บันทึกการประชุมทุกถ้อยคำ [การทูต] |
| He'd a cliche for every occasion. | เขาต้องการถ้อยคำที่เบื่อหู สำหรับทุกโอกาส In the Name of the Father (1993) | That's the sweetest sentiment these ears have ever heard. | ช่างเป็นถ้อยคำหวานซึ้งที่สุด เท่าที่เค้าเคยได้ยินมาเลยนะเนี่ย! Mannequin (1987) | And I'll use small words, so that you'll be sure to understand, you warthog-faced buffoon. | และจะพยายามใช้ถ้อยคำไม่มากนัก เพื่อเจ้าจะได้เข้าใจ เจ้าหน้าหมูโสโครก The Princess Bride (1987) | "The highest truth on the subject remains unsaid probably cannot be said. | สัจธรรมสูงสุดอยู่ข้างบน .... บางทีอาจจะเกินถ้อยคำบรรยาย City of Angels (1998) | Thought of this awesome new phrase. | ลองคิดถึงเรื่อง/ถ้อยคำที่ทรงพลังดูสิ Never Been Kissed (1999) | There's nothing you can say but you can learn how to play the game | ไม่มีถ้อยคำที่มิอาจขับขาน แต่ก็มาเล่นเกมนี้ด้วยกัน Love Actually (2003) | Monsanto sent the second letter and this was even more strongly worded. | และใช้ถ้อยคำที่แข็งกร้าวกว่าเดิม The Corporation (2003) | - something about feeling the words. | - บางสิ่งที่บ่งบอกถึงอารมณ์ความรู้สึกของถ้อยคำ Mr. Monk and the Girl Who Cried Wolf (2004) | Yeah, her words are important. | ถ้อยคำเธอช่างมีความหมาย White Noise (2005) | Never forget to be respectful and obey. And trust and follow your parents words.. | ไม่ลืมที่จะนับถือและเชื่อฟัง และไว้ใจและปฏิบัติตามถ้อยคำของพ่อแม่ Episode #1.3 (2006) | Never forget to be respectful and obey, trust and follow your parent's words all day. | ไม่ลืมที่จะนับถือและเชื่อฟัง ไว้ใจและปฏิบัติตามถ้อยคำของพ่อแม่ทุกวัน Episode #1.3 (2006) | Before you speak, Persian know that in Sparta everyone, even a king's messenger is held accountable for the words of his voice. | ...ถ้อยคำที่มันกล่าวได้ บัดนี้ เจ้านำ สารใดมา ดินและน้ำ 300 (2006) | You insult my queen. | โอ ข้าพิจารณา ถ้อยคำแล้ว เจ้าเพอร์เชิน 300 (2006) | Your lips can finish what your fingers have started. | ต้องใช้มากกว่าถ้อยคำ ของหญิงสาวเมามาย ที่จะเปลี่ยนปรารถนาข้า ไปจากท่าน 300 (2006) | So that is why my king loses sleep and is forced from the warmth of his bed? | หญิงเดียว ที่ถ้อยคำนาง จักสะเทือนอารมณ์ แห่งสามีข้า ได้แก่ข้า 300 (2006) | Persian cowards. | เรากล่าวถ้อยนี้แล้ว 300 (2006) | Beautiful night. | ท่านสิไม่เคยรักษา ถ้อยคำกับข้า 300 (2006) | The very bed where you attempted to negotiate with me so vigorously? | สินบนแห่งเนื้อหนัง คุณชายทั้งหลาย ขณะที่สามีนาง ส่งเสริมอนาธิปไตยและการศึก ถ้อยคำหลุดรั่วได้แม้จาก ชิวหาที่คมคาย 300 (2006) | Now I believe that phrase that you can see with eyes closed. | ตอนนี้ ฉันเชื่อในถ้อยคำที่ว่า คุณสามารถเห็นสิ่งนั้นเมื่อยามหลับตา A Millionaire's First Love (2006) | In a word, an art. | ในรูปของถ้อยคำ และศิลปะ. Almost Love (2006) | I'm just saying that since you did the work, you shouldn't forget the phrase " walls has ears." | ในเมื่อเธอก็ทำงาน ฉันแค่จะบอกว่า เธอไม่ควรลืมถ้อยคำที่ว่า "หน้าต่างมีหูประตูมีช่อง" Smile Again (2006) | And words fall through me and always fool me | ถ้อยคำที่พลั่งพลู มักเล่นตลกกับฉันเสมอ Once (2007) | Breaking us down with your | บั่นทอนเราด้วยถ้อยคำที่มีแต่ Once (2007) | Breaking us down with your | บั่นทอนเราด้วยถ้อยคำที่มีแต่ Once (2007) | But it occurs to me many of you don't have the necessary reference points... to fully appreciate these iconic texts of English literature. | แต่ครูประจักษ์แจ้งแล้วว่า หลายคนยังหาที่มาที่ไปของมันไม่ได้ จึงอยากเติมเต็มถ้อยคำในต้นฉบับ ในเชิงพรรณาโวหาร The Haunting of Molly Hartley (2008) | It's the word of God, not some morally questionable novel you give us a pop quiz on. | ไม่สมควรที่จะนำถ้อยคำพระเจ้า มาคุยสนุกปากเหมือนนิยายทั่วไป The Haunting of Molly Hartley (2008) | I have a definition of the term. But you'll never feel it. | ผมมีคำกำจัดความของถ้อยคำนั้น Knight Rider (2008) | - I'd like that on the side, please too. - Okay, coming right up. | ผมชื่นชมกับถ้อยคำโน้มน้าวของคุณ Plaisir d'amour (2008) | And that he be allowed to make a statement. | และขอให้เขาได้แสดงถ้อยแถลง Easy as Pie (2008) | What a fascinating statement. | ช่างเป็นถ้อยคำที่น่าหลงใหล Masterpiece (2008) | That's already become a cliche. | ซึ่งกลายมาเป็นถ้อยคำที่นักประพันธ์ชอบใช้จนเกลื่อน Heartbreak Library (2008) | Since the dawn of time storytellers have enchanted audiences with their words. | เป็นเวลาเนิ่นนานมาแล้ว... นักเล่าเรื่องทั้งหลายจะสะกดผู้ฟัง ด้วยถ้อยคำของพวกเขา Inkheart (2008) | Sometimes there are no words, no clever quotes to neatly sum up what's happened that day. | บางครั้งไม่ต้องพูด หรือหาถ้อยคำเฉียบคมเพื่อบอกถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้น To Hell... And Back (2009) | Your language, my kids don't need to be exposed. | ถ้อยคำที่เธอพูด ลูกของฉัน ไม่จำเป็นต้องเปิดเผยก็ได้ The Pickle Jar (2009) | I just might if you don't temper your language. | ฉันแค่หวังถ้าเธอไม่ใช้\ ถ้อยคำที่โรคจิตของเธอ The Pickle Jar (2009) | Ofcourse that is. - I put my toughts into words, and now my words into action! | โอ้ นั่นนะหรอ ผมแปลงความคิดถึงลงเป็นถ้อยคำ และ ผมกำลังเอาถ้อยกวีเหล่านั้นออกมาแสดง Pilot (2009) | We don't always need words to speak to one another. | เราไม่จำเป็นต้องใช้ถ้อยคำที่จะพูดกับอีกคน The Nightmare Begins (2009) | As a conciliation, a sleep of harmony is possible. | คล้ายถ้อยทีถ้อยอาศัย กลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว Oceans (2009) | You're good with words. | ใช้ถ้อยคำได้เก่ง Shanghai (2010) | You see, I'm not gonna testify against Markus Kane. | คุณจะเห็นฉันไม่ gonna ถ้อยคำ against มาคัสเคน Death Race 2 (2010) | Shall we rehearse? Come on. Up on your perch. | ฝ่าบาท นี่เป็นถ้อยแถลงของพระองค์ ออกอากาศ 6 โมงนี้พะยะค่ะ The King's Speech (2010) | Now, when you and Elizabeth enter through the West door, you will be greeted by the hymn "I was glad when they said unto me." | กระหม่อมจับเวลาแล้วไม่ถึง 9 นาที ตรวจตราถ้อยคำแล้วพะยะค่ะ ท่านนายกฯ จะมาอยู่กับพระองค์ด้วย ตอนออกอากาศสด The King's Speech (2010) | No, those are the words Of a pacifist | ไม่ นี่เป็นถ้อยคำของผู้รักความสงบ Duchess of Mandalore (2010) | Ironic words from a man Who spends his days Running hither and yon, | ถ้อยคำเยาะเย้ยจากชายผู้เสียเวลากับการวิ่งไปนู่นมานี่ Duchess of Mandalore (2010) | Here's a reference that he wrote about emily. | นี่ไง ถ้อยความอ้างอิง ที่เขาเขียนถึงเอมิลี่ Children of the Damned (2010) | I have been trying to think of something to say, | ฉันคิดหาถ้อยคำที่จะพูด Mosley Lane (2010) | You ever given a eulogy? | เธอเคยกล่าว ถ้อยคำสรรเสริญ My Bad (2010) | No, it's a figure of speech. | ไม่ มันเป็นถ้อยคำแถลง พ่อหมายถึงให้ระวังๆ Countdown (2010) | I really don't. I've had so many conversations with you in this very room. | ผมไม่ได้ดีใจจริงๆ และผมมีถ้อยความ สนทนามากมายกับนาย Countdown (2010) | If you can't express yourself in words, call me | ถ้าคุณไม่สามารถแสดงตัวเองออกมาเป็นถ้อยคำได้โทรหาผม Love in Disguise (2010) |
| ไอ้ถ่อย | [ai thǿi] (x) EN: you shit ! | คนถ่อย | [khon thǿi] (n, exp) FR: fripouille [ f ] (fam.) | ประหยัดถ้อยคำ | [prayat thøikham] (v, exp) EN: be taciturn FR: être taciturne ; être taiseux (Belg.) | ตลกแบบถ่อย | [talok baēp thǿi] (x) EN: ribald | ถ่อย | [thǿi] (adj) EN: despicable ; vile ; low ; base ; bad ; mean ; coarse ; crude ; dirty ; contemptible ; wicked FR: méprisable ; abject ; grivois ; paillard ; gras | ถ้อย | [thøi] (n) EN: words FR: mots [ mpl ] ; paroles [ fpl ] | ถ้อยคำ | [thøikham] (n) EN: words ; wording ; diction ; declaration ; statement | ถ้อยคำไพเราะ | [thøikham phairǿ] (n, exp) EN: honeyed words | ถ้อยคำสำนวน | [thøikham samnūan] (n, exp) EN: idiomatic wording | ถ้อยความ | [thøikhwām] (n) EN: lawsuit ; litigation | ถ้อยความ | [thøikhwām] (n) EN: contents ; text ; wording ; statement FR: sens [ m ] ; signification [ f ] | ถ้อยแถลง | [thøithalaēng] (n) EN: statement ; argument ; summation | ถ้อยที | [thøithī] (adv) EN: mutually | ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน | [thøithīthøi āsai kan] (v, exp) EN: be mutually dependent ; mutually depend on each other ; be interdependent | ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน | [thøithīthøi āsai kan] (adj) EN: reciprocal ; mutually dependent ; dependent upon one another |
| deponent | (n) ผู้ให้ถ้อยคำเป็นพยาน เช่น In ensuring that the deponent's evidence is recorded in full, the court or the examiner may permit it to be recorded on audiotape. |
| antithesis | (n) การใช้ถ้อยคำขัดแย้งกัน | articulately | (adv) อย่างชัดถ้อยชัดคำ, Syn. clearly, loudly | blaspheme | (vt) พูดดูหมิ่นหรือสบประมาทศาสนา, See also: กล่าวถ้อยคำหยาบคาย, Syn. defile, desecrate, Ant. honor, revere | dictum | (n) คำแถลง, See also: คำประกาศ, ถ้อยแถลง, ประกาศ, Syn. decree, edict, fiat, order | eulogy | (n) ถ้อยคำสรรเสริญ, See also: ข้อเขียนแสดงความยกย่องสรรเสริญ, Syn. commendation, glorification | euphemism | (n) การใช้ถ้อยคำหรือภาษาที่สุภาพนุ่มนวลลดความรุนแรงลง | euphemism | (n) ศัพท์หรือภาษาที่นุ่มนวล, See also: ถ้อยคำหรือภาษาที่สุภาพที่ใช้ลดความรุนแรงของความหมายในเชิงไม่สุภาพของคำ เช่น คำที่เกี, Syn. polite term, softened expression | figure | (n) การใช้อุปมาอุปมัย, See also: ถ้อยคำสำนวนโวหาร, ความเปรียบ | filth | (n) ถ้อยคำลามก, See also: ความลามก | flowery | (adj) หรูหรา (ถ้อยคำหรือสำนวน), See also: สละสลวย, Syn. fancy, ornate, Ant. simple, clear | use strong language | (idm) ใช้ถ้อยคำรุนแรง, See also: ใช้คำแรงๆ, ใช้คำหยาบ | interdependent | (adj) ซึ่งพึ่งพากัน, See also: ซึ่งถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน | interdependently | (adv) อย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย, See also: อย่างพึ่งพาอาศัยกัน | irony | (n) ถ้อยคำแดกดัน, See also: ถ้อยคำเย้ยหยัน, ถ้อยคำถากถาง, Syn. sarcasm, mockery, satire | laudation | (n) การสรรเสริญ, See also: การสดุดี, การยกย่อง, ถ้อยคำสรรเสริญ, Syn. praise, commendation | libel | (n) ถ้อยแถลงของโจทก์, See also: แถลงการณ์ | manifesto | (n) แถลงการณ์, See also: ถ้อยแถลง, คำแถลง, คำประกาศ, Syn. declaration, pronouncement | mouthful | (n) ถ้อยคำที่ยาวและยากที่จะพูด | obscenity | (n) คำพูดหยาบคาย, See also: ถ้อยคำหยาบโลน, Syn. profanity, vulgarism | parol | (n) ถ้อยแถลง, See also: ถ้อยคำ | phrase | (n) ถ้อยคำ, See also: การใช้ถ้อยคำ, Syn. expression | phrase | (vi) ถ่ายทอดด้วยคำพูด, See also: แสดงเป็นคำพูด, ใช้คำพูดหรือถ้อยคำแสดง, Syn. formulate, word | picture | (n) ์คำบรรยายที่ทำให้เห็นภาพ, See also: ถ้อยคำพรรณนาทำให้เห็นภาพ, ภาพพจน์, Syn. account, description | rhetoric | (n) การใช้ถ้อยคำชักจูงโน้มน้าว, See also: ศิลปการใช้ถ้อยคำ, Syn. eloquence, oratory | rhetoric | (n) การใช้ถ้อยคำโอ้อวดเกินเลย, Syn. hypepbole, magniloquence | sesquipedalian | (adj) ซึ่งใช้ถ้อยคำยืดยาวมาก, Syn. long, lengthy, polysyllabic, Ant. short | sesquipedalian | (n) ี่ถ้อยคำยืดยาวมาก | slang | (n) ถ้อยคำที่เป็นภาษาพูดและใช้ในกลุ่มคนบางกลุ่ม, See also: ภาษารหัสของขโมยหรือโจร, คำสแลง, ภาษาสแลง, Syn. cant, argot | speech | (n) คำพูด, See also: ถ้อยคำ, คำบรรยาย, คำปราศรัย, สุนทรพจน์, Syn. talk, utterance | statement | (n) แถลงการณ์, See also: คำแถลง, ถ้อยแถลง, Syn. declaration, remark, assertion | sugar | (n) คำแสดงความรัก (คำไม่เป็นทางการ), See also: ที่รัก, ถ้อยคำหวาน, Syn. darling, honey, sweetheart | swearword | (n) คำสาปแช่ง, See also: คำสบถ, ถ้อยคำที่หยาบคาย, Syn. curse, oath, expletive, profanity | syntax | (n) วากยสัมพันธ์, See also: ความสัมพันธ์ระหว่างถ้อยคำในประโยค, โครงสร้างความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์, Syn. grammar, linguistics | text | (n) ต้นฉบับ, See also: ต้นฉบับเดิม, ถ้อยคำเดิม | textual | (n) เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิม, See also: ที่เกี่ยวกับข้อความ, Syn. verbal, scriptural | thunder against | (phrv) พูดคัดค้านหรือโต้ตอบ (บางคนหรือบางสิ่ง) ด้วยถ้อยคำรุนแรง | verbose | (adj) ซึ่งใช้ถ้อยคำมากเกินไป, See also: ซึ่งใช้ภาษาฟุ่มเฟือย, ซึ่งใช้คำมากเกินไป, Syn. wordy, prolix, talkative, Ant. laconic | verbosely | (adv) อย่างใช้ถ้อยคำมากเกินไป, Syn. wordily, lengthily, oratorically, talkatively | verboseness | (n) การใช้ถ้อยคำมากเกินไป, Syn. loquacity, grarrulity | verbosity | (n) การใช้ถ้อยคำมากเกินไป, Syn. wordiness, loquacity, prolixity | voiceless | (adj) ไร้เสียง, See also: ใบ้, ไม่พูด, ไม่ออกเสียง, ไม่มีถ้อยคำ, มีเสียงที่ไม่ใช่เสียงร้อง, Syn. speechless, mute, Ant. voiced | weasel word | (n) ถ้อยคำคลุมเครือ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ถ้อยคำที่กำกวม | wordless | (adj) ซึ่งเงียบ, See also: ซึ่งไม่พูด, ซึ่งไม่มีถ้อยคำ, Syn. inarticulate, speechless, silent, Ant. loquacious, talkative | wordlessly | (adv) อย่างจนถ้อยคำ, See also: อย่างไร้ถ้อยคำ, Syn. silently | wordlessness | (n) การไร้ถ้อยคำ |
| antihesis | (แอนทีธี' ซิส) n., (pl -ses) การต่อต้าน, ความตรงกันข้าม, การใช้ถ้อยคำที่มีความหมายกลับกัน. -antithe- tic (al) adj., Syn. opposition, negation | averment | (อะเวอ'เมินท) n. การเฉลี่ย, ข้อความหรือถ้อยแถลงที่แน่นอน (act of averring) | babble | (แบบ'เบิล) vt., vi. พูดไม่ชัด, พูดพล่าม, พูดไม่เป็นสาระ, พูดจ้อ, เปิดเผยความลับ n. การพูดพล่ามหรือไม่เป็นสาระ, ถ้อยคำไม่เป็นสาระ | boilerplate | ต้นแบบหมายถึง เอกสารประเภทหนึ่งที่ทำเอาไว้เป็นแบบ เรียกว่า boilerplate document นิยมนำมาใช้ในเวลาที่รีบร้อน ไม่มีเวลาคิดหาถ้อยคำเพราะ ๆ เช่น บัตรเชิญ จดหมายขอบคุณ จดหมายแสดงความยินดี แสดงความเสียใจ หรือ สัญญาต่าง ๆ เมื่อนำมาใช้ ก็เพียงแต่เปลี่ยนข้อความให้เหมาะกับสถานการณ์เท่านั้นมีความหมายเหมือน template | boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช | cant | (แคนทฺ) n. ข้อความเท็จ, คำพูดเท็จ, คำพูดปากหวานก้นเปรี้ยว, ถ้อยคำพิเศษที่ใช้เฉพาะในหมู่ชนหนึ่ง ๆ , ภาษาวิชาชีพ, การพูดเป็นเพลง, ความเอียง vi. พูดแบบปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, พูดเป็นเพลง, Syn. hypocrisy | chapter and verse | n. (การอ้าง) ถ้อยคำในบท, หลักฐาน | context | (คอน'เทคซฺทฺ) n. คำอรรถาธิบาย, ตอนต้นหรือตอนต่อจากคำหรือถ้อยคำ, สิ่งแวดล้อม, See also: contextual adj. ดูcontext, Syn. circumstance -Conf. point | couch | (เคาชฺ) { couched, couching, couches } n. ที่นอน, เก้าอี้นอน, เก้าอี้ยาว, ถ้ำสัตว์. vt. ทำให้นอนลง, เอนลง, ขจัดออก, แสดงด้วยถ้อยคำ, เขียนด้วยคำพูด vi. นอนลง, ก้มลง, หมอบ, กอง, Syn. express | ellipsis | (อิลิพ'ซิส) n., (pl. ellipses) การตัดคำทิ้งจากประโยค, วิธีการเว้นคำหรือถ้อยคำไว้เข้าใจเอง, เครื่องหมายเว้นคำ " ", "....." | epilog | (เอพ'พะลอก) n. ถ้อยคำส่งท้าย, ตอนส่งท้าย, เพลงส่งท้าย, ปัจฉิมกถา -vt. จัดให้มีถ้อยคำส่งท้าย., See also: epilogist n. ดูepilog | epilogue | (เอพ'พะลอก) n. ถ้อยคำส่งท้าย, ตอนส่งท้าย, เพลงส่งท้าย, ปัจฉิมกถา -vt. จัดให้มีถ้อยคำส่งท้าย., See also: epilogist n. ดูepilog | euphemism | (ยู'ฟะมิสซึม) n. การใช้ถ้อยคำหรือภาษาที่สละสลวย, See also: euphemist n. ดูeuphemism euphemistic adj. ดูeuphemism euphemistical adj. ดูeuphemism | euphuism | (ยู'ฟิวอิสซึม) n. สำนวนโวหารหรือถ้อยคำที่สละสลวยหรือหยดย้อยเกินไป, See also: euphuist n. ดูeuphuism euphuistic adj. ดูeuphuism euphuistical adj. ดูeuphuism | felicitous | (ฟีลิส'ซิทัส) adj. เหมาะสม, ถูกกาลเทศะ, เป็นมงคล, ใช้ถ้อยคำหรือสำนวนที่เหมาะสม, สุข., See also: felicitousness n., Syn. apt, timely, Ant. inappropriate | irony | (ไอ'ระนี, ไอ'เรอนี) n. การเหน็บแนม, การเย้ยหยัน, ถ้อยคำที่เหน็บแนม, Syn. satire, sarcasm | lampoon | (แลมพูน') n. ถ้อยคำเหน็บแนมอย่างรุนแรง vt. ถากถางอย่างรุนแรง., See also: lampooner n. ดูlampoon n. lampoonist n. ดูampoon lampoonery n. ดูlampoon, Syn. abuse, satire, satirize | magniloquent | (แมกนิล'ละเควนทฺ) adj. โอ้อวด, อวดอ้าง, คุยโว, ฟุ้งเฟ้อในถ้อยคำ. | message | (เมส'ซิจฺ) n. สาร, ข่าวสาร, ข่าวคราว, จุดหมายหรือคำพูดที่ฝากไปให้บุคคลอื่น, ความหมาย, ถ้อยคำ (โทรเลขหรือโทรศัพท์) | phrase | (เฟรส) n. วลี, กลุ่มคำศัพท์, ถ้อยคำ, โวหาร, คำพูด, คำคม, คำพังเพย, สำนวน, คำคุยโว, การใช้ถ้อยคำ vt. ใช้ถ้อยคำ, แสดงโวหาร, ประจบ, Syn. expressioin, catchword, word | phraseology | (เฟรสซีออล'โลจี) n. สำนวน, โวหาร, ลักษณะการใช้ถ้อยคำหรือวลี, ภาษาเฉพาะ, ถ้อยคำ, การใช้ถ้อยคำ, ถ้อยคำทั้งหลายที่ใช้ประจำ., See also: phraseological adj. | precise | (พรีไซซฺ') adj. แม่นยำ, แน่นอน, เที่ยงตรง, ถูกต้อง, พอดี, ชัดถ้อยชัดคำ, พิถีพิถัน, เฉียบขาด, ละเอียด., See also: precisely adv. preciseness n. | precision | (พรีซิส'เชิน) n. ความแม่นยำ, ความแน่นอน, ความเที่ยงตรง, ความถูกต้อง, ความพอดี, ความชัดถ้อยชัดคำ, ความพิถีพิถัน., See also: precisionism n. precisionist n. | profanity | (โพรแฟน'นิที) n. ความหยาบคาย, ถ้อยคำที่หยาบคาย, การกระทำหรือการพูดที่หยาบคาย, การทำลายความศักดิ์สิทธิ์, การสาปแช่ง, Syn. irrevertence | pronunciation | (พระนันซิเอ'เชิน) n. การออกเสียง (คำพูด, ถ้อยคำวลีและอื่น ๆ) , วิธีการออกเสียง, See also: pronunciational adj. pronunciatory adj. pronunciative adj. | prose | (โพรซ) n. ร้อยแก้ว, สำนวนหรือถ้อยคำที่ไม่ใช่โครง กลอน ฉันท์ กาพย์, ข้อความที่จืดชืดที่น่าเบื่อ, การขับร้องต่อ. adj. เกี่ยวกับ prose, จืดชืด, ธรรมดาvt.เขียนร้อยแก้ว, เขียนปกิณกะ | proverb | (พรอฟ'เวิร์บ) n. สุภาษิต, คติพจน์, ถ้อยคำที่มีการกล่าวถึงเสมอ, คำพังเพย, บุคคลหรือสิ่งกล่าวถึงบ่อย ๆ จนขึ้นชื่อ, Syn. aphorism, apothegm | prudery | (พรู'ดะรี) n. ความเจ้าระเบียบ, ความพิถีพิถันเกินไป, การกระทำหรือถ้อยคำที่พิถีพิถันเกินไป, Syn. priggishness | revile | (รีไวลฺ') vt., vi. ต่อว่า, ด่า, ประจาน, พูดเสียดสี, ใช้ถ้อยคำหยาบคาย, See also: revilement n. reviler n. revilingly adv. | reword | (รีเวิร์ดฺ') vt. ใช้ถ้อยคำใหม่, เปลี่ยนสำนวนใหม่, กล่าวซ้ำ, Syn. recast | rhapsodic | (แรพซอด'ดิค) adj. ใช้ถ้อยคำที่หรูหราและฟุ่มเฟือย, คลั่งไคล้, กระตือรือร้นเกินไป, ปิติยินดีเหลือล้น, See also: rhapsodically adv., Syn. rhapsodical. | rhapsody | (แรพ'โซดี) n. การใช้ถ้อยคำที่หรูหราและฟุ่มเฟือย, บทเพลงอิสระ, Syn. paean | rhetoric | (เรท'เทอริค) n. ศิลปะการใช้ถ้อยคำ, วาทศิลป์, เชิงสำนวน, ศิลปะในการพูดชักจูงใจคน, เชิงคุยโว, เชิงโวหาร, Syn. expressiveness, bombast | shape | (เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ | speechless | (สพีชฺ'ลิส) adj. เงียบอึ้ง, ไม่พูด, พูดไม่ออก, เป็นใบ้, ไม่มีถ้อยคำ, ไม่มีการกล่าวสุนทรพจน์, ไม่สามารถจะถ่ายทอดเป็นคำพูดได้., See also: speechlessness n. | statement | (สเทท'เมินทฺ) n. คำแถลง, ถ้อยแถลง, การแถลง, การบรรยาย, รายงานการเงิน, งบดุล, บัญชีการเงิน., Syn. assertion | substantive | (ซับสแทน'ทิฟว) n., adj. (เกี่ยวกับ) คำนาม, สรรพนาม, ถ้อยคำที่ใช้แทนคำนาม, อิสระ, มีการอยู่อย่างอิสระ, สำคัญ, แท้จริง, ธาตุแท้, มีแก่นสาร, มากมาย, ยิ่งใหญ่, (สีย้อม) ย้อมสีได้โดยไม่ต้องมีตัวเสริม., See also: substantival adj. substantiveness n. | superlative | (ซะเพอ'ละทิฟว) adj. สูงสุด, สุดยอด, เกินไป, มากไป, เกี่ยวกับคุณศัพท์เปรียบเทียบหรือกริยาวิเศษณ์เปรียบเทียบสูงสุด n. ผู้อยู่สูงสุด, ผู้ที่ดีที่สุด, ระดับสูงสุด, แบบยอดเยี่ยม, ถ้อยคำวิจารณ์สุดขีด., See also: superlativeness n. -S... | synonym | (ซิน'นะนิม) n. คำพ้อง (ในภาษาเดียวกัน) คำที่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน, คำหรือถ้อยคำที่เป็นอีกชื่อหนึ่งของบางสิ่งบางอย่าง., See also: synonymic adj. synonymical adj. synonymity n. | textual | (เทคซฺ'ชวล) adj. เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิม, เกี่ยวกับใจความ, เกี่ยวกับข้อความในพระคัมภีร์ไบเบิล, Syn. literal | translate | (แทรน'ซฺเลท) vt., vi. แปล, ถ้อยความ, แปลความหมาย, แปลง, เปลี่ยน, ย้าย, See also: translatability n. translatable adj. translator, translater n., Syn. construe, render, change, alter | verbiage | (เวอ'บิอิจฺ) n. คำพูดน้ำท่วมทุ่ง, ภาษาน้ำท่วมทุ่ง, การใช้คำมากเกินไป, วิธีการหรือลีลาการแสดงถ้อยคำ., Syn. prolixity | verbose | (เวอโบส') adj. ใช้คำมากเกินไป, ใช้ถ้อยคำมากเกินไป, ใช้คำหรือคำพูดแบบน้ำท่วมทุ่ง, มีคำมาก, See also: verbosity, verboseness n., Syn. prolix, wordy | voiceless | (วอยซฺ'ลิส) adj. ไร้เสียง, ใบ้, ไม่พูด, ไม่ออกเสียง, ไม่มีถ้อยคำ, มีเสียงที่ไม่ใช่เสียงร้อง, See also: voicelessness n. | weasel word | (s) n. ถ้อยคำที่หลบหลีก, ถ้อยคำที่คลุมเครือ, See also: weaselworded adj. | wonderment | (วัน'เดอะเมินทฺ) n. คำพูดที่น่าพิศวง, ถ้อยคำที่น่าพิศวง, เหตุที่น่าสงสัย, เรื่องที่น่าสงสัย | word | (เวิร์ด) n. คำ, คำศัพท์, คำพูด, ถ้อยคำ, ศัพท์, ศัพท์โดด ๆ , ภาษา, เนื้อเพลง vt. แสดงออกเป็นคำพูด, ทำให้เป็นคำพูด words คำพูดถ้อยคำ, คำสนทนา, เนื้อเพลง, การออกเสียง, คำสัญญา, คำมั่น, คำผ่าน, คำสั่ง, คติพจน์, -Phr. (in a word โดยสรุป) | wordless | (เวิร์ด'ลิส) adj. เงียบ, ไม่พูด, ไม่มีถ้อยคำ, พูดไม่ออก, ติดต่อกันด้วยวิธีอื่นที่ไม่ใช่การพูดหรือถ้อยคำ, wordlessly adv., See also: wordlessness n., Syn. speechless, silent | would | (วูด) v. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ will (ใช้แสดงความหวัง) เช่นI would it were true (ใช้แทนที่willเพื่อตั้งคำถามหรือแสดงถ้อยคำอ้อม ๆ) เช่นWould you be so kind? | yell | (เยล) vi., vt., n. (การ) ตะโกน, โห่, ร้อง, แผดเสียง, ถ้อยคำที่ใช้ร้องเชียร์, Syn. cry out, bellow |
| | antitheistic | (adj) ที่เป็นการเปรียบเทียบ, ซึ่งเกี่ยวกับการต่อต้าน/ การใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงข้าม | deponent | (n) ผู้ให้ถ้อยคำ | Deverbalism (deverbalisme) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง | hashtag | (n, uniq) ดัชนีถ้อยคำ, เครื่องหมาย # นำหน้าอักษร, keywords |
| 文句 | [もんく, monku] (n) - ถ้อยคำ, วลี - คำติ, คำต่อว่า, See also: R. 文句を言う | 格好 | [かっこう, kakkou] (n, vi, vt) (เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |