ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ที่เก็บ, -ที่เก็บ- |
ที่เก็บ | (n) storage, See also: store-place, Example: แม่บ้านเก็บถังใส่น้ำไว้ในที่เก็บ, Count Unit: ที่ |
| กระโปรง | ฝาครอบเครื่องรถยนต์หรือฝาครอบที่เก็บของข้างหน้าและข้างหลังรถยนต์ | กาลิก | น. ของที่พระสงฆ์เก็บไว้ฉันได้ตามเวลาที่กำหนดให้ มี ๓ อย่าง คือ ๑. ยาวกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน ได้แก่ ข้าวปลาอาหาร ๒. ยามกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียงวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ได้แก่ นํ้าอัฐบาน ๓. สัตตาหกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียง ๗ วัน ได้แก่ เภสัชทั้ง ๕. | เก็บ ๑ | ว. ถ้าประกอบหลังคำนามหมายความว่า ที่เก็บไว้ เช่น ของเก็บ = ของที่เก็บไว้, เงินเก็บ = เงินที่ออมเก็บไว้, เมียเก็บ = เมียที่เก็บไว้ไม่ออกหน้าออกตา, หมากเก็บ = สิ่งที่เป็นเม็ดเป็นก้อนแข็ง เด็กใช้โยนเก็บขึ้นไว้ในมือ เป็นการเล่นชนิดหนึ่งของเด็ก. | เก็บข้าวตก | ก. เก็บรวงข้าวที่เก็บเกี่ยวตกหล่นในท้องนา. | ขมวน | (ขะหฺมวน) ว. ผุ, ยุ่ย, ใช้แก่เนื้อแห้งปลาแห้งเป็นต้นที่เก็บไว้นาน ๆ ซึ่งเกิดจากเชื้อราหรือตัวขมวนกัดกิน เช่น ปลาเป็นขมวน เนื้อเป็นขมวน. | ของแห้ง | น. อาหารแห้งที่เก็บไว้กินได้นาน, เสบียงกรัง. | ข้าวเก่า | น. ข้าวที่เก็บเกี่ยวไว้ค้างปี. | ข้าวปลูก | น. ข้าวเปลือกที่เก็บไว้สำหรับทำพันธุ์. | ข้าวใหม่ | น. ข้าวที่เก็บเกี่ยวใหม่ในปีนั้น ๆ | ขุม | แหล่งที่เกิดที่เก็บ เช่น ขุมทรัพย์ | เข้าตู้ | ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา ใช้พูดว่า “วิชาเข้าตู้” ซึ่งหมายความว่า วิชาที่เคยจำได้นั้นบัดนี้ลืมหมดแล้ว ยังคงอยู่แต่ในตำราที่เก็บไว้ในตู้. | คลัง ๑ | (คฺลัง) น. ที่เก็บรักษาและรับจ่ายเงิน เช่น แผนกคลัง, สถานที่เก็บรักษาสิ่งของเป็นจำนวนมาก ๆ เช่น คลังพัสดุ. | คลังเลือด | น. สถานที่เก็บรักษาเลือดไว้เพื่อบริการแก่ผู้ป่วย, ธนาคารเลือด ก็ว่า. | คลังสินค้า | น. สถานที่เก็บรักษาสินค้า. | คลังเสบียง | น. ที่เก็บสะสมอาหาร. | ค่าปากเรือ | น. ค่าธรรมเนียมที่เก็บจากเรือบรรทุกสินค้าขาเข้าโดยวัดขนาดกว้างตอนกลางเรือเป็นกำหนด, ภาษีปากเรือ หรือ จังกอบเรือ ก็เรียก. | งัด | นำออกมาจากที่เก็บ เช่น งัดเอาเครื่องลายครามมาอวด, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น งัดเอาเรื่องเก่ามาพูด. | เงินนอน | น. เงินเหลือใช้ที่เก็บไว้. | เจ้าจำนวน | น. เจ้าหน้าที่เก็บภาษีอากร. | ฉ้อราษฎร์บังหลวง | ก. การที่พนักงานเจ้าหน้าที่เก็บเงินจากราษฎรแล้วไม่ส่งหลวงหรือเบียดบังเงินหลวง. | ชักศพ | ก. ถือสายสิญจน์ที่โยงจากศพและนำศพให้เคลื่อนที่ไปยังที่เก็บ ที่ตั้ง หรือที่เผาศพ (ใช้แก่พระ). | เชิงกอบ | น. ภาษีผ่านด่าน, ภาษีปากเรือ, ภาษีที่เก็บเพื่อใช้บำรุงท้องถิ่น, จังกอบ ก็เรียก. | ท้องพระคลัง | น. สถานที่เก็บพระราชทรัพย์หรือสิ่งของอันมีค่าอื่น ๆ ของพระมหากษัตริย์. | เทอม | (เทิม) น. ระยะเวลาที่กำหนดไว้เป็นตอน ๆ, ภาคเรียน, เรียกค่าเล่าเรียนที่เก็บในภาคเรียนหนึ่ง ๆ ว่า ค่าเทอม. | ธนธานี | (ทะนะ-) น. สถานที่เก็บพัสดุมีค่า, คลัง, ที่เก็บสินค้า. | ธนาคารเลือด | น. สถานที่เก็บรักษาเลือดไว้เพื่อบริการแก่ผู้ป่วย, คลังเลือด ก็ว่า. | นิวคลิอิก | น. ชื่อกรดชนิดหนึ่ง ซึ่งมีโมเลกุลใหญ่มากและมีโครงสร้างซับซ้อน มี ๒ ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบ-นิวคลิอิก (deoxyribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า DNA และกรดไรโบนิวคลิอิก (ribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า RNA มีปรากฏอยู่ในสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทำหน้าที่เก็บรวบรวมและถ่ายทอดพันธุกรรม. | บงสุกูลิก | น. ผู้ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร, เป็นชื่อธุดงค์ประการหนึ่งของภิกษุผู้ใช้ผ้าเฉพาะที่เก็บได้จากกองฝุ่นกองหยากเยื่อมาทำเป็นเครื่องนุ่งห่ม คือ ไม่ใช้ผ้าที่ชาวบ้านถวาย. | ปมจิต | น. อารมณ์และความรู้สึกของบุคคลที่เก็บกดสะสมไว้ในจิตใต้สำนึกมาตั้งแต่ในวัยเด็ก ปมจิตนี้จะทำให้บุคคลผู้นั้นแสดงออกในด้านความคิด ความรู้สึก และการกระทำในลักษณะที่ซํ้ากันจนเกิดเป็นอุปนิสัยประจำตัว. | เป็นตัว | ข้าวสารหรือเมล็ดถั่วเป็นต้นที่เก็บไว้นาน ๆ จนมีตัวมอดว่า ข้าวเป็นตัว ถั่วเป็นตัว. | เป็นที่ ๑, เป็นที่เป็นทาง | อาการที่เก็บของไว้ตามที่อย่างเป็นระเบียบ เช่น เก็บของไม่เป็นที่ เก็บของเป็นที่เป็นทาง. | เป็นรัง | ว. เรียกข้าวสารที่เก็บไว้นานจนมีลักษณะคล้ายรังก่อนจะกลายเป็นตัวหนอน ว่า ข้าวเป็นรัง. | พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน | (พิพิดทะพัน, -พันทะสะถาน) น. สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ. | ภาษีโรงเรือนและที่ดิน | น. ภาษีที่เรียกเก็บจากเจ้าของที่ดิน โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นปีละครั้งตามค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น เว้นแต่เจ้าของอยู่เองหรือให้ผู้แทนเฝ้ารักษาโดยมิได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรม. | มันปู | ว. สีแดงเจือเหลืองกับดำ เช่น พระเครื่องเนื้อสีมันปู โลหะที่เก็บไว้นาน ๆ จะออกสีมันปู. | ยับ ๑ | น. เรียกผลหมากสุกที่เก็บไว้กินนาน ๆ โดยทำเป็นหมากหลุมหรือหมากไห ว่า หมากยับ. | เรือดไม้ | น. ชื่อแมลงหลายชนิดหลายสกุล ในอันดับ Psocoptera ขนาดเล็กมาก ตัวยาว ๑-๒ มิลลิเมตร ลำตัวอ่อนมาก มักมีสีขาว อาจพบได้ทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ชนิดมีปีก ปีกมี ๒ คู่ เป็นแผ่นบางใส ขณะหุบปีกคลุมตัวเป็นรูปคล้ายหลังคา อาศัยอยู่ตามกองกระดาษ หนังสือ เศษขยะเก่า ๆ ในบ้าน ที่เก็บของในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ตามเปลือกไม้หรือบริเวณตามตะไคร่นํ้านอกบ้าน ที่อยู่ตามหนังสือเรียก เหาหนังสือ เช่น ชนิด Psocatropos microps (Enderlein) ในวงศ์ Psyllipsocidae, เลือดไม้ หรือ เหาไม้ ก็เรียก. | แล่ง ๒ | น. รังกระสุน, ที่เก็บลูกกระสุนดินดำหรือลูกศร. | สมบัติบ้า | ข้าวของที่เก็บไว้แต่ไม่มีประโยชน์ เช่น สมบัติบ้าเต็มตู้ไปหมด ไม่รู้จักทิ้งเสียบ้าง. | สรรพสามิต | (สับพะ-, สันพะ–) น. อากรที่เก็บจากสิ่งประดิษฐ์และผลิตขึ้นภายในประเทศ เรียกว่า อากรสรรพสามิต. | สรรพากร | (สันพากอน) น. อากรที่เก็บจากสิ่งที่เป็นเองหรือมีบ่อเกิดเป็นรายได้. | ส่วนลด | น. ส่วนที่หักจากจำนวนเงินที่เก็บมาได้ หรือจากจำนวนที่ซื้อหรือที่ใช้ตามส่วนที่กำหนดไว้. | เส้นลึก | อาการที่เก็บความรู้สึกได้ดีจนยากที่จะสังเกตได้ว่าพอใจหรือไม่พอใจสิ่งใด เช่น เขาจับเส้นเจ้านายไม่ถูก เพราะเป็นคนเส้นลึกมาก. | เสบียง | (สะเบียง) น. อาหารที่จะเอาไปกินระหว่างเดินทางไกล, อาหารที่เก็บไว้สำหรับบริโภค, มักใช้เข้าคู่กับคำ อาหาร เป็น เสบียงอาหาร. | เสบียงกรัง | น. อาหารที่เก็บไว้กินได้นาน ๆ, อาหารรองรัง, เช่น ในยามสงครามต้องเตรียมเสบียงกรังไว้มาก ๆ. | หมาก ๑ | น. ชื่อเรียกปาล์มหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Palmae โดยเฉพาะชนิด Areca catechuL. ผลมีรสฝาด ใช้เคี้ยวกินกับปูน พลู ซึ่งรวมเรียกว่า กินหมาก และใช้ฟอกหนัง, ผลที่ยังไม่แก่เรียก หมากดิบ, ผลที่แก่จัดเรียก หมากสง, เนื้อหมากที่ฝานบาง ๆ ตากแห้ง ลักษณะคล้ายอีแปะ เรียก หมากอีแปะ, ผลแก่จัดที่เก็บไว้ทั้งเปลือกเพื่อไว้กินนาน ๆ เรียก หมากยับ. | หมากยับ | น. หมากที่เก็บไว้ทั้งเปลือกเพื่อไว้กินได้นาน ๆ. | หอจดหมายเหตุ | น. สถานที่เก็บและให้บริการเอกสารจดหมายเหตุ. | หัวเบี้ย | น. ผู้ที่เก็บและจ่ายเงินในวงถั่วโปเป็นต้น | อกแตก | อาการของคนที่เก็บความรู้สึกอัดอั้นตันใจไว้จนทนไม่ไหว. |
|
| location clause | ข้อกำหนดสถานที่เก็บสินค้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | location limit | ขีดจำกัดสถานที่เก็บสินค้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | road, toll | ถนนที่เก็บค่าผ่านทาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | spool | ๑. ม้วน, ม้วนแถบ [ มีความหมายเหมือนกับ reel ]๒. ที่เก็บพัก๓. เก็บพัก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | spool | ๑. ม้วน, ม้วนแถบ [ มีความหมายเหมือนกับ reel ]๒. ที่เก็บพัก๓. เก็บพัก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bridge, toll | สะพานที่เก็บค่าผ่านทาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | back taxes | ภาษีที่เก็บย้อนหลัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mislaid property | ทรัพย์สินที่ลืมที่เก็บ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | dock warrant | ประทวนสินค้าขาเข้า (ที่เก็บไว้ในคลังสินค้าท่าเรือ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trover | คดียักยอกทรัพย์สินหายที่เก็บได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | toll bridge | สะพานที่เก็บค่าผ่านทาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | toll road | ถนนที่เก็บค่าผ่านทาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Vertical file | ตู้เก็บเอกสารที่เก็บจุลสาร กฤตภาค แผนที่ เอกสารพับ ที่มีลักษณะไม่คงทนถาวร, ตู้จุลสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Depository | ที่เก็บ ที่ฝาก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Repository | คลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Interim storage | การเก็บรักษาเฉพาะกาล, การเก็บรักษาเชื้อเพลิงใช้แล้วหรือกากกัมมันตรังสีในสถานที่เก็บชั่วคราวก่อนที่จะนำไปดำเนินการหรือเก็บรักษาในสถานที่เก็บถาวรต่อไป <br> (ดู storage, waste และ disposal, waste ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Augmentative and Alternative Communicate | อุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology] | Geographic Information System | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์, ระบบคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลแผนที่แบบต่างได้อย่างแม่นยำ มีประโยชน์ในการ จัดทำ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ พร้อมกับการแสดงผลข้อมูลชนิดอื่นๆ ที่ต้องอิงพื้นที่ อาจจะเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แผนที่อิเล็กทรอนิกส์ [Assistive Technology] | Motorized Wheelchair | รถเข็นคนพิการที่ติดตั้งมอเตอร์, รถเข็นคนพิการที่ติดตั้งมอเตอร์และชุดควบคุมการเคลื่อนที่ใช้พลังงานจากไฟฟ้าที่เก็บไว้ในแบตเตอรี [Assistive Technology] | Storage | ที่เก็บ [TU Subject Heading] | Wealth tax | ภาษีที่เก็บตามความมั่งคั่ง [TU Subject Heading] | Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] | Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] | Constant viscosity rubber | ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง] | Cells, Reserve | เซลล์ที่เก็บตัวไว้ [การแพทย์] | Chambers, Expansion | ที่เก็บสาร [การแพทย์] | Chambers, Matering | ที่เก็บสารที่วัดขนาดได้ [การแพทย์] | Dehydrators | ที่เก็บผัก [การแพทย์] | Fat Depot | เซลล์ที่เก็บไขมัน [การแพทย์] | Fungi, Storage | เชื้อราในเมล็ดพืชที่เก็บเกี่ยวแล้ว [การแพทย์] | DNA bank | DNA bank, สถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่างต่างๆ ที่สามารถนำมาศึกษาต่อทางพันธุกรรมได้, Example: เช่น เนื้อเยื่อ เซลล์ ชิ้นส่วนของอวัยวะ เลือด และสิ่งที่ส่งตรวจในห้องปฏิบัติการ เป็นต้น ในทางปฏิบัติมักพบมีความคาบเกี่ยวระหว่างห้องปฏิบัติการวินิจฉัยและห้อง ปฏิบัติการวิจัย [ชีวจริยธรรม] | personal biobank | personal biobank, ตัวอย่างที่เก็บไว้เพื่องานวิจัยในห้องปฏิบัติการของผู้วิจัย หรือคณะผู้วิจัย หรือหน่วยงานวิจัยที่มีการเก็บไว้เพื่อการทดลองเฉพาะกลุ่ม [ชีวจริยธรรม] | gall bladder | ถุงน้ำดี, อวัยวะที่มีลักษณะเป็นถุงอยู่ในตับ ทำหน้าที่เก็บน้ำดี มีท่อลำเลียงน้ำดีไปยังลำไส้เล็ก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | BIOS (Basic Input Output System) | ไบออส, ไบออสทำหน้าที่เก็บข้อมูล โปรแกรมและคำสั่งพื้นฐานที่สำคัญในการเริ่มต้นกระบวนการบูตของเครื่องคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | database | ฐานข้อมูล, การรวมของตารางข้อมูลหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Random Access Memory ( RAM) | แรม, หน่วยความจำหลัก ทำหน้าที่เก็บข้อมูลจากการประมวลผลเป็นการชั่วคราว ซึ่งอนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควรแต่จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นหากเกิดไฟฟ้าดับ ข้อมูลและโปรแกรมคำสั่งจะสูญหายไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | register | รีจิสเตอร์, ที่เก็บข้อมูลชั่วคราวของเอแอลยู ในไมโครโปรเซสเซอร์ของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เก็บบิตของข้อมูล เพื่อนำมาให้คอมพิวเตอร์ใช้ในการประมวลผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | storage unit | หน่วยเก็บข้อมูล, หน่วยที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลแบบถาวรบนคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | memory unit | หน่วยความจำ, หน่วยที่ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์กำลังประมวลผล และเป็นที่พักข้อมูลระหว่างที่ซีพียูกำลังประมวลผลข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | inferential statistics | สถิติเชิงอนุมาน, การวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากตัวอย่างเพื่ออ้างอิงไปถึงข้อมูลทั้งหมด เป็นศาสตร์ที่ให้วิธีการเลือกตัวแทนที่ดีของประชากร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| ที่เก็บของท้ายรถ | [thī kep khøng thāi rot] (n) EN: trunk FR: coffre (de véhicule) [ m ] | ที่เก็บศพ | [thī kep sop] (n, exp) FR: morgue [ f ] |
| blow off steam | (vt, phrase) ปลดปล่อยอารมณ์ (ที่เก็บกดไว้, ที่เก็บอัดไว้) เช่น How did you blow off steam after the first week of classes? |
| accumulation | (n) ของที่เก็บสะสม, See also: ของที่รวบรวมไว้, Syn. heap | archive | (n) สถานที่เก็บเอกสารสำคัญ | bagwoman | (n) หญิงที่เก็บ แจกจ่ายเงินที่ได้มาโดยผิดกฎหมาย, See also: หญิงที่เก็บเงินหวยเถื่อน | bank | (n) ที่เก็บข้อมูล อาหารหรือเลือดเพื่อใช้ตอนฉุกเฉิน, See also: สิ่งที่สำรองเอาไว้ | barnyard | (n) บริเวณที่เก็บยุ้งข้าว, Syn. barn | be away | (phrv) เก็บในที่เก็บ, See also: ไว้ที่, เก็บที่ | cache | (n) สถานที่เก็บซ่อนสิ่งของ | call number | (n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด | Calor gas | (n) แก๊สชนิดหนึ่งที่เก็บในสภาพที่เป็นของเหลวบรรจุในภาชนะเหล็กสำหรับใช้ในที่ที่ไม่มีเชื้อเพลิง | card | (n) บัตรภาพ (ที่เก็บสะสม) | charnel | (n) สุสาน, See also: สถานที่เก็บศพหรือกระดูก | cistern | (n) ที่เก็บน้ำขนาดใหญ่ (มักไว้ใต้ดิน) | clandestine | (adj) ที่เก็บไว้เป็นความลับ, Syn. secret, privat | crop | (n) ผลผลิตที่เก็บเกี่ยว, Syn. yield, produce, harvest | cropper | (n) ผู้เช่าที่ทำนาโดยจ่ายค่าเช่าเป็นผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้, Syn. sharecropper | feed off | (phrv) นำออกมาจาก (ที่เก็บสำรองไว้) | database | (n) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ, Syn. data bank | dip into | (phrv) ใช้เงินที่เก็บสะสมมา | fiche | (n) ฟิลม์ขนาดเล็กที่เก็บข้อมูลปริมาณมากได้, Syn. microfiche | folder | (n) ที่เก็บเอกสาร, Syn. file, binder, portfolio | gasholder | (n) ถังแก๊ซขนาดใหญ่, See also: ที่เก็บแก๊ซ, Syn. gasometer | haystack | (n) กองหญ้าใหญ่ที่เก็บไว้ใช้ในฤดูหนาวที่กองไว้กลางแจ้ง, Syn. hayrick | jitney | (n) รถโดยสารขนาดเล็กที่เก็บค่าโดยสารถูก, Syn. minibus | junkyard | (n) สถานที่เก็บของเก่า, Syn. scarpyard | microchip | (n) ชิ้นซิลิคอนขนาดเล็กที่เก็บแผงวงจรไฟฟ้า, See also: ไมโครชิป, แผ่นชิป, Syn. chip | money box | (n) กระปุกออมสินแบบมีกุญแจล็อกได้, See also: ที่เก็บเงินออม, Syn. repository, treasury | morgue | (n) ที่เก็บศพ, See also: ห้องเก็บศพ, ห้องดับจิต, Syn. mortuary | mow | (n) โรงนา, See also: ที่เก็บฟางหรือหญ้าแห้ง | nest egg | (n) จำนวนเงินที่เก็บไว้ใช้ในอนาคต | pickings | (n) สิ่งที่เก็บขึ้นมาได้, Syn. profits, earnings | purser | (n) เจ้าหน้าที่เรือมีหน้าที่เก็บเอกสารและเงิน, Syn. treasurer, steward | repository | (n) ที่เก็บ, See also: ที่รองรับ, ที่บรรจุ | repository | (n) โกดัง, See also: คลังสินค้า, ที่เก็บสินค้า, Syn. store, warehouse | repository | (n) สุสาน, See also: ที่ฝังศพ, สถานที่เก็บศพ, ฮวงซุ้ย, Syn. vault | reservoir | (n) ที่เก็บสะสม, Syn. stor, stock, supply | saving | (n) สิ่งที่เก็บไว้ (เงินหรือเวลา), See also: เงินออม, สิ่งที่สงวนไว้ | seed | (adj) ที่เก็บไว้เป็นพันธุ์ (ทางการเกษตร), See also: ที่เก็บพันธุ์เอาไว้, เก็บเมล็ดไว้เป็นพันธุ์ | shelf life | (n) ช่วงเวลาของความทนทานของผลิตภัณฑ์ที่เก็บได้นานบนหิ้ง | spare | (adj) ที่เก็บไว้ในยามฉุกเฉิน, See also: ซึ่งสำรองไว้, Syn. reserve | spare part | (n) ของอะไหล่, See also: สิ่งที่เก็บไว้สำรอง | storage | (n) ที่เก็บ, See also: สถานที่เก็บรักษา, Syn. storehouse, warehouse | storehouse | (n) คลังเก็บของ, See also: ที่เก็บของ, โกดัง, Syn. depository, storage, warehouse | stowage | (n) ของที่เก็บ, See also: สิ่งที่เก็บใส่ | supplement | (n) จำนวนเงินที่เก็บเพิ่มเติม, See also: การเก็บเงินเพิ่ม, Syn. extra charge, surcharge | surtax | (n) ภาษีส่วนเพิ่ม, See also: ภาษีที่เก็บเพิ่ม, Syn. surcharge, extra tax | toll bridge | (n) สะพานที่เก็บค่าผ่านทาง | toll call | (n) โทรศัพท์ทางไกลที่เก็บค่าบริการแพงกว่าปกติ, See also: ิโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาและนิวซีแลนด์ | Tom Thumb | (n) คอกสำหรับเก็บค่าธรรมเนียม, See also: ที่เก็บค่าธรรมเนียม | treasury | (n) ที่เก็บทรัพย์สมบัติ, See also: คลัง | yard | (n) สถานที่เก็บรถไฟ |
| access arm | ก้านเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ในหน่วยบันทึก มีลักษณะเป็นก้านที่ต่อกับหัวอ่าน/บันทึก (read / write head) ที่ใช้เจาะเข้าไปที่จานบันทึก เพื่ออ่านข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล หรือเพื่อบันทึกข้อมูลลงในจานบันทึก มีลักษณะคล้ายเข็มของเครื่องเล่นจานเสียง | access time | ช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ | aquarium | (อะแคว'เรียม) n., (pl. aquariums, aquaria) ที่เก็บ (บ่อ, ถัง, อ่าง, ฯลฯ) สัตว์น้ำหรือพืชน้ำ. -aquarian, aquarial adj. | archived file | (อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้) | armory | (อาร์'มะรี) n. ที่เก็บอาวุธ, คลังแสง, โรงงานคลังแสง. = heraldry, Syn. arsenal | armoury | (อาร์'มะรี) n. ที่เก็บอาวุธ, คลังแสง, โรงงานคลังแสง. = heraldry, Syn. arsenal | arrearage | (อะเรีย'เรจฺ) n. ภาวะที่ล่าช้า, ภาวะที่คั่งค้าง, สิ่งที่เก็บสำรอง | assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) | backing store | หน่วยเก็บหนุนหน่วยเก็บข้อมูล ที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บหนุนนี้แทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยเก็บความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backup storage | backup storage | หน่วยเก็บสำรอง <คำแปล>หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บสำรองแทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backing store | bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | bitmapped font | แบบอักษรบิตแมปหมายถึง แบบอักษรที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ รวมตัวกันที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) เมื่อขยายขนาดให้ใหญ่ จะเห็นรอยหยัก ๆ ไม่เรียบสวย กับทั้งยังเปลืองที่เก็บมาก ดู bitmapped image ประกอบ | bitmapped graphic | (กราฟิกบิตแมป) หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped image | bitmapped image | ภาพบิตแมป <คำแปล>หมายถึง ภาพที่มีลักษณะของบิตแมป กล่าวคือประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสงที่เรียกว่าจุดภาพ (pixel) จุดนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก การขยายขนาดของภาพจะทำให้จุดนี้โตขึ้น และเห็นเป็นรอยหยัก ๆ ถ้าเป็นเส้นโค้ง ก็จะยิ่งเห็นได้ชัด โปรแกรมวาดภาพบางโปรแกรม เช่น MacPaint หรือ Paint จะสร้างและและเก็บภาพ ในลักษณะนี้ ในระบบวินโดว์ แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้ จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .BMPมีความหมายเหมือน bitmapped graphic | bmp | (บีเอ็มพี) ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพหรือกราฟิกที่มีลักษณะเป็นจุดภาพ (pixel) เล็ก ๆ ที่เรียกว่าบิตแมป เช่น WINLOGO.BMP ดู bitmap ประกอบ | boot sector | ส่วนวงปลุกเครื่องหมายถึง ส่วนของแผ่นจานบันทึกที่เก็บคำสั่งที่ใช้ในการปลุกเครื่อง ถ้าส่วนนี้เสีย (อ่านไม่ได้) คอมพิวเตอร์ก็จะไม่ทำงานเลยตั้งแต่ต้น | bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | c: | หน่วยบันทึกซีหมายถึง ชื่อหน่วยบันทึกแข็งที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม หรือเครื่องเลียนแบบ (compatibles) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มักจะมีหน่วยบันทึกอย่างน้อยสองหน่วย คือ หน่วยบันทึกA: และหน่วยบันทึก C: หน่วยบันทึก C: มักนิยมใช้เรียกฮาร์ดดิสก์ซึ่งจะมีความจุมากกว่าหน่วยบันทึก A: มาก จึงมักใช้ C: เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ตั้งแต่โปรแกรมระบบจนถึงโปรแกรมสำเร็จ (เวลาเขียน ต้องมีเครื่องหมาย : ตามหลังตัว C เสมอ จึงจะหมายถึงหน่วยบันทึก) | cache | (แค?) { cached, caching, caches } n. ที่ซ่อน, ที่เก็บ, สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน, เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory | cd | abbr. ธาตุ cadmium, แผ่นซีดี ย่อมาจาก compact disk แปลตามตัวอักษรว่า จานบันทึกอัดแน่น มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล จานบันทึกนี้มีความจุสูงมาก (ประมาณ 600ล้านตัวอักษร) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ใช้อ่านข้อมูลจากจานบันทึกนี้ได้ แต่การบันทึกข้อมูลลง ยังทำไม่ได้ง่าย ๆ ต้องมีเครื่องพิเศษเฉพาะ บันทึกได้ทั้งข้อมูลธรรมดา เพลง ภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้มาก เพราะราคาถูก ความจุสูง แต่ยังติดขัดในปัญหาบางประการในเรื่องการบันทึกข้อมูลลง ดู CD ROM ประกอบ 2. ย่อมาจากคำ Change Directory เป็นคำสั่งในระบบดอสที่สั่งให้เข้าไปในสารบบ (directory) ใดสารบบหนึ่ง หรือออกจากสารบบใดสารบบหนึ่ง เช่น C:/>CD <ชื่อสารบบ> \ (หมายความว่าให้เข้าไปในสารบบชื่อนั้น) C:> CD\ (หมายความว่า ให้ออกจากสารบบที่อยู่) | cd-rom | (ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง | cellar | (เซล'ลาร์) n. หลุมใต้ดิน, ห้องเก็บเหล้าใต้ดิน, ปริมาณเหล้าที่เก็บ | cellarage | (เซล'ลาร์) n. ห้องใต้ดิน, หลุมใต้ดิน, ห้องเก็บเหล้าใต้ดิน, ปริมาณเหล้าที่เก็บ, Syn. vault | cgm | (ซีจีเอ็ม) abbr. ย่อมาจาก computer graphics metafile เป็นระบบการเก็บภาพของคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm | chancery | (ชาน'ซะรี) n. ศาลฎีกา, ที่เก็บเอกสารทางราชการ, ที่ทำการของเสนาบดี, ภาวะที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออก | chest | (เชสทฺ) n. หีบ, กล่องขนาดใหญ่, ลังขนาดใหญ่, ทรวงอก, หน้าอก, เต้านม, คลัง, เงินทุน, เงินแผ่นดิน, กรมคลัง, กระทรวงการคลัง, สิ่งที่เก็บอยู่ในหีบ | chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | chip | (ชิพ) 1. { chipped, chipping, chips } n. เศษไม้, เศษหิน, ชิ้น, แผ่นตัด, เศษ, เบี้ย, สิ่งเล็กสิ่งน้อย, สิ่งที่ไร้ค่าหรือมีค่าน้อย, ไม้ตอก, ก้อนมูลแห้ง, เงิน vt. ตัด, เลาะ, แกะ, แชะ, ขูด, สกัด, เจาะ, ทำปากแหว่ง, เฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ , พูดเหน็บแนม, พูดสอด, จิกให้ไข่แตก vi. แหว่ง, เป็นรอยร้า 2. n. หมายถึงวงจรรวม (integrated circuit) ทำหน้าที่ เหมือนสาร กึ่งตัวนำ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในไมโครคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน มีชิปแบบวีแอลเอสไอ (VLSI หรือ Very large scale integrated circuit) ซึ่งจะมีทรานซิสเตอร์เป็นพัน ๆ ตัว แต่มีขนาดเล็กนิดเดียว ราคาถูกลงทุกวัน แต่มีประสิทธิภาพสูงมาก ถ้าชิปใดมีทั้งหน่วยความจำ หน่วยคำนวณ และตรรกะ เราจะเรียกชิปนั้นว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (micro processor) ปัจจุบัน เราใช้ชิปกันมากในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เครื่องคิดเลข นาฬิกา เครื่องมือแพทย์ ฯ ดู microprocessor ประกอบ | cinerarium | n. ที่เก็บอัฐิของศพที่เผาแล้ว | cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | cistern | (ซิส'เทอน) n. ถังน้ำ, ที่เก็บน้ำ | client application | โปรแกรมเฉพาะเครื่อง1. ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) คำนี้หมายถึง โปรแกรมที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์บางเครื่อง โดยปกติ ในระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีคอมพิวเตอร์กลางเครื่องหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ไว้ให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถเรียกไปใช้ได้ เรียกว่า เครื่องบริการแฟ้ม (file server) (คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมเหล่านั้น) แต่ถ้าเครื่องบริการแฟ้มนั้นเสีย คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกันนั้นก็จะทำงานไม่ได้เลย ฉะนั้น เราจึงมักจะให้คอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายมีโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องของตนเองด้วย อย่างไรก็ตาม ในกรณีนี้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่แม้จะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน จะไม่สามารถเรียกโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปใช้ได้ เราเรียกโปรแกรมที่เก็บอยู่เฉพาะในเครื่องนี้ว่า " client application "2. โปรแกรมบนระบบวินโดว์ที่สามารถโยงถึงที่มาของภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบได้ หากเมื่อใดมีการแก้ไขในแฟ้มต้นแบบ โปรแกรมก็จะจัดการแก้ไขในแฟ้มใหม่ ให้ด้วย ดู OLE เปรียบเทียบ | client server system | ระบบรับ-ให้บริการหมายถึง เครือข่ายการทำงานแบบที่กำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นเป็นเครื่องบริการแฟ้ม (file server) หรือเป็นที่เก็บโปรแกรมและแฟ้มทั้งหมด คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะเรียกใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลจากกันไม่ได้ ต้องเรียกจากเครื่องบริการแฟ้มเท่านั้นดู file server ประกอบดู peer to peer เปรียบเทียบ | cmos | (ซีมอส) ย่อมาจากคำว่า complementary metal-oxide semiconductor หมายถึง วงจรที่ออกแบบไว้เป็นพิเศษ เพื่อการประหยัดกระแสไฟ วงจรซีมอสนี้มักจะใช้ในของชิ้นเล็ก ๆ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องคิดเลข คอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) หรือส่วนที่เก็บวันเวลา (date/time) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป | collection | (คะเลค'เชิน) n. การสะสม, การรวบรวม, เงินสะสม, สิ่งที่เก็บรวบรวมไว้, การจัดเก็บ, การเรียกเก็บ, เงินที่เรี่ยไรมา | compact disk | ใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง | compression | (คัมเพรส'เชิน) n. การอัด, การบีบ, การกด, ผลจากการถูกอัด, ความกดดัน, ภาวะที่ปริมาตร (ในห้องเครื่อง) ต่ำลงและความกดดันของอากาศสูงขึ้นก่อนการเผาไหม้., Syn. compressure การอัดแน่นหมายถึง นำข้อมูลหรือคำสั่งจำนวนมาก ๆ มาอัดให้แน่น เพื่อ ให้ใช้ที่เก็บในหน่วยความจำ หรือจานบันทึกน้อยลง โดยปกติ จะมีโปรแกรม หรือคำสั่ง ในดอส 6.0 ที่สามารถอัดโปรแกรม ใหญ่ ๆ ที่กินเนื้อที่มาก ๆ ให้เหลือน้อยลง เพื่อจะได้เก็บลงในแผ่นจานบันทึกได้ จานบันทึกชนิดอ่อน floppy disk ในปัจจุบัน มีความสูงสุด 1.44 เมกะไบต์ ฉะนั้น ถ้าแฟ้มข้อมูลใหญ่มาก ก็จะไม่สามารถเก็บลงในแผ่นได้ จึงต้องจัดการอัดให้แน่นเสียก่อน อย่างไรก็ตาม เมื่อจะเรียกมาใช้ จะต้องนำมาคลายออกก่อน เรียกว่า "decompress" การอัดแน่นก็ดี การคลายคืนก็ดี จะต้องมีโปรแกรมเฉพาะจัดทำให้ ในระบบดอส นิยมใช้ PKZip/Unzip ในระบบ Windows 95 โปรแกรมที่นิยมชื่อ WinZip ในระบบยูนิกซ์ ใช้ Gunzipดู expand, decompress เปรียบเทียบ | computer graphics metafil | ใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm | computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส | conservatory | (คันเซอ'วะโทรี) n. ห้องกระจกสำหรับปลูกต้นไม้, โรงเรียนดนตรี, สถานที่เก็บรักษาของ. adj. เกี่ยวกับการเก็บรักษาหรือสงวน, เกี่ยวกับการดอง, Syn. greenhouse, conservatoire | copy disk | คัดลอกทั้งแผ่นเป็นคำสั่งในระบบวินโดว์ ที่สั่งให้คัดลอกแฟ้มข้อมูลทั้งหมดในแผ่นต้นแบบ ไปลงในอีกแผ่นหนึ่งซึ่งต้องมีขนาดเท่าแผ่นต้นแบบทุกประการ การคัดลอกด้วยคำสั่งนี้ จะเลือกเฉพาะบางแฟ้มข้อมูลไม่ได้ นอกจากนั้น เมื่อคัดลอกมาแล้ว จะลบแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่เดิมทิ้งไปให้ด้วย (เฉพาะแผ่นที่เก็บข้อมูลที่คัดลอกมาเท่านั้น) | creamery | (ครี'เมอรี) n. สถานที่ทำครีม เนยแข็งและเนยเหลว, สถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์นม, สถานที่เก็บนมให้เกิดครีม | custodian | (คัสโท'เดียน) n. ผู้ปกครอง, ผู้อารักขา, ผู้ที่เก็บรักษา, See also: custodianship n. ดูcustodian | data file | แฟ้มข้อมูลหมายถึง ข้อสนเทศหรือข้อมูลทั้งหมดที่เก็บไว้ในสื่อที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กไม่ว่าจะเป็นจานบันทึกธรรมดา หรือจานบันทึกแข็ง (hard disk) ก็ตาม ข้อสนเทศที่นำไปเก็บนั้น จะถูกนำไปเก็บไว้เป็นเรื่อง ๆ ไป อาจจะเป็นข้อมูล หรือภาพ (graphics) ก็ได้ แต่ละเรื่องต่างก็ต้องมีชื่อเป็นของตนเอง ที่ต้องไม่ซ้ำกัน เรียกว่า "แฟ้มข้อมูล" | data transfer | การถ่ายโอนข้อมูลหมายถึง การเคลื่อนย้ายข้อมูลจากที่เก็บในตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง หรืออาจหมายถึงการย้ายที่เก็บจากสื่อเก็บหนึ่งไปอีกสื่อหนึ่งก็ได้ หรือบางทีอาจหมายถึง การย้ายข้อมูลจากโปรแกรมหลัก (master program) ไปทำงานยังโปรแกรมย่อย (subprogram) | delete | (ดิลีท') vt. ลบออก, เอาออก ลบทิ้งลบออกลบ1. หมายถึง แป้นสำหรับสั่งให้ลบทิ้ง การกดแป้นนี้ จะทำให้ลบตัวอักขระที่ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) นำอยู่ออก ตัวอักขระที่อยู่ถัดไปจะเลื่อนขึ้นมาทางซ้ายอีกตำแหน่งหนึ่งตามกันมาเป็นกระบวน2. ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ที่แท้จริงนั้น หมายถึง การลบข้อความหรือข้อมูล หรือระเบียน ออกจากแฟ้มข้อมูล (file) หรือฐานข้อมูล (database) 3. ในระบบดอส ใช้เป็นคำสั่งลบชุดคำสั่ง (program) หรือแฟ้มข้อมูล (file) ที่เก็บไว้ในจานบันทึก (disk) เช่นเดียวกับคำสั่ง ERASE อาจใช้ตัวย่อว่า DEL ก็ได้ เช่น A>DEL* . BASมีความหมายเหมือน erase | deposit | (ดิพอส'ซิท) { deposited, depositing, deposits } vt. ทับถม, สะสม, กอง, ฝากไว้, ฝากเงิน, วางไข่ vi. ฝากไว้. n. สิ่งที่ทับถม, การฝาก, ที่เก็บเงินฝาก, เงินมัดจำ | depositary | (ดิพอส'ซิททะรี) รับฝาก, ผู้ดูแล, ผู้เก็บรักษา, ที่เก็บรักษา, Syn. depository | depository | (ดิพอซ'ซิโทรี) n. ที่เก็บของ, โกดัง, สถานที่รับฝากของ, ผู้พิทักษ์มรดกหรือทรัพย์สิน | direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ |
| assessment | (n) การประเมินราคา, การตีราคา, การกำหนด, เงินที่เก็บได้ | bunker | (n) ที่เก็บถ่านหินในเรือ, มูนดิน | cache | (n) ขุมทรัพย์, ขุมสมบัติ, ที่เก็บของ | cesspool | (n) บ่อขันน้ำจากท่อ, ถังส้วมซึม, ที่เก็บขยะ | chancery | (n) ศาล, ศาลฎีกา, ที่เก็บเอกสารของทางราชการ | cistern | (n) ถังเก็บน้ำ, ที่เก็บน้ำ | depot | (n) คลังสรรพาวุธ, คลังพัสดุ, ที่เก็บของ, โกดัง, สถานีรถไฟ | file | (n) แฟ้ม, ตะไบ, แถวตอน, ที่เก็บเอกสาร | folder | (n) แฟ้ม, ที่เก็บเอกสาร, เครื่องพับกระดาษ, คนพับกระดาษ | garner | (n) ที่เก็บของ, ยุ้ง, ฉาง | hold | (n) การถือ, ที่ยึด, ที่จับ, ที่เก็บสินค้าใต้ท้องเรือ | morgue | (n) ที่เก็บศพชั่วคราว, โรงเก็บศพ | mortuary | (n) ที่เก็บศพชั่วคราว, ที่ฝังศพ | receptacle | (n) ที่เก็บ, ที่ใส่ของ, ที่รองรับ | storage | (n) การเก็บรักษา, ที่เก็บของ, แหล่งเก็บข้อมูล | store | (n) ที่เก็บของ, ห้องพัสดุ, ห้างร้าน |
| 初物 | [はつもの, hatsumono] (n) พืชผัก ผลไม้ หรือปลา ที่เก็บเกี่ยว หรือจับได้ในช่วงต้นฤดู |
| Ordner | (n) |der, pl. Ordner| ที่เก็บเอกสาร | herunterladen | (vt) |lädt herunter, lud herunter, hat heruntergeladen| ดาวน์โหลด, การถ่ายหรือบรรจุข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยเก็บของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ ลงไปในหน่วยเก็บของไมโครคอมพิวเตอร์หรือในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เช่น eine Datei herunterladen, Syn. laden | Akku | (n) |der, pl. Akkus| แบตเตอรีแบบที่เก็บไฟฟ้าและถูกชาร์จไฟใหม่ได้ เช่น Nikon hat für die betroffenen Akkus nun eine Rückruf-Aktion gestartet., See also: die Batterie, Syn. der Akkumulator |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |