ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: บฝ, -บฝ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ รับฝาก | (v) accept taking care of, See also: receive or undertake for delivery, Example: กรมไปรษณีย์ฯ ได้เปิดที่ทำการไปรษณีย์ที่เยาวราชขึ้น เพื่อรับฝากไปรษณียภัณฑ์ไปประเทศจีนเป็นส่วนใหญ่ | แบบฝึกหัด | (n) exercise, See also: practice, Example: แบบฝึกหัด เป็น สื่อการเรียนที่ให้นักเรียนได้ฝึกหัด เพื่อช่วยเสริมให้เกิดทักษะและความรู้ในบทเรียน, Thai Definition: แบบตัวอย่างปัญหาหรือคำสั่งที่ตั้งขึ้น เพื่อให้นักเรียนฝึกตอบ | ทราบฝ่าพระบาท | (v) know, See also: understand, perceive (used only when speaking to royalty), Thai Definition: รู้ (ใช้กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระวรวงศ์เธอที่ทรงกรมขึ้นไปจนถึงสมเด็จเจ้าฟ้า), Notes: (ราชา) | คลื่นกระทบฝั่ง | (n) name of the Thai classical song, Thai Definition: ชื่อเพลงไทยชนิดหนึ่ง | คลื่นกระทบฝั่ง | (n) surf, Example: ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นเหมือนคลื่นกระทบฝั่ง ไม่มีใครสนใจ, Thai Definition: เรื่องราวที่ครึกโครมขึ้นมาแล้วกลับเงียบหายไป | ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท | (v) know, See also: understand (used when speaking to royalty), Syn. รู้, Example: เมื่อความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระบรมรูปทรงม้าขึ้น, Notes: (ราชา) |
|
| คลื่นกระทบฝั่ง ๑ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงโหมโรง อัตรา ๓ ชั้น พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว | คลื่นกระทบฝั่ง ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้. | คลื่นกระทบฝั่ง ๒ | น. เรื่องราวที่ครึกโครมขึ้นมาแล้วกลับเงียบหายไป. | จาบฝน | น. ชื่อนกขนาดเล็ก ในวงศ์ Alaudidae รูปร่างอ้วนป้อม สีน้ำตาลเหลือง มีลายจุดที่คอและอก หางสั้น เสียงร้องไพเราะ อยู่ตามทุ่งโล่ง กินแมลงและเมล็ดพืช ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ จาบฝนเสียงใส ( Mirafra javanica Horsfield) จาบฝนปีกแดง ( M. assamica Horsfield) และจาบฝนเสียงสวรรค์ ( Alaula gulgula Franklin). | จูบฝุ่น | ก. หกล้มหน้าควํ่า. | ตะขบฝรั่ง | ดู ตะขบ (๒). | ทราบฝ่าพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระวรวงศ์เธอที่ทรงกรมขึ้นไปจนถึงสมเด็จเจ้าฟ้า). | ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ). | ทราบฝ่าละอองพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบบังคมทูลสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี). | น้ำอบฝรั่ง | น. นํ้าหอม. | แบบฝึกหัด | น. แบบตัวอย่างปัญหาหรือคำสั่งที่ตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียนฝึกตอบเป็นต้น. | พยับฝน | น. ครึ้มฝน. | ลับปาก, ลับฝีปาก | ก. เตรียมตัวพูดหรือโต้เถียงเต็มที่ เช่น ลับปากไว้คอยท่า(ไชยเชฐ), พูดจาโต้ตอบคารมบ่อย ๆ จนคล่องแคล่ว. | หลบฝาก | น. ประเพณีที่ชายเข้าไปอาศัยรับใช้การงานให้กับหญิง. | หีบฝ้าย | ก. บีบเมล็ดออกจากปุยฝ้าย. | หีบฝ้าย | น. เรียกเครื่องมือบีบเมล็ดออกจากปุยฝ้าย ว่า เครื่องหีบฝ้าย, อีสานเรียกว่า อิ้ว. | อังกาบฝรั่ง | ดู ต้อยติ่ง. | กระด้ง | น. ภาชนะสานรูปแบน กลม ยกขอบ สำหรับฝัดข้าวเป็นต้น, ถ้ามีตาห่าง เรียกว่า ตะแกรง. | กระดานชนวน | น. แผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน. | กำปั่น ๒ | น. หีบทำด้วยเหล็กหนา สำหรับใส่เงินและของต่าง ๆ รูปค่อนข้างเป็นรูปลูกบาศก์ ฝามีหูยาวตรงกลาง ตอนปลายทำเป็นช่องเล็กเพื่อปิดลงมาสวมขอเหล็กโค้งที่ตัวหีบสำหรับใส่กุญแจ เดิมทำเป็นหีบฝังตะปูหัวเห็ดทั่วตัว. | ขมอย | (ขะมอย) น. หลาน, ลูกหลาน, เช่น ขมอยเมือเฝือแฝกหญ้า ยุงชุมฉ่าฝ่าเหลือบฝูง (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | ขัดตะหมาด | ว. เรียกท่านั่งคู้เข่าทั้ง ๒ ข้างให้แบะลงที่พื้น แล้วเอาขาไขว้กันทับฝ่าเท้า ว่า นั่งขัดตะหมาด. | ขัดสมาธิ | (ขัดสะหฺมาด) ว. นั่งคู้เข่าทั้ง ๒ ข้างให้แบะลงที่พื้นแล้วเอาขาไขว้กันทับฝ่าเท้า, ถ้าเอาขาซ้อนทับกัน เรียกว่า ขัดสมาธิสองชั้น, ถ้าเอาขาขวาทับขาซ้าย เรียกว่า ขัดสมาธิราบ, ถ้าเอาฝ่าเท้าทั้ง ๒ ข้างขึ้นข้างบน เรียกว่า ขัดสมาธิเพชร, ขัดสมาธิราบและขัดสมาธิเพชรนั้น เป็นท่าพระพุทธรูปนั่ง. | ขี้ไคล | น. เหงื่อที่ปนกับฝุ่นละอองติดกรังอยู่กับหนังกำพร้า, ไคล ก็ว่า. | เข็ม ๑ | ไม้ที่เสี้ยมให้แหลมหรือวัตถุอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้นสำหรับฝังเป็นรากสิ่งก่อสร้างกันทรุด, เสาเข็ม ก็ว่า | เขียง | กระทงจำลองสร้างไว้บนบกสำหรับฝึกฝีพายที่พายเรือพระราชพิธี. | แข้งไก่ | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Megalaspis cordyla (Linn.) ในวงศ์ Carangidae ลำตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย เรียวลู่ไปทางคอดหางซึ่งแคบมากและเป็นเหลี่ยมแข็งคล้ายแข้งไก่ หน้าครีบก้นมีกระดูกเป็นหนามแข็ง ๒ อัน พับซ่อนในร่องเนื้อได้ ตาโตมีหนังตาไขมัน ปากกว้าง ครีบอกยาวใหญ่เป็นรูปเคียว ครีบหางเป็นแฉกกว้าง ท้ายครีบหลังและครีบก้นมีครีบฝอย ๗-๑๐ ครีบ เรียงห่างกัน เกล็ดเล็กแต่เฉพาะที่อยู่ในแนวเส้นข้างตัวจนถึงข้างหางขยายใหญ่มาก ด้านบนของหัวและลำตัวมีสีเขียวอมเทา ด้านท้องมีสีขาวเงิน ขอบแผ่นปิดเหงือกมีจุดสีดำใหญ่ ว่ายน้ำเร็ว อยู่เป็นฝูงใกล้ผิวน้ำ ขนาดยาวได้ถึง ๘๐ เซนติเมตร, ขาไก่ อีลอง อีโลง หรือ หางแข็ง ก็เรียก. | ไคล ๑ | (ไคฺล) น. เหงื่อที่ปนกับฝุ่นละอองติดกรังอยู่กับหนังกำพร้า, (ปาก) ขี้ไคล, ราชาศัพท์ว่า พระเมโท | งอขี้กล้อง | ว. อาการที่ถูกทำร้ายบริเวณท้องจนล้มลงกับพื้นในลักษณะตัวงอคล้ายคนนอนสูบฝิ่น. | จัดจอง | น. ทุ่น, แพ, เรือลำเล็กสำหรับพ่วงไปท้ายเรือใหญ่ ใช้ติดต่อระหว่างเรือใหญ่กับฝั่ง, สัดจอง ก็ว่า. | ชนวน ๑ | เรียกแผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน ว่า กระดานชนวน. | ชาววัง | เรียกสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับฝีมือหรือแบบอย่างของชาววัง มักมีลักษณะพิเศษ ประณีต และสวยงาม เช่น อาหารตำรับชาววัง ตุ๊กตาชาววัง. | ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป | น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ. | ดีดฝ้าย | ก. ดึงสายกงดีดฝ้ายในกระชุให้กระทบฝ้ายเพื่อให้ฝ้ายแตกเป็นปุย. | ตรงกันข้าม, ตรงข้าม | คนละฝ่ายคนละพวก เช่น ฝ่ายค้านอยู่ตรงกันข้ามกับฝ่ายรัฐบาล | ตรวจ | (ตฺรวด) ก. พิจารณาดูความเรียบร้อย เช่น ตรวจพล ตรวจราชการ, พิจารณาดูว่าถูกหรือผิด ดีหรือร้าย เป็นต้น เช่น ตรวจบัญชี ตรวจแบบฝึกหัด ตรวจดวงชะตา, พิจารณาหาสมุฏฐาน เช่น ตรวจโรค, สำรวจ เช่น ตรวจพื้นที่. | ต้อยติ่ง | น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Acanthaceae คือ ชนิด Hygrophila erecta (Burm. f.) Hochr. ดอกเล็ก สีม่วงแดง เมล็ดใช้ทำยาพอกฝี, ต้อยติ่งไทย ก็เรียก และชนิด Ruellia tuberosa L. ดอกใหญ่ สีม่วงนํ้าเงิน, อังกาบฝรั่ง ก็เรียก. | ตะขบ | ชื่อไม้ต้นชนิด Muntingia calabura L. ในวงศ์ Tiliaceae ต้นไม่มีหนาม ผลกลมเล็กกว่าตะขบไทย สุกสีม่วงแดง รสหวาน, ตะขบฝรั่ง ก็เรียก. | ตะหลุง | น. ไม้แก่นเจาะเป็นรูสำหรับฝังหัวดุมท้ายดุมสอดเพลาเพื่อไม่ให้เพลาแกว่ง. | ทอฟฟี่ | น. ของหวานแบบฝรั่ง ใช้อม ทำด้วยนํ้าตาลกวนกับนมหรือเนยเป็นต้น มักปั้นเป็นก้อนห่อกระดาษแก้วบิดหัวท้าย. | ทำการบ้าน | ก. ทำงานหรือทำแบบฝึกหัดตามที่ครูอาจารย์สั่งให้ทำนอกเวลาเรียน. | ธนาคาร | น. กิจการที่รับฝากเงินเป็นการทั่วไปและประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการเงินอื่น ๆ. (ป. ธน + อคาร). | ธนาคารพาณิชย์ | น. ธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ และใช้ประโยชน์เงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เช่น ให้สินเชื่อ. | ธนาคารโลก | น. คำสามัญเรียกธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา ซึ่งทำหน้าที่ให้กู้ยืมเงินแก่ประเทศที่เป็นสมาชิกของธนาคาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศของตนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ธนาคารนี้ไม่รับฝากเงิน. | ธนาคารออมสิน | น. ธนาคารที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อรับฝากเงินออมสินเป็นสำคัญ. | ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ | น. การประกอบธุรกิจรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่จะจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นโดยการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์ หรือการรับซื้ออสังหาริมทรัพย์โดยวิธีขายฝาก. | ธุรกิจเงินทุน | น. การประกอบธุรกิจรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ ซึ่งมิใช่การรับฝากเงินหรือรับเงินไว้ในบัญชีที่จะเบิกถอนโดยใช้เช็ค และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นโดยวิธีหนึ่งวิธีใด. | น้ำหอม | น. นํ้าที่กลั่นจากเครื่องหอม, นํ้าอบฝรั่ง ก็เรียก. | เนิน | เรียกเนื้อรอบฝ่ามือที่มีลักษณะนูนกว่าบริเวณอุ้งมือ ว่า เนิน เช่น เนินพระศุกร์ เนินพระพุธ. | แนวหน้า | น. แนวหรือเขตแบ่งกำลังทัพทางบกส่วนหน้าซึ่งพร้อมที่จะปะทะกับฝ่ายศัตรู, ผู้ที่ไปรบได้แก่ทหาร. |
| | Depository library | ห้องสมุดรับฝาก, ห้องสมุดรับฝาก, Example: Depository library หมายถึง ห้องสมุดรับฝาก เป็นห้องสมุดประเภทหนึ่งในสหรัฐอเมริกาที่กฎหมายกำหนดไว้ว่าให้ได้รับสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นของรัฐบาลที่จัดหาให้โดยสำนักงานการพิมพ์ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา (U.S. Government Printing Office) และหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐบาลกลาง โดยผ่าน Federal Depository Library Program (FDLP) และปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐบาลกลางเกี่ยวกับการบำรุงรักษาและการเข้าถึงสิ่งพิมพ์ บางศูนย์รับฝากของรัฐบาลกลางยังรวบรวมสิ่งพิมพ์ที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐบาล ห้องสมุดรับฝากในส่วนภูมิภาคได้รับเอกสารทั้งหมดที่เผยแพร่ผ่าน FDLPและเก็บไว้อย่างถาวรอย่างน้อยหนึ่งฉบับ แต่ห้องสมุดรับฝากได้รับเพียงร้อยละ 1 ของสิ่งพิมพ์ที่มีอยู่และต้องการเก็บรักษาไว้อย่างน้อยที่สุด 5 ปี ปัจจุบันห้องสมุดรับฝากนี้มีสิ่งพิมพ์ 2 ประเภท คือ 1) สิ่งพิมพ์ที่พิมพ์โดยหน่วยงานต่าง ๆ ของสหรัฐอเมริกา 2) สิ่งพิมพ์ที่พิมพ์โดยสำนักงานการพิมพ์ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Currency depository | สถานรับฝากเงินตรา [เศรษฐศาสตร์] | Commercial Bank | สถาบันการเงินที่มุ่งเน้นการรับฝากเงิน [ธุรกิจ] | Computer Aided Instruction | สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, โปรแกรมบทเรียน ประกอบด้วย เนื้อหา แบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบ ที่ช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเองเมื่อนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ จัดว่าเป็นอุปกรณ์การสอนชนิดหนึ่ง [Assistive Technology] | Embedded system | ระบบ (คอมพิวเตอร์) ขนาดเล็กที่อยู่ในเครื่องใช้ต่างๆ เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องใช้ต่างๆ เช่น เครื่องปรับอากาศ โทรศัพท์เคลื่อนที่ หม้อหุงข้าว เตาอบ รถยนต์ ระบบแบบฝังตัวนี้ภายในทำงานโดยอาศัยไมโครโพรเซสเซอร์และตัวรับสัญญาณ ระบบสื่อสาร และระบบควบคุมที่เชื่อมต่อ และทำงานโดยการควบคุมโดยโปรแกรม [Assistive Technology] | Thailand Securities Depository Company Limited | บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด, Example: เป็นบริษัทย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้บริการระบบหลังการซื้อขายหลักทรัพย์ของประเทศ โดยทำหน้าที่เป็นศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และสำนักหักบัญชี โดยใช้ระบบยอดสุทธิในการชำระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ สำหรับหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ และตลาดตราสารหนี้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ [ตลาดทุน] | Transferable Custody Receipt | ใบรับฝากหลักทรัพย์ที่เปลี่ยนมือได้, Example: เครื่องมือทางการเงินชนิดหนึ่งที่แสดงว่าผู้ถือใบรับฝากเป็นเจ้าของหลักทรัพย์ต่างประเทศ แต่ใบรับฝากนี้จะนำมาซื้อขายเป็นเงินบาทในประเทศไทย แต่จะไม่สามารถแปลงกลับไปเป็นหลักทรัพย์ต่างประเทศโดยตรง เว้นแต่จะเป็นการขายและรับเงินคืนเป็นเงินบาทเท่านั้น [ตลาดทุน] | Custodian | ผู้รับฝากทรัพย์สิน, Example: ธนาคารหรือสถาบันการเงินที่ทำหน้าที่ดูแลและเก็บรักษาใบหุ้นและสินทรัพย์อื่น ๆ ให้แก่กองทุนส่วนบุคคล กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บุคคลธรรมดา หรือบริษัทที่เป็นลูกค้า [ตลาดทุน] | Share depository | ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์, Example: หน่วยงานที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางรับฝากและถอนหลักทรัพย์ให้สมาชิก รวมทั้งบริการอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น การโอน และงานทะเบียนผู้ถือหุ้น การทำหน้าที่ดังกล่าวช่วยอำนวยความสะดวกแก่สมาชิกในการชำระราคา และส่งมอบหลักทรัพย์ที่ซื้อ ขายกัน เนื่องจากสมาชิกทุกรายต่างก็มีบัญชีฝากหุ้นอยู่ที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ การส่งมอบหุ้นที่ซื้อขายกันสามารถ กระทำได้โดย ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ทำการโอนจำนวนหุ้นในบัญชีของสมาชิกผู้ขายไปเข้าบัญชีของสมาชิกผู้ซื้อ ทำให้ทั้งสองฝ่ายไม่ต้องเสียเวลาและมีภาระในการส่งมอบรับมอบใบหุ้นระหว่างกัน สถาบันที่ทำหน้าที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ในประเทศไทย คือ บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด หรือ Thailand Securities Depository Co., Ltd. หรือ TSD ซึ่งเป็นบริษัทลูกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย [ตลาดทุน] | Composition and exercises | การแต่งร้อยแก้วและแบบฝึกหัด [TU Subject Heading] | Problems, exercises, etc. | คำถามและแบบฝึกหัด [TU Subject Heading] | Readers | แบบฝึกอ่าน [TU Subject Heading] | Studies and exercises | การศึกษาและแบบฝึกหัด [TU Subject Heading] | Studies and exercises (Jazz) | การศึกษาและแบบฝึกหัด (แจซซ์) [TU Subject Heading] | Rain Shadow | พื้นที่อับฝน หรือเงาฝน, Example: บริเวณที่อยู่ด้านหลังภูเขาหรือทิวเขา ซึ่งมีฝนตกน้อยกว่าบริเวณด้านหน้า ซึ่งเป็นด้านรับลม หรือพื้นที่ทางด้านปลายลมซึ่งมีค่าปริมาณฝนเฉลี่ย น้อยกว่าพื้นที่ทางด้านต้นลม เนื่องจากมีสิ่งกีดขวางทางธรรมชาติ เช่น มียอดเขาสูงกั้นขวางทิศทางลมที่พาเอาฝนมาตก (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2516) [สิ่งแวดล้อม] | Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] | Australia New Zealand Army Corps Day | วันที่ระลึกทหารผ่านศึกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2458 หน่วยปฏิบัติการร่วมของกองทัพบกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ยกพลขึ้นบกบนคาบ สมุทรกาลิโปลี (Gallipoli) ช่องแคบดาร์ดาแนล (Dardanelles) ประเทศตุรกีเพื่อเปิดเส้นทางเดินเรือให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรไปสู่ทะเลดำใน สงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ทั้งสองประเทศจึงถือเอาวันที่ 25 เมษายนของทุก ๆ ปี เป็นวันที่ระลึกและจัดพิธีไว้อาลัยแก่ทหารผ่านศึกในสมรภูมิครั้งนั้นและทหาร ผ่านศึกที่เสียชีวิตในสมรภูมิอื่น ๆ ด้วย [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Consignee | ผู้รับฝากขาย [การบัญชี] | Deposit taker | ผู้รับฝากเงินประเภทเงินฝากประจำ [การบัญชี] | Acute Yellow Atrophy | ตับฝ่อเหลืองเฉียบพลัน, ตับเล็กลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากตับอักเสบ, โรคออโตอิมมูนของตับชนิดมีอาการรุนแรงเฉียบพลัน [การแพทย์] | Dust Collector Counter | เครื่องเก็บฝุ่นละอองและนับฝุ่นละออง [การแพทย์] | Fixed Rate Type | ชนิดอัตราเต้นคงที่, เครื่องควบคุมจังหวะหัวใจแบบฝังภายใน [การแพทย์] | French Lock | ล็อคแบบฝรั่งเศส [การแพทย์] | imprinting | การเรียนรู้แบบฝังใจฝังใจ, พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ครั้งแรกในชีวิต โดยเฉพาะในระยะเยาว์วัย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Lung Lobules, Primary | กลีบฝอยปฐมภูมิของปอด [การแพทย์] |
| แบบฝึกอ่าน | [baēpfeuk ān] (n, exp) EN: reading exercice FR: exercice de lecture [ m ] | แบบฝึกหัด | [baēpfeukhat] (n) EN: exercise ; practice ; drill FR: exercice (scolaire) [ m ] | แบบฝึกหัดเลขคณิต | [baēpfeuk-hat lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic exercise FR: exercice d'arithmétique [ m ] | ใบฝากเงิน | [bai fāk ngoen] (n, exp) EN: credit slip ; deposit slip ; pay-in slip FR: formulaire de dépôt [ m ] | บริเวณแถบฝน | [børiwēn thaēp fon] (n, exp) EN: rainbands | ห้องรับฝากกระเป๋า | [hǿng rap fāk krapao] (n, exp) EN: left-luggage office FR: consigne [ f ] | จูบฝุ่น | [jūp fun] (v, exp) EN: fall down with one's face on the earth FR: mordre la poussière | การเทียบฝั่ง | [kān thīep fang] (n, exp) FR: accostage [ m ] ; abordage [ m ] | คนสูบฝิ่น | [khon sup fin] (n) EN: opium-smoker FR: fumeur d'opium [ m ] | หลบฝน | [lop fon] (v, exp) EN: shelter from the rain FR: s'abriter de la pluie | เหมือนกับฝัน | [meūoenkap fan] (n, exp) EN: like a dream FR: comme un rêve ; comme dans un rêve | เงินรับฝาก | [ngoen rap fāk] (n, exp) EN: deposit | นกจาบฝน | [nok jāp fon] (n) EN: lark FR: alouette [ f ] | นกจาบฝน | [nok jāp fon] (n) EN: Alaudidae | นกจาบฝนปีกแดง | [nok jāp fon pīk daēng] (n, exp) EN: Indochinese Bushlark ; Rufous-winged Lark FR: Alouette rousse [ f ] ; Alouette d'Indochine [ f ] ; Alouette du Siam [ f ] | นกจาบฝนเสียงใส | [nok jāp fon sīeng sai] (n, exp) EN: Australasian Bushlark ; Australasian Lark FR: Alouette de Java [ f ] | นกจาบฝนสวรรค์ | [nok jāp fon sīeng sawan] (n, exp) EN: Oriental Skylark = Oriental Sky Lark FR: Alouette gulgule [ f ] ; Alouette des champs (sud-)asiatique [ f ] | ผู้รับฝาก | [phūrap fāk] (n, exp) EN: depositary | ผู้รับฝากขาย | [phūrap fāk-khāi] (n, exp) EN: consignee | ผู้รับฝากทรัพย์สิน | [phūrap fāk sapsin] (n, exp) EN: custodian | ปีบฝรั่ง | [pīp Farang] (n, exp) EN: Star of bethlehem | รับฝาก | [rap fāk] (v, exp) EN: accept taking care of ; receive or undertake for delivery | สถานที่รับฝาก | [sathānthī rap fāk] (n, exp) EN: depository | สูบฝิ่น | [sūp fin] (v, exp) EN: smoke opium ; be an opium addict FR: fumer de l'opium ; être un opiomane | เทียบฝั่ง | [thīep fang] (v, exp) FR: accoster ; aborder | ที่รับฝากกระเป๋าเดินทาง | [thī rap fāk krapao doēnthāng] (n, exp) EN: left-luggage office FR: consigne [ f ] |
| ashore | (adv) เทียบฝั่ง, See also: เกยฝั่ง, Syn. on shore, on land, Ant. afloat, at sea | atrophy | (n) อาการลีบเล็ก, See also: การลีบฝ่อของอวัยวะ | backwash | (adj) คลื่นที่ไหลกลับมากระทบฝั่ง (หลังจากกระแทกฝั่งแล้ว), Syn. swash, wave | cadet corps | (n) องค์การสำหรับฝึกทางทหารให้แก่นักเรียนในบางโรงเรียนของอังกฤษ | checkroom | (n) ห้องรับฝากวางหมวก กระเป๋าหรือสิ่งของไว้ชั่วคราว, Syn. cloakroom, baggage room | coast | (vi) แล่น (เรือเลียบฝั่ง) | coast | (vt) แล่น (เรือเลียบฝั่ง) | exercise | (n) แบบฝึกหัด, Syn. drill, lesson, test | factional | (adj) เกี่ยวข้องกับฝ่ายหรือพรรคการเมือง | French | (adj) เกี่ยวกับฝรั่งเศส | Gallic | (adj) เกี่ยวกับฝรั่งเศส, Syn. French | inshore | (adj) เลียบฝั่ง, See also: ซึ่งเข้าหาฝั่ง, Ant. offshore | littoral | (adj) เกี่ยวกับฝั่งทะเล | masterclass | (n) แบบฝึกหัดที่ครูดนตรีให้กับนักเรียนที่เก่งมาก | nightmarish | (adj) เกี่ยวกับฝันร้าย | nursery slope | (n) ที่ลาดชันสำหรับฝึกเล่นสกี, Syn. bunny slope | palmar | (adj) เกี่ยวกับฝ่ามือหรือฝ่าเท้าหน้าของสัตว์ | plantar | (adj) เกี่ยวกับฝ่าเท้า | pluvial | (adj) เกี่ยวกับฝน, See also: เกิดขึ้นจากฝน | rain | (vi) ตกลงมาเหมือนฝนเท, See also: ไหลหลั่งราวกับฝน, ตกลงมาราวกับห่าฝน, Syn. bucket down | safe deposit box | (n) ตู้นิรภัยของธนาคารที่รับฝากของมีค่า, See also: ตู้นิรภัย, ตู้เซฟ, Syn. chest, repository, safety-deposit box, strongbox | showdown | (n) การเผชิญหน้า (กับฝ่ายตรงข้าม), See also: การประจันหน้า กับฝ่ายตรงข้าม, Syn. confrontation, unfolding | shower | (n) สถานที่หรืออุปกรณ์สำหรับอาบน้ำแบบฝักบัว, See also: ฝักบัว, Syn. showerstall, bath | slosh | (n) การกระเด็น, See also: การสาด, การซัด, การกระเซ็น, กระทบฝั่ง คลื่น, การกระเด็น | tapestry | (n) สิ่งทอหรือม่านลายดอกซึ่งแขวนประดับฝาผนัง, See also: พรมลายดอกประดับ, Syn. fabric, drapery, weaving, decoration | tarsal | (adj) ที่เกี่ยวกับกระดูกข้อเท้า, See also: เกี่ยวกับฝ่าเท้า | teller | (n) พนักงานรับฝาก-ถอนเงินในธนาคาร, Syn. cashier, clerk, counting clerk | trap door | (n) เครื่องดักจับฝุ่นละออง | volar | (adj) เกี่ยวกับฝ่ามือหรือฝ่าเท้า | workbook | (n) หนังสือแบบฝึกหัดของนักเรียน |
| cai | (ซีเอไอ) ย่อมาจาก computer-aided instruction หรือ computer assissted instruction (การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน | computer aided instructio | การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน | computer-aided instructio | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer assissted instruction | computer-assissted instru | ใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer aided instruction | coniology | (โคนิออล'โลจี) n. วิทยาเกี่ยวกับฝุ่นและสิ่งเจือปนอื่น ๆ ในอากาศ. | crossover | (ครอส'โอเวอะ) n. สะพาน, การข้าม, ทางรถไฟที่เปลี่ยนสาย, การสวามิภักดิ์กับฝ่ายตรงข้าม, Syn. connecting track | dado | (เด'โด) ส่วนหรือกระดานครอบฝาผนัง, ตอม่อฐานเสา | depositary | (ดิพอส'ซิททะรี) รับฝาก, ผู้ดูแล, ผู้เก็บรักษา, ที่เก็บรักษา, Syn. depository | depository | (ดิพอซ'ซิโทรี) n. ที่เก็บของ, โกดัง, สถานที่รับฝากของ, ผู้พิทักษ์มรดกหรือทรัพย์สิน | factionary | (แฟค'เชินนะรี) n. สมาชิกของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง. adj. เกี่ยวกับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง | francophil | adj. ซึ่งเป็นมิตรหรือชอบฝรั่งเศส | francophile | adj. ซึ่งเป็นมิตรหรือชอบฝรั่งเศส | french | (เฟรนชฺ) adj. เกี่ยวกับฝรั่งเศส -n. ชาวฝรั่งเศส. vt. ตัดออกเป็นแผ่นบาง ๆ | ideologist | (ไอดีออล'ละจิสทฺ) n. นักคิด, ผู้เคร่งลัทธิ, นักลัทธิ, บุคคลที่ชอบคิดชอบฝัน | mob | (มอบ) n. ฝูงชนอลหม่านหรือก่อการจลาจล, สัตว์, ฝูงชน, มวลชน, แก๊งอาชญากร. adj. เกี่ยวกับฝูงชนที่กำลังอลหม่าน vt. ชุลมุนวุ่นวาย, โจมตีอย่างรุนแรง, ก่อการจลาจล, Syn. gathering, crowd | palmar | (แพล'มาร์) adj. เกี่ยวกับฝ่าเท้าหน้าของสัตว์ | savings bank | n. ธนาคารออมสิน, ธนาคารที่รับฝากเงินออมทรัพย์เท่านั้นและจ่ายดอกเบี้ยให้กับผู้ฝาก | trim | (ทริม) vt. เล็ม, ขริบ, ตัดแต่ง, ทำให้เสมอกัน, ตีสองหน้า, เลียบฝั่ง, ประดับ, ดุ, ด่า, ตี, เฆี่ยน, ทำให้แพ้. vi. เดินสายกลาง, ทำให้เรือทรงตัว, ปรับใบเรือ, ปรับนโยบาย. n. การเล็ม, การขริบ, การปรับ, การทรงตัวของเรือ, อุปกรณ์, เครื่องแต่งตัว (หรูหรา) , ของกระจุกกระจิก |
| ashore | (adv) บนบก, เกยฝั่ง, จอดเทียบฝั่ง, ขึ้นฝั่ง, ขึ้นบก | checkroom | (n) ที่รับฝากของ | coast | (vt) แล่นเลียบฝั่ง, แล่นตามชายฝั่ง | depository | (n) โกดัง, คลังเสบียง, ท้องพระคลัง, ที่รับฝากของ | dreamy | (adj) เหมือนฝัน, ชอบฝัน, ชอบเพ้อฝัน, น่าอัศจรรย์, เลือนลาง | exercise | (n) แบบฝึกหัด, การบ้าน, การออกกำลังกาย, การฝึกหัด, การฝึกฝน | French | (adj) เกี่ยวกับฝรั่งเศส | onshore | (adv) บนฝั่ง, บนบก, ใกล้ฝั่ง, เลียบฝั่ง | picker | (n) เสียม, เครื่องมือเก็บ, คนงานเก็บฝ้าย, นักล้วงกระเป๋า |
| breaker | (n) คลื่นกระทบฝั่ง | consignee | ผู้รับฝากขาย, See also: A. Consigner | Einzelsteuerung { f }; Antriebssteuerung { f } | (n) พวงมาลัยรถสองอัน(ออกแบบพิเศษสำหรับฝึกหัดขับรถ) | portolan chart | [พอร์โทลาน ชาร์ท] (n) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) | swap spit | (n) จูบแบบฝรั่งเศส, Syn. to French kiss; to snog | แผนที่การเดินเรือพอร์โทลาน | (Portolan chart) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) |
| 関西 | [かんさい, kansai] (n) เขตสามเมืองใหญ่ในฝั่งตะวันตกของญี่ปุ่น (โอซาก้า เกียวโต โกเบ) โดยมักจะเทียบกับฝั่งตะวันออกที่เรียกว่า 関東, Syn. 関東 |
| 半券 | [かんさい, hanken] (n) ครึ่งหนึ่งของตั๋ว, ใบฝากของ, ใบเสร็จรับเงิน หรืออื่นๆ ที่ได้รับเพื่อเป็นหลักฐาน, See also: R. stub | 雨宿り | [あめやどり, ameyadori] (n) ที่หลบฝน |
| ノート | [のーと, no-to] TH: สมุดแบบฝึกหัด EN: exercise book | 預かる | [あずかる, azukaru] TH: รับฝาก EN: to keep in custody |
| französisch | (adj, n) ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส, ภาษาฝรั่งเศส เช่น Wie heißt das auf französisch? มันเรียกว่าอย่างไรในภาษาฝรั่งเศส, Ich bin französisch./Ich bin eine Französin. ฉันเป็นคนฝรั่งเศส, See also: Frankreich | französisch | (adj) ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส, See also: Frankreich | Schlaf süß! | นอนหลับฝันดีจ้ะ |
| français | (adj) |-aise| ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |