ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: บังคับ, -บังคับ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| บังคับ | (v) force, See also: give an order, command, direct, compel, Syn. บัญชา, สั่ง, บงการ, Example: เขาเป็นคนชอบบังคับขู่เข็ญคนอื่น แม้ว่าคนอื่นจะไม่เห็นด้วย, Thai Definition: ใช้อำนาจสั่งให้ทำหรือให้ปฏิบัติ | บังคับใจ | (v) force, See also: constrain, oblige, control one's mind, Syn. ห้ามใจ, ข่มใจ, อดกลั้น, Example: เด็กสาวพยายามบังคับใจตนเองไม่ให้หลงมัวเมาไปกับสิ่งรอบตัว | ผลบังคับ | (n) be valid, See also: be effective, come to force, Example: การให้ความช่วยเหลือด้านเงินกองทุนแก่สถาบันการเงินจะมีผลบังคับเฉพาะธนาคารพาณิชย์ และบริษัทเงินทุนที่จดทะเบียนในประเทศไทยเท่านั้น, Thai Definition: ผลที่ก่อให้เกิดข้อผูกมัดอย่างใดอย่างหนึ่ง | ข้อบังคับ | (n) regulation, See also: rule, principle, Syn. กฎข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ข้อกำหนด, Example: ส่วนราชการมีข้อบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตาม, Count Unit: ข้อ, ประการ, Thai Definition: บทบัญญัติที่เป็นชั้นข้อบังคับ ซึ่งกำหนดขึ้นไว้เป็นระเบียบในการปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย, Notes: (กฎ) | บังคับการ | (v) command, See also: direct, control, govern, Syn. ควบคุม, กำกับ, สั่งงาน, สั่งการ, Example: ผู้การกองพันบังคับการทหารให้ออกปฏิบัติงาน, Thai Definition: รับผิดชอบในการควบคุมและสั่งการ | บังคับเอา | (v) extort from, See also: exact, Syn. บังคับ, Example: ในเวลานั้นไม่มีกฎหมายฉบับไหนจะบังคับเอากับพระมหากษัตริย์ได้ | บังคับใช้ | (v) enforce, See also: give force to, Example: กฎหมายฉบับนี้มีบังคับใช้มานานแล้ว จะมาอ้างว่าไม่รู้ไม่ได้, Thai Definition: ให้ปฏิบัติตาม, Notes: (กฎหมาย) | บีบบังคับ | (v) force, See also: oppress, coerce, compel, press, Syn. บีบคั้น, บังคับ, Example: พ่อแม่บีบบังคับให้ลูกสาวจำยอมเข้าสู่อาชีพบริการทางเพศ, Thai Definition: ใช้กำลังหรืออำนาจเคี่ยวเข็ญให้ทำ | ภาคบังคับ | (adj) compulsory, Example: การศึกษาระดับประถมศึกษาถือเป็นการศึกษาภาคบังคับที่คนไทยทุกคนจะต้องเรียน, Thai Definition: ส่วนที่จำต้องทำ | มีผลบังคับ | (v) be in force, Example: กฎหมายจราจรที่ออกมาใหม่มีผลบังคับให้ประชานชนปฏิบัติตามในต้นปีหน้า, Thai Definition: มีอำนาจสั่งให้จำต้องปฏิบัติ | วิชาบังคับ | (n) required subject, Ant. วิชาเลือก, Example: นิสิตทุกคนต้องสอบผ่านวิชาบังคับตรงตามหลักสูตร จึงจะมีสิทธิขอจบการศึกษา, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาที่กำหนดให้เรียน | กฎข้อบังคับ | (n) regulation, See also: principle, discipline, rule, Syn. วินัย, ระเบียบ, ข้อบังคับ, Example: โรงเรียนมีกฎข้อบังคับไม่ให้นักเรียนใส่ของมีค่า เช่น แหวน สร้อย มาโรงเรียน, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: บทบัญญัติที่เป็นชั้นข้อบังคับ ซึ่งกำหนดไว้เป็นระเบียบหรือดำเนินการตามกฎหมาย, ปัจจุบันนิยมใช้ว่าข้อบังคับ | บังคับบัญชา | (v) command, See also: direct, order, control, govern, Syn. สั่ง, ควบคุม, บังคับการ, Example: ท่านนายพลบังคับบัญชานายทหารว่าให้ทุกคนอยู่ในระเบียบวินัยของทหารอย่างเคร่งครัด | หอบังคับการ | (n) commanding room, See also: control room, Syn. ป้อมบังคับการ, Example: เขาบัญชาการอยู่บนหอบังคับการ, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ที่ซึ่งผู้บังคับการเรือและนายทหารเรือร่วมกันปฏิบัติงาน | หอบังคับการ | (n) airdrome control tower, Example: นักบินจะคอยวิทยุบอกหอบังคับการบินว่ากำลังบินอยู่ที่ระดับเท่าใดแล้ว, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ที่ซึ่งผู้บังคับการเรือและนายทหารเรือร่วมกันปฏิบัติงาน | กรมบังคับคดี | (n) Legal Execution Department | การบังคับใช้ | (n) enforcement, See also: promulgation, compulsion, obligation, Example: หากไม่มีบทเฉพาะกาลไว้ในรัฐธรรมนูญอาจจะทำให้เกิดปัญหาในการบังคับใช้รัฐธรรมนูญในวาระเริ่มแรก | ผู้บังคับการ | (n) commandant, See also: commander, commanding officer, Syn. หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, Example: ผู้บังคับการเรือสั่งให้หยั่งดูความลึกของน้ำ, Thai Definition: ผู้ที่อำนาจรับผิดชอบในการควบคุมและสั่งการ | ป้อมบังคับการ | (n) fortress, Syn. หอบังคับการ, Example: วันนี้ท่านเจ้าคุณจะมาตรวจราชการที่ป้อมบังคับการ ทุกคนเตรียมให้การต้อนรับเต็มที่, Count Unit: ที่, แห่ง, Thai Definition: สะพานสำหนับเดินเรือ | มีผลบังคับใช้ | (v) become effective | ผู้บังคับบัญชา | (n) commander, See also: chief, director, head, manger, Syn. หัวหน้า, ผู้บัญชาการ, ผู้สั่งการ, Ant. ผู้ใต้บังคับบัญชา, ลูกน้อง, Example: ทหารต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีอำนาจปกครองควบคุมดูแลและสั่งการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ | ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา | (n) controlee, See also: one who is controlled/supervised, Syn. ผู้ใต้บังคับบัญชา, Ant. ผู้บังคับบัญชา, Example: ในการทำงานผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่หวังความก้าวหน้า จะไม่กล้าแสดงความคิดเห็นที่ไม่ตรงกับผู้บังคับบัญชา, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ตำแหน่งต่ำกว่าและมีผู้บังคับบัญชาควบคุมการปฏิบัติงาน |
| กฎข้อบังคับ | น. ข้อกำหนดที่กำหนดไว้เป็นแนวทางหรือระเบียบในการปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย. | ข้อบังคับ | น. กฎเกณฑ์หรือรายละเอียดที่กำหนดให้ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ. | ข้อบังคับของบริษัท | น. กฎเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการดำเนินกิจการของบริษัทจำกัด เช่น การออกหุ้นและการโอนหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้น. | คำบังคับ | น. คำสั่งของศาลซึ่งออกเพื่อสั่งให้คู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง. | เจ้าพนักงานบังคับคดี | น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล. | ที่บังคับ | น. ที่ที่คับแคบและกำหนดไว้เฉพาะ เช่น เขาถูกลงโทษให้อยู่แต่ในที่บังคับ. | บังคับ | น. การว่ากล่าวปกครอง, อำนาจศาลสมัยมีสภาพนอกอาณาเขต, เช่น คนในบังคับอังกฤษ | บังคับ | กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติใช้ในฉันทลักษณ์ เช่น บังคับครุลหุ บังคับเอกโท บังคับสัมผัส. | บังคับ | ก. ใช้อำนาจสั่งให้ทำหรือให้ปฏิบัติหรือให้จำต้องทำ เช่น เขาถูกสถานการณ์บังคับ, ให้เป็นไปตามความประสงค์ เช่น บังคับเครื่องบินให้ขึ้นลง | บังคับ | ทำให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์การใช้ภาษา เช่น บังคับให้ใช้เครื่องหมายอัญประกาศเมื่ออ้างถึงคำพูดของผู้อื่น ภาษาไทยไม่บังคับการใช้เครื่องหมายมหัพภาคเคร่งครัดนัก | บังคับ | ทำตามสภาพที่ถูกกำหนดไว้ เช่น ทางนี้บังคับให้เลี้ยวซ้าย ประตูนี้บังคับให้ผลักเข้า. | บังคับการ | ก. รับผิดชอบในการควบคุมและสั่งการ, เรียกผู้มีอำนาจเช่นนั้น ว่า ผู้บังคับการ. | บังคับครุ | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงหนัก คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวทั้งที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด เช่น มา ดี ขาว สาย พยางค์ที่ประกอบด้วยสระสั้นที่ออกเสียงอย่างมีตัวสะกดทั้ง ๔ คือ อำ ใอ ไอ เอา เช่น รำ ใจ และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น จัด เรียน. | บังคับใจ | ก. ห้ามใจ, ข่มใจ, อดกลั้น | บังคับใจ | ใช้อำนาจบังคับให้เขาต้องฝืนใจทำ. | บังคับโท | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์โท. | บังคับบัญชา | ก. มีอำนาจปกครองควบคุมดูแลและสั่งการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่. | บังคับบัญชา | น. อำนาจปกครองควบคุมดูแลและสั่งการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่, เรียกผู้มีอำนาจปกครองควบคุมดูแลและสั่งการนั้น ว่า ผู้บังคับบัญชา, เรียกผู้อยู่ใต้อำนาจปกครองควบคุมดูแลและสั่งการนั้น ว่า ผู้ใต้บังคับบัญชา. | บังคับลหุ | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงเบา คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น ละ ติ ลุ. | บังคับสัมผัส | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้คำคล้องจองกัน มีหลายชนิด คือ สัมผัสนอก สัมผัสใน สัมผัสสระ สัมผัสอักษร. | บังคับเอก | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้นในโคลงและร่ายใช้แทนเอกได้. | บีบบังคับ | ก. กดขี่. | ป้อมบังคับการ | น. ที่ซึ่งมีที่กำบังแข็งแรงสำหรับใช้ในการควบคุมการใช้อาวุธและสั่งการเดินเรือในยามสงคราม. | ผู้บังคับบัญชา | น. ข้าราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจที่มีอำนาจปกครองดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา. | วิชาบังคับ | น. รายวิชาที่กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในหลักสูตรนั้นจะต้องเรียน. | วิชาบังคับพื้นฐาน | น. รายวิชาพื้นฐานที่บังคับให้เรียนในหลักสูตร. | วิชาบังคับเลือก | น. รายวิชาเลือกที่ทางภาควิชาบังคับให้เรียนในหลักสูตร. | วิชาเลือกบังคับ | น. รายวิชาเลือกที่อาจารย์ที่ปรึกษาบังคับให้เรียนเป็นรายบุคคล. | เส้นบังคับ | น. เส้นตรงที่ตรึงอยู่กับที่ซึ่งคู่กับจุดโฟกัส ใช้กำหนดบังคับเซตของจุดชุดหนึ่งให้เรียงกันเป็นเส้นโค้งในระบบภาคตัดกรวย, เดิมใช้ว่า ไดเรกตริกซ์. | หมายบังคับคดี | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้มีการบังคับคดี. | หอบังคับการ | น. ที่ซึ่งผู้บังคับการเรือและนายทหารเรือร่วมกันปฏิบัติงานควบคุมและสั่งการให้เจ้าหน้าที่ประจำเรือแผนกต่าง ๆ ปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย. | กฎ | (กด) น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ (พงศ. ๑๑๓๖) | กฎ | ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง | กฎหมู่ | น. การกดดันที่บุคคลจำนวนมากนำมาใช้บีบบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งกระทำหรือเว้นกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง (มักไม่เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย). | กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. | กฎหมาย | น. กฎเกณฑ์ที่ผู้มีอำนาจตราขึ้นเพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามเป็นการทั่วไป ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามย่อมได้รับผลร้าย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ หรือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันก็ได้. | กฎหมายเหตุ | กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ. | กด ๔ | ก. บังคับลง, ข่ม, ใช้กำลังดันให้ลง, โดยปริยายหมายความว่า แกล้งกักไว้ เช่น กดคดี | กดขี่ | ก. ข่มให้อยู่ในอำนาจตน, ใช้บังคับเอา, ทำอำนาจเอา, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ข่มเหง เป็น กดขี่ข่มเหง. | กดคอ | ก. บังคับเอา. | กดหัว | ก. บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ. | กบเลือกนาย | น. ผู้ที่ต้องการเปลี่ยนผู้บังคับบัญชาอยู่เรื่อย ๆ. | กรมการ | (กฺรมมะ-) น. ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. | กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น | กรมพระคลัง | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ และการค้ากับต่างประเทศ รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์หลวง และคดีความต่างประเทศ, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก | กรมเมือง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยในราชธานีและปริมณฑล ปราบปรามโจรผู้ร้าย รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความอุกฉกรรจ์และดูแลคุก (เรือนจำ) มหันตโทษ, เวียง หรือ กรมพระนครบาล ก็เรียก | กรมวัง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก | กรอด ๓ | (กฺรอด) ก. บรรเลงดนตรีประเภทเครื่องตีดำเนินทำนอง โดยวิธีบังคับหรือห้ามเสียงในช่วงท้ายให้สั้นลง มักใช้ในการตีระนาด ฆ้องวง และกรับเสภา. | กร่อม ๒ | น. เครื่องมือครอบจับปูทะเล ตามชายฝั่งทะเล ใช้ไม้ไผ่ต้นเดียวผ่าตอนปลายออกเป็น ๔ ซี่ เหลาซี่เหล่านั้นให้อ่อน เอาวงแหวนทำด้วยไม้ไผ่ หวาย หรือลวด ใส่ในหว่างซี่เหล่านั้นเพื่อบังคับให้ถ่างออก, กะกร่อม หรือ ตะกร่อม ก็เรียก. | กระบวนการยุติธรรม | น. ขั้นตอนและวิธีดำเนินการในการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่ออำนวยความยุติธรรม คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล. |
| peonage | การบังคับให้ทำงานโยธาแทนค่าปรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | peonage | การบังคับให้ทำงานโยธาแทนค่าปรับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | politics, power; power politics | การเมืองแบบใช้อำนาจบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pocket judgement | การบังคับได้ทันทีเมื่อผิดนัด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | public sanction | สภาพบังคับโดยมหาชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary law | กฎข้อบังคับของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | permanent law | กฎหมายที่ใช้บังคับโดยไม่มีกำหนดเวลา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proper law of a contract | กฎหมายที่พึงใช้บังคับแก่สัญญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | precedent condition | เงื่อนไขบังคับก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | procedure, abuse of the rules of | การใช้กฎข้อบังคับโดยมิชอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | procedure, rule of | ข้อบังคับการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | prescribe | ๑. บังคับไว้, บัญญัติไว้, กำหนดไว้๒. สั่งยา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | physical necessity | ความจำเป็นที่ต้องกระทำเพราะถูกบังคับทางกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | power politics; politics, power | การเมืองแบบใช้อำนาจบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | power, rule-making | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law enforcement | การบังคับใช้กฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | levy compulsory execution | การบังคับยึดทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lex causae (L.) | กฎหมายที่ใช้บังคับแก่กรณี (ก. ระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, rule of | หลักนิติธรรม, หลักบังคับแห่งกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, rule of | หลักบังคับแห่งกฎหมาย, หลักนิติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legislative blackmail | การกรรโชกทางนิติบัญญัติ (ว่าจะออกกฎหมายบังคับ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rebound valve | ลิ้นบังคับการไหลกลับ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | respite | ผ่อนผัน, ทุเลาการบังคับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | restraint; constraint | เงื่อนไขบังคับ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | rule of law | หลักนิติธรรม, หลักบังคับแห่งกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule of law | หลักบังคับแห่งกฎหมาย, หลักนิติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rule of procedure | ข้อบังคับการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | regimentation | การบีบบังคับให้อยู่ในกรอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | regulation | ๑. การกำกับ, การปรับให้เหมาะ๒. ข้อบังคับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | regulation | ระเบียบ, กฎ, ข้อบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | regulation | ข้อบังคับ, ระเบียบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | regulation of the company | ข้อบังคับของบริษัท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rack-and-pinion steering gear | เฟืองบังคับเลี้ยวแบบเฟืองสะพาน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | Rules, Committee on | คณะกรรมาธิการพิจารณาข้อบังคับของสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule, joint | ข้อบังคับการประชุมร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule, suspension of | การงดใช้ข้อบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule-making power | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule | กฎ, ข้อบังคับ, หลักเกณฑ์, การปกครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule | กฎ, ข้อบังคับ, หลัก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rule application | การใช้กฎบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | survival statutes | บทกฎหมายที่ใช้บังคับแก่คดีที่ไม่ระงับไปเพราะการตายของผู้เสียหาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | statutory provision | บทบังคับแห่งกฎหมาย, บทบัญญัติแห่งกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | stay of execution | งดการบังคับคดี, ทุเลาการบังคับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | steering rod | ก้านต่อบังคับเลี้ยว [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | steering swivel; steering pivot | เดือยบังคับเลี้ยว [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | steering system | ระบบบังคับเลี้ยว [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | stricture of intermitten closure | การบีบบังคับ(กระแสลม)ปิด ๆ เปิด ๆ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | stricture of open approximation | การบีบบังคับ(กระแสลม)เปิดกว้าง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | stricture of partial closure | การบีบบังคับ(กระแสลม)ปิดบางส่วน [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | steering arm | แขนบังคับเลี้ยว [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Controlled vocabulary | ศัพท์ควบคุม, ศัพท์บังคับ, Example: ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม (Controlled vocabulary) หมายถึง การกำหนดให้คำศัพท์คำหนึ่งทำหน้าที่ควบคุมคำศัพท์หลายคำที่มีความหมายอย่างเดียวกัน เพื่อให้มีความเป็นมาตรฐาน ลดความกำกวม เป็นช่องทางหนึ่งในการจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเนื้อหาหรือช่วยในการสืบค้นให้มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ คำศัพท์บังคับคำเดียวสามารถเข้าถึงเอกสารได้จำนวนมาก แม้ว่าจะเอกสารนั้นจะเขียนด้วยศัพท์ภาษาที่แตกต่างกัน การใช้ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมนี้ เป็นการใช้ภาษาดรรชนี (Indexing language) ซึ่งแตกต่างจากภาษาหรือคำที่ผู้เขียนกำหนดขึ้นเอง ซึ่งเรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (Natural language) ซึ่งมักจะปรากฏให้เห็นว่า มีคำเกิดขึ้นที่หลากหลาย ไม่เป็นแบบแผนเดียวกัน คำศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ถูกใช้ในการกำหนดเป็นหัวเรื่อง ศัพท์สัมพันธ์ (อรรถาภิธาน) แทกโซโนมี ฯลฯ <p>ข้อดีของศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม <p>การกำหนดให้ใช้ศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ในการเป็นตัวแทนเนื้อหาของสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการกำหนดคำที่เป็นตัวแทนของเนื้อหา เพื่อมิให้เนื้อหาเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์กระจัดกระจายไปตามคำศัพท์ที่มิได้เกิดจากการควบคุม ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หัวเรื่องภาษาอังกฤษของ Library of Congress Subject Headings จะมีการกำหนดคำที่ใช้แตกต่างกันระหว่างอเมริกาและอังกฤษ เช่น คำว่า color จะมีการกำหนดว่าให้ใช้คำว่า color ไม่ใช้ colour ซึ่งเมื่อสืบค้น ด้วยคำว่า color จะได้เนื้อหาที่มีการเขียนทั้งคำว่า color และ colour ได้อย่างครบถ้วน หรือคำว่า apartments จะถูกกำหนดให้ใช้ในการเป็นตัวแทนของเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว แต่จะไม่ใช้คำว่า flats <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมช่วยแก้ปัญหาคำพ้องรูป ซึ่งเป็นศัพท์ที่เขียนเหมือนกันแต่มีการใช้ต่างกัน (Homographs) เช่น คำว่า pool ความหมายหนึ่ง หมายถึง บ่อน้ำ สระน้ำ อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง เกมชนิดหนึ่ง ดังนั้น ในการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะมีคำขยายเพื่อให้ชัดเจนว่าหมายถึงเรื่องนั้น เช่น Pool (Game) หรือคำว่า เงาะ ซึ่งหมายถึง ผลไม้ชนิดหนึ่ง หรือชนกลุ่มน้อยก็ได้ คำว่า เงาะ ในการเป็นคำศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จึงหมายถึง ชื่อผลไม้ แต่ถ้าจะหมายถึง ชนกลุ่มน้อย จะมีการกำหนดให้ใช้เป็น เงาะ (กลุ่มชาติพันธุ์) <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม ถูกนำมาใช้ในลักษณะที่เป็นหัวเรื่อง (Subject headings) หรือศัพท์สัมพันธ์ (Thesaurus) หัวเรื่องที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ Library of Congress Subject Headings, Sear Subject Headings, Medical Subject Headings, Art & Architecture Thesaurus และ ERIC Thesaurus เป็นต้น <p>ตัวอย่าง Library of Congress Subject Headings ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำลักษณะของศัพท์สัมพันธ์เข้ามาประยุกต์ใช้ในการกำหนดหัวเรื่องด้วย ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์ของคำศัพท์ได้ดีขึ้น แม้ว่าจะไม่มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชานั้นๆ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120527-Controlled-Vocab.jpg" alt="Controlled Vocabulary"> <p>ในประเทศไทยมีการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมใช้เป็นคู่มือหัวเรื่องสำหรับการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทย เช่นเดียวกัน เช่น หัวเรื่องและวิธีการกำหนดหัวเรื่องสำหรับวัสดุสารนิเทศภาษาไทยของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย โดย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และหัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย ซึ่งจัดทำโดย คณะทำงานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ในภายหลังได้มีการปรับปรุงการกำหนดคำศัพท์บังคับนี้เป็นแบบศัพท์สัมพันธ์เช่นเดียวกับของ Library of Congress Subject Headings <p>การกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะดำเนินการโดยนักวิชาชีพ เช่น บรรณารักษ์ และนักเอกสารสนเทศ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา <p>บรรณานุกรม: <p>Library of Congress Classification Web. [ Online ] Available: http://classificationweb.net. Accessed: 2012-05-27. <p>ประดิษฐา ศิริพันธ์. “การใช้ศัพท์บังคับในการสืบค้นข้อสนเทศ”. หน้า 65-73 ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง Thesaurus Construction. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Government regulation | ข้อบังคับของรัฐบาล [เศรษฐศาสตร์] | Independent regulatory commisssion | คณะกรรมการอิสระในการตราข้อบังคับ [เศรษฐศาสตร์] | International health regulation | ข้อบังคับว่าด้วยการอนามัยระหว่างประเทศ [เศรษฐศาสตร์] | Compulsory licence | ใบอนุญาตตามที่กฎหมายบังคับ [เศรษฐศาสตร์] | Sanction | ทางบังคับ [เศรษฐศาสตร์] | Synchrotron | ซิงโครทรอน, เครื่องเร่งอนุภาค ที่อนุภาคถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ในย่านความถี่ของคลื่นวิทยุ และถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่โดยการควบคุมของสนามแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้น พร้อมสัมพันธ์กับความเร็วของอนุภาคที่เพิ่มขึ้น ซิงโครทรอนเครื่องแรก ชื่อ คอสโมทรอน (Cosmotron) สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 2495 ตั้งอยู่ที่ Brookhaven National Laboratory ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถเร่งโปรตอนให้มีพลังงานสูงถึง 2, 300 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] | กฎหมาย | กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ กฏหมาย [คำที่มักเขียนผิด] | Forced buy | การบังคับซื้อ, Example: การที่บริษัทหลักทรัพย์นำเงินประกันของลูกค้าที่วางเป็นประกันการยืมหลักทรัพย์ (securities borrowing account) ไปซื้อหุ้นคืน บริษัทหลักทรัพย์จะบังคับให้ลูกค้าซื้อหุ้นคืนต่อเมื่อหุ้นที่ยืมมีมูลค่าเพิ่มขึ้น จนทำให้สัดส่วนหลักประกันต่อมูลหนี้มีค่าต่ำกว่าระดับ maintenance margin ที่เข้าเกณฑ์ forced buy ซึ่งจะต่ำกว่าระดับ margin call (เช่น ระดับ forced buy เท่ากับ 30% ขณะที่ระดับ margin call เท่ากับ 40% เป็นต้น) หลักเกณฑ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันมิให้ลูกค้าแต่ละรายมีภาระหนี้เกินตัวจนไม่อาจแบกรับได้ (ซึ่งจะเห็นได้จาก การที่ถูก margin call แล้วไม่สามารถนำทรัพย์สินมาวางเป็นหลักประกันเพิ่มเติมได้) หากปล่อยค้างไว้ ถ้าหุ้นที่ยืมมีมูลค่าสูงขึ้นไปอีก อาจทำให้มีหลักประกันไม่คุ้มมูลหนี้ จนกระทบถึงฐานะการเงินของบริษัทหลักทรัพย์และกระทบถึงความเชื่อมั่นต่อบริษัทหลักทรัพย์ ทั้งระบบได้ [ตลาดทุน] | Forced sell | การบังคับขาย, Example: การที่บริษัทหลักทรัพย์นำหุ้นของลูกค้าที่วางเป็นประกันเงินกู้ยืมซื้อหลักทรัพย์ (margin account) ออกขายเพื่อนำเงินค่าขายมาชำระหนี้เงินกู้ของลูกค้า บริษัทหลักทรัพย์จะบังคับขายหุ้นของลูกค้า ต่อเมื่อหุ้นที่เป็นประกันของ ลูกค้ามีมูลค่าลดลง จนทำให้สัดส่วนหลักประกันต่อมูลหนี้มีค่าต่ำกว่าระดับ maintenance margin ที่เข้าเกณฑ์ forced sell ซึ่งจะต่ำกว่าระดับ margin call (เช่น ระดับ forced sell เท่ากับ 25% ขณะที่ระดับ margin call เท่ากับ 35% เป็นต้น) หลักเกณฑ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันมิให้ลูกค้าแต่ละรายมีภาระหนี้เกินตัวจนไม่อาจแบกรับได้ (ซึ่งจะเห็นได้จาก การที่ถูก margin call แล้วไม่สามารถนำทรัพย์สินมาวางเป็นหลักประกันเพิ่มเติมได้) หากปล่อยค้างไว้ ถ้าหุ้นที่วางเป็นประกันมีมูลค่าลดลงไปอีก อาจทำให้มีหลักประกันไม่คุ้มมูลหนี้ จนกระทบถึงฐานะการเงินของบริษัทหลักทรัพย์และกระทบถึงความเชื่อมั่นต่อบริษัทหลักทรัพย์ ทั้งระบบได้ [ตลาดทุน] | Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Mesures (1995) | ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการบังคับใช้มาตราการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (ค.ศ. 1995) [TU Subject Heading] | Compulsory licensing of patents | การบังคับใช้สิทธิตามสิทธิบัตร [TU Subject Heading] | Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Award (1958) | อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับและใช้บังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (ค.ศ. 1958) [TU Subject Heading] | Dressage tests | การทดสอบการบังคับม้า [TU Subject Heading] | Economic sanctions | วิธีบังคับทางเศรษฐกิจ [TU Subject Heading] | Education, Compulsory | การศึกษาภาคบังคับ [TU Subject Heading] | Executions (Law) | การบังคับคดี [TU Subject Heading] | Forced labor | แรงงานบังคับ [TU Subject Heading] | Forced repatriation | การส่งกลับประเทศเดิมโดยการบังคับ [TU Subject Heading] | International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance (2006) | อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย (ค.ศ. 2006) [TU Subject Heading] | Interviewing in law enforcement | การสอบปากคำในการบังคับใช้กฎหมาย [TU Subject Heading] | Judicial assistance | การบังคับคดีตามคำพิพากษาศาลต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Law and legislation | กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ [TU Subject Heading] | Law enforcement | การบังคับใช้กฎหมาย [TU Subject Heading] | Library rules and regulations | กฎและระเบียบบังคับของห้องสมุด [TU Subject Heading] | Managing your boss | การจัดการผู้บังคับบัญชา [TU Subject Heading] | Sanction | วิธีการบังคับ [เศรษฐศาสตร์] | Regulations | ข้อบังคับ [TU Subject Heading] | Sanctions, Administrative | ข้อบังคับทางปกครอง [TU Subject Heading] | Service, Compulsory non-military | การบังคับใช้แรงงานในสงครามที่ไม่ใช่การสู้รบ [TU Subject Heading] | Steering-gear | เฟืองบังคับเลี้ยว [TU Subject Heading] | Mandatory Recycling | การบังคับนำกลับมาใช้, Example: โครงการซึ่งอาจออกเป็นกฏหมายบังคับให้มีการแยก ของที่สามารถนำกลับมาใช้อีก ออกจากขยะก่อนที่จะนำไปเผาหรือทำการฝังกลบ [สิ่งแวดล้อม] | Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] | Agreement on Commercial Navigation on Lancang-Mekong River | ความตกลงว่าด้วยการเดินเรือพาณิชย์ในแม่น้ำโขงตอนบน " ระหว่างไทย ลาว พม่า และจีน (มณฑลยูนนาน) ได้ลงนามเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2543 และมีผลบังคับใช้ในเดือนเมษายน 2544 " [การทูต] | ASEAN Industrial Cooperation Scheme | โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นมาตรการเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบการผลิตในรูปสินค้าสำเร็จ รูป/กึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรมระหว่างบริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน อันจะเป็นการสนับสนุนการแบ่งกันผลิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมในอาเซียน โดยจะต้องเป็นความร่วมมือตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป และมีคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนมีหุ้นส่วนอยู่ในแต่ละบริษัทอย่างน้อยร้อยละ 30 สินค้าที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ในโครงการจะได้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใน อัตราร้อยละ 0-5 ในทันที โดยไม่ต้องรอให้เขตการค้าเสรีอาเซียนมีผลบังคับใช้ [การทูต] | Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] | ASEAN Charter | กฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต] | Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] | Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] | Convention on Cluster Munitions | อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดพวง มีสาระสำคัญคือ การห้ามใช้ สะสม ผลิตและโอนรวมทั้งต้องทำลายระเบิดพวง โดยมีการยกเว้นระเบิดพวงบางประเภทที่มีความแม่นยำต่อเป้าหมายและมีอัตรา ความเสี่ยงต่ำ โดยเปิดให้ลงนามอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์เป็นต้นไป และจะมีผลบังคับใช้วันแรก ของเดือนที่หกหลังจากที่ 30 ประเทศ ได้ให้สัตยาบัน [การทูต] | Convention on the Rights of the Child | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้รับการรับรองจากสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2532 โดยอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2533 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของเด็ก (บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี) เพื่อให้ได้รับการศึกษา การดูแล ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือกระทำทารุณกรรม ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 191 ประเทศ คงเหลือโซมาเลียและสหรัฐอเมริกาที่ยังมิได้ให้สัตยาบัน ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กด้วยการภาคยานุวัติ อนุสัญญาฯ มีผลปังคับใช้กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 ขณะนี้ไทยยังคงมีข้อสงวน 2 ข้อ คือ ข้อ 7 เรื่องสัญชาติ และ ข้อ 22 เรื่องการให้สถานะเป็นผู้ลี้ภัย [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | enter into force | มีผลบังคับใช้ [การทูต] | Establishment of Diplomatic Relations and Missions | การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] | European Union | สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] |
| อำนาจบังคับบัญชา | [amnāt bangkhapbanchā] (n, exp) EN: authority ; control ; leadership ; mastery ; sway | บังคับ | [bangkhap] (v) EN: force ; compel ; enforce ; command ; direct ; give an order ; constrain ; coerce FR: contraindre ; obliger ; forcer ; ordonner | บังคับ | [bangkhap] (adj) FR: obligatoire | บังคับเอา | [bangkhap ao] (v, exp) EN: extort from ; exact FR: extorquer | บังคับบัญชา | [bangkhapbanchā] (v) EN: command FR: commander | บังคับใช้ | [bangkhap chai] (v, exp) EN: enforce ; give force to FR: entrer en vigueur | บังคับใจ | [bangkhapjai] (v) EN: force ; constrain ; oblige ; control one's mind FR: se contrôler ; se maîtriser | บังคับการ | [bangkhapkān] (v) EN: command ; direct ; control ; govern FR: commander | บังคับคดีตามคำพิพากษา | [bangkhap khadī tām khamphiphāksā] (v, exp) EN: enforce a judgement/judgment (Am.) | บีบบังคับ | [bīpbangkhap] (v) EN: force ; oppress ; coerce ; compel ; press FR: forcer | โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ | [dōi mī phon bangkhap chai tangtaē] (xp) EN: with effect from | โดยถูกบังคับ | [dōi thūk bangkhap] (adj) EN: enforced ; compulsory | หอบังคับการ | [hø bangkhapkān] (n, exp) EN: commanding room ; control room FR: salle de commandes [ f ] | หอบังคับการบิน | [hø bangkhapkān bin] (n, exp) EN: flight control tower FR: tour de contrôle [ f ] | เจ้าพนักงานบังคับคดี | [jaophanakngān bangkhap khadī] (n, exp) EN: bailiff ; marshal | การบังคับ | [kān bangkhap] (n) EN: execution FR: contrainte [ f ] | การบังคับใช้ | [kān bangkhap chai] (n, exp) EN: enforcement | การบังคับใช้กฎหมาย | [kān bangkhap chai kotmāi] (n, exp) EN: law enforcement FR: entrée en vigueur d'une loi [ f ] | การบังคับจำนอง | [kān bangkhap jamnøng] (n, exp) EN: foreclosure FR: saisie [ f ] | การบังคับคดี | [kān bangkhap khadī] (n) EN: execution of a sentence FR: exécution d'un jugement [ f ] | การบังคับคดีตามคำพิพากษา | [kān bangkhap khadī tām khamphiphāksā] (n, exp) EN: judgement enforcement ; judgment enforcement (Am.) ; execution of judgement ; execution of judgment (Am.) ; enforcement of a judgement ; enforcement of a judgment (Am.) FR: exécution d'un jugement[ f ] | การบังคับขาย | [kān bangkhap khāi] (n, exp) EN: forced sale FR: vente forcée [ f ] | การบีบบังคับ | [kān bīpbangkhap] (n) EN: coercion | การชำระบัญชีโดยถูกบังคับ | [kān chamra banchī dōi thūk bangkhap] (n, exp) EN: enforced liquidation | การให้มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย | [kān hai mī phon bangkhap chai tām kotmāi] (n, exp) EN: coming into force ; entry into force | การประเมินผู้ใต้บังคับบัญชา | [kān pramoēn phū tāi bangkhapbanchā] (n, exp) EN: performance rating | ข้อบังคับ | [khøbangkhap] (n) EN: regulation ; rule ; principle ; by-law FR: règlement [ m ] ; règle [ f ] ; statut [ m ] | ข้อบังคับทางวินัย | [khøbangkhap thāng winai] (n, exp) FR: règlement disciplinaire [ m ] | กฎข้อบังคับ | [kotkhøbangkhap] (n) EN: by-rule ; rule ; regulation ; procedure ; bylaw ; statute | กฎระเบียบข้อบังคับ | [kot rabīep khøbangkhap] (n, exp) EN: rules and regulations | ไม่มีผลบังคับใช้ | [mai mī phon bangkhap chai] (adj) EN: invalid | มีผลบังคับ | [mī phon bangkhap] (v, exp) EN: be in force | เงื่อนไขบังคับก่อน | [ngeūoenkhai bangkhap køn] (n, exp) EN: precedent condition | เงื่อนไขบังคับหลัง | [ngeūoenkhai bangkhap lang] (n, exp) EN: subsequent condition | ภายใต้บังคับบัญชา | [phāitai bangkhapbanchā] (x) EN: under the command of | ผู้บังคับบัญชา | [phūbangkhapbanchā] (n) EN: superior ; boss ; commander ; superior officer ; chief ; director ; head ; manager | ผู้บังคับการ | [phūbangkhapkān] (n) EN: commandant ; commander ; commanding officer FR: commandant [ m ] | ผู้บังคับการเรือ | [phūbangkhapkān reūa] (n, exp) EN: commanding officer ; captain ; master FR: capitaine [ m ] | ผู้ใต้บังคับบัญชา | [phū tāi bangkhapbanchā] (n, exp) EN: subordinate FR: subordonné [ m ] | ผู้อยู่ใต้บังคับ | [phū yū tāi bangkhap] (n, exp) EN: subordinate | ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา | [phū yū tāi bangkhapbanchā] (n, exp) EN: controlee ; one who is controlled/supervised ; subordinate | ป้อมบังคับการ | [pǿmbangkhapkān] (n) EN: fortress | ระเบียบข้อบังคับ | [rabīep khøbangkhap] (n, exp) EN: regulation ; rule | สามารถบังคับใช้ได้ | [sāmāt bangkhap chai dāi] (adj) EN: enforceable | ตามข้อบังคับ | [tām khøbangkhap] (adv) EN: according to regulations | ท่าบังคับ | [thā bangkhap] (n, exp) EN: prescribed exercise | ถูกบังคับให้ทำงาน | [thūk bangkhap hai thamngān] (v, exp) EN: be forced to work FR: être contraint de travailler ; être forcé de travailler | ทุเลาการบังคับคดี | [thulao kān bangkhap khadī] (v, exp) EN: suspend the execution of a sentence ; stay the execution of a sentence | วิชาบังคับ | [wichā bangkhap] (n, exp) EN: required subject |
| loyal subject | (n) ผู้อยู้ใต้บังคับบัญชาที่จงรักภักดี หรือ ผู้จงรักภักดี เช่น The Queen was recently treated to more than just a smile from a loyal subject. | Surfskate | [เซิร์ฟสเกต] (n) กีฬาสไตล์เอ็กซ์ตรีมที่กำลังเป็นกระแสมาแรงในไทย เป็นการผสมผสานระหว่างการเล่นสเกตบอร์ดและการเล่นเซิร์ฟ โดยผู้เล่นจะต้องทรงตัวอยู่บนแผ่นไม้กระดาน บิดสะโพกเพื่อให้เกิดแรงเหวี่ยงในการควบคุมบังคับทิศทาง | dry day | (n, slang) วันที่มีการบังคับงดจำหน่ายสุรา หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่างๆ | sandbag | (vi) บังคับ ขู่เข็ญ ด้วยวิธีการหยาบคาย หรือ รุนแรง |
| abstinence | (n) การบังคับใจตนเอง, Syn. abstention, temperance, self-control | admiral | (n) เรือธงที่มีผู้บังคับการกองเรืออยู่, Syn. flagship | bend | (vt) ยืดหยุ่น (ต่อกฎข้อบังคับ) | bridge | (n) หอบังคับการเรือ, See also: สะพานเรือ | bridle | (n) บังเหียน, See also: เครื่องบังคับม้า, Syn. harness | be in order | (phrv) ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ (โดยเฉพาะการพูดอย่างเป็นทางการ), See also: ถูกกฎข้อบังคับ, Syn. be out of | be on the hook | (idm) ถูกบังคับให้ตัดสินใจ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. be off, get off | be under | (phrv) อยู่ในบังคับของ, See also: อยู่ใต้บังคับบัญชาของ, Syn. come under, fall under, fall beneath | be under someone's control | (idm) ควบคุมโดย, See also: อยู่ใต้บังคับของ, อยู่ภายใต้การดูแลของ, Syn. bring under, get under, keep under | beat back | (phrv) ไล่ต้อนให้กลับไป, See also: บังคับให้กลับไป | beat in | (phrv) สอนด้วยการบังคับ, See also: ยัดเยียดคำสั่งสอน, Syn. hammer in | beat into | (phrv) บังคับให้ทำ, See also: บีบให้ทำ | beat into | (phrv) สอน (บางสิ่ง) ให้กับ (บางคน) โดยบีบบังคับ, See also: สอนด้วยการบังคับ, Syn. hammer into | bend to | (phrv) บังคับให้เชื่อฟัง | boss about | (phrv) บงการ, See also: บังคับ, สั่ง | boss around | (phrv) บงการ, See also: บังคับ, สั่ง | break in | (phrv) บังคับ, See also: ควบคุม, ฝึกให้เชื่อง ม้า, พยายามทำให้เคยชินกับ | bring something into force | (idm) ทำให้มีผลบังคับใช้ (กฎหมาย), See also: ทำให้เกิดผล | bring under | (phrv) เข้ากุมอำนาจและทำให้ (บางคน) พ่ายแพ้, See also: บังคับให้ยอมจำนน, Syn. keep down | browbeat into | (phrv) ขู่เข็ญให้ทำ (บางสิ่ง), See also: บังคับให้ทำ บางสิ่ง | centurion | (n) ผู้บังคับการทางทหารที่ควบคุมทหารหนึ่งร้อยนาย | chart room | (n) หอบังคับการ | coerce | (vt) บีบบังคับ, See also: ูทำให้กลัว, คาดคั้น, เค้น, บังคับ, ขู่เข็ญ, Syn. force, hale, pressure | coercion | (n) การบีบบังคับ, See also: การขู่เข็ญ, Syn. compulsion, duress, intimidation | coercive | (adj) ที่บีบบังคับ | command | (n) คนในบังคับบัญชา, Syn. unit, squad, group, company, battalion, regiment, army, division, post, garrison, brigade, platoon, corps, battery, sector, vanguard | command | (vi) สั่งการ, See also: บัญชาการ, ออกคำสั่ง, บังคับบัญชา, Syn. order, demand, decree, direct, dictate, prescribe, bid, tell, govern | command | (vt) สั่งการ, See also: บัญชาการ, ออกคำสั่ง, บังคับบัญชา, Syn. order, demand, decree, direct, dictate, prescribe, bid, tell, govern, instruct, enjoin, summon, exact, appoint, compel | command | (n) อำนาจบังคับบัญชา, See also: อำนาจบัญชาการ, อำนาจสั่งการ, Syn. authority, control, leadership, mastery, sway, domination, dominion, sovereignty, prerogative, authorisation, authorization, supremacy, primacy, suzerainty, jurisdiction | commander | (n) ผู้บังคับบัญชา, See also: หัวหน้า, ผู้บัญชาการ, ผู้ออกคำสั่ง, Syn. commandant, head, administrator, chief, leader, captain, dictator, ruler, skipper | commanding | (adj) ซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่มีอำนาจ, See also: ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา, ซึ่งเป็นผู้สั่งการ, ซึ่งมีอำนาจเหนือ, Syn. sizable, dominant | compel | (vt) บังคับ, See also: สั่ง, Syn. force, coerce | compelling | (adj) ที่บังคับ | compulsion | (n) การบังคับ, Syn. constraint, coercion | compulsive | (adj) ที่ต้องทำเพราะถูกบังคับ | compulsory | (adj) ที่บังคับ | con | (vt) บังคับเรือ, See also: นำเรือ | constrain | (vt) บังคับ, See also: บีบบังคับ, Syn. compel, force, restrain | constrained | (adj) ที่บังคับ, Syn. compelled, forced | continence | (n) การบังคับใจตัวเอง, See also: การข่มใจ, Syn. self-restraint, moderation | cork | (vt) บังคับความรู้สึก | cram | (vt) บังคับให้กิน | crowd | (vt) กดดัน, See also: บังคับให้ทำ | chain down | (phrv) จำกัด, See also: กำหนด, บังคับ, Syn. bind down, tie down | coerce into | (phrv) บีบบังคับ, See also: ขู่เข็ญ, Syn. railroad into | compel from | (phrv) บีบบังคับจาก (เพื่อให้ได้มาซึ่งบางสิ่ง), See also: บังคับเอา | conduct away | (phrv) บังคับให้ออกไป, See also: นำออกไป, Syn. conduct out | conduct out | (phrv) บังคับให้ออกไป, See also: นำออกไป, Syn. conduct away | conscript into | (phrv) เกณฑ์ทหาร, See also: เกณฑ์ให้เข้าร่วมกองทัพ, บังคับด้วยกฎหมายให้เข้าร่วมกองทัพ | cow someone into submission | (idm) บังคับให้เห็นด้วย, See also: เห็นพ้องด้วยเพราะว่ากลัว |
| abnegate | (แอบ' นิเกท) vt. ละทิ้ง, ทอดทิ้ง, ขว้าง, เลิกล้ม, บังคับ, ควบคุม -abnegator n. | abstinence | (แอ็บ' สทิเนินซฺ) n. ความพอประมาณ, ความพอเหมาะ, การบังคับใจตัวเอง | appendage | (อะเพน'เดจฺ) n. ส่วนผนวก, ส่วนเพิ่มใส่, แขนขา, อวัยวะประกอบ, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้อยู่ในสังกัด, Syn. accessory, appendix, Ant. separation | article | (อาร์'ทิเคิล) n. สิ่งของ, ชิ้น, สินค้า, บทความ, มาตรา, ข้อ, ข้อบังคับ, รายการ, คำนำหน้านาม. -vt. กล่าวหา, ฟ้อง, ทำให้ข้อบังคับผูกมัด, Syn. item, object, piece, essay | automatism | (ออทอม'มะทิสซึม) n. ภาวะอัตโนมัติ, ขบวนการที่เกิดขึ้นเองโดยไม่ได้บังคับ. -automatist n. (involuntary action) | begin of tape | จุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป | bludgeon | (บลัช'เจิน) { bludgeoned, bludgeoning, bludgeons } n. กระบอง vt. ตีด้วยกระบอง, รังแก, บังคับ, See also: bludgeoner n. ดูbludgeon bludgeoneer n. ดูbludgeon, Syn. club | boss | (บอส) { bossed, bossing, bosses } n., adj. นายจ้าง, นาย, ผู้บังคับบัญชา, ผู้นำ -v. เป็นนายเหนือ, ควบคุม, บังคับบัญชา, บงการ, Syn. superior | bot | 1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป | bridge | (บริดจฺ) n. สะพาน, สิ่งเชื่อมประสาน, ดั้ง, ดั้งจมูก, ดั้งแว่นตา, หอบังคับการเรือ, ไพ่บริดจ์. vt. ทอดสะพานข้าม, ข้าม, ทอดข้าม, ผ่านพ้น (อุปสรรค) , เชื่อมต่อ, ข้ามให้พ้น, Syn. span | bridle | (ไบร'เดิล) n. บังเหียนม้า, สายบังเหียน, สิ่งควบคุม, สิ่งรั้ง, สายรั้ง, สิ่งบังคับการหมุน, เชือกหรือโซ่ผูกเรือ, การเชิดหน้า (เช่นแสดงอาการหยิ่ง) vt. บังเหียน, ควบคุม, เชิดหน้า (เช่น แสดงอาการหยิ่ง), See also: bridler n., Syn. curb, ch | case sensitivity | การบังคับใช้ตัวเล็ก/ตัวใหญ่หมายถึง ความแตกต่างระหว่างการใช้ตัวใหญ่และตัวเล็กของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โปรแกรมบางโปรแกรมหรือระบบบางระบบจะบังคับว่า ต้องใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด มิฉะนั้นเครื่องจะไม่เข้าใจ เช่น ชื่อโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) หรือ ระบบยูนิกซ์ (UNIX) จะบังคับให้ใช้ตัวใหญ่เท่านั้น ส่วนระบบดอสและวินโดว์ไม่บังคับ กล่าวคือ ใช้ตัวเล็กก็ได้ตัวใหญ่ก็ได้ | chiliarch | (คิล'ลีอาร์ค) n. ผู้บังคับกองพัน | circumscribe | (เซอคัมสไครบฺ') vt. เขียนเส้นรอบวง, ล้อมรอบ, กำหนดเขต, จำกัด, บังคับ, ให้คำจำกัดความ, Syn. surround | clamp { clamped | n. เครื่องหนีบ, คีม, ที่หนีบ. vt. หนีบไว้, จับไว้. -Phr. clamp down เพิ่มการควบคุม, บีบบังคับ | clamping | n. เครื่องหนีบ, คีม, ที่หนีบ. vt. หนีบไว้, จับไว้. -Phr. clamp down เพิ่มการควบคุม, บีบบังคับ | clamps } | n. เครื่องหนีบ, คีม, ที่หนีบ. vt. หนีบไว้, จับไว้. -Phr. clamp down เพิ่มการควบคุม, บีบบังคับ | clobber { clobbered | vt. ตีอย่างแรง, ทุบอย่างแรง, ทำให้แพ้อย่างราบคาบ, ข่มขี่, บังคับ, ทาบน | clobbering | vt. ตีอย่างแรง, ทุบอย่างแรง, ทำให้แพ้อย่างราบคาบ, ข่มขี่, บังคับ, ทาบน | clobbers } | vt. ตีอย่างแรง, ทุบอย่างแรง, ทำให้แพ้อย่างราบคาบ, ข่มขี่, บังคับ, ทาบน | coerce | (โคเอิซ') { coerced, coercing, coerces } vt. บีบบังคับ, บังคับ, ขู่เข็ญ, | coercion | (โคเออ'เชิน) n. การบังคับ, การบีบบังคับ, การขู่เข็ญ, See also: coercionary adj. coercionist n. | coercive | (โคเออ'ซิฟว) adj. เกี่ยวกับการบีบบังคับ, See also: coerciveness n. ดูcoercive | command | (คะมานดฺ') { commanded, commanding, commands } v. บัญชา, สั่ง, สั่งการ, ควบคุม, มีอำนาจเหนือ, ควรได้รับ -n. การออกคำสั่ง, คำสั่ง, อำนาจสั่ง, ตำแหน่งบัญชาการ, คนในบังคับบัญชา, อักษรหรือสัญลักษณ์ที่ใช้สั่งเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน, Syn. order | commandant | (คอม'มันดานทฺ, -แดนทฺ) n. ผู้บังคับบัญชา, ผู้บัญชาการ | commander | (คะมาน'เดอะ) n. ผู้บังคับบัญชา, ผู้สั่งการ, ผู้นำ, นายทหารผู้บังคับบัญชา, นาวาโท, See also: commandership n., Syn. chief, leader | commissar | (คอม'มิซาร์) n. หัวหน้าหน่วยงานของรัสเซีย, ผู้ตรวจการในรัสเซีย, ผู้บังคับการตำรวจ, นายทหารฝ่ายเกียกกาย | commodore | (คอม'มะดอร์) n. พลเรือจัตวา, นาวาเอกพิเศษ, ผู้บังคับการขบวนเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่, ประธานหรือหัวหน้าสโมสรเล่นเรือ | compel | (คัมเพล') { compelled, compelling, compels } vt. บังคับ, ผลักดัน, เกณฑ์, ใช้วิธีบังคับ, ได้มาโดยการบังคับ, ต้อน. vi. ใช้กำลัง, มีอิทธิพลต่อ, See also: compeller n., Syn. enforce | compelling | (คัมเพล'ลิง) adj. ซึ่งบีบบังคับ, ซึ่งมีผลมากที่ต้านไม่อยู่, Syn. forceful, Ant. unconvincing, invalid | compulsion | (คัมพัล'เชิน) n. การบีบบังคับ, การบังคับ, ภาวะที่ถูกบีบบังคับ, แรงกดดันที่ต้านไม่ได้ทางจิต (ควบคุมใจไม่อยู่) , แรงผลักดันทางใจ | compulsive | (คัมพัล'ซิฟว) adj. ซึ่งบีบบังคับ, เป็นเชิงบังคับ, เกี่ยวกับแรงผลักดันทางใจ n. ผู้ที่กระทำตามแรงผลักดันทางใจ., See also: compulsiveness n. ดูcompulsive, Syn. compelling | compulsory | (คัมพัล'ซะรี) adj. ใช้การบังคับ, ซึ่งต้องกระทำ, เป็นเชิงบังคับ, เป็นหน้าที่ต้องกระทำ., See also: compulsorily adv. ดูcompulsory compulsoriness n. ดูcompulsory, Syn. coercive | conning tower | n. (คอน'นิง) n, หอบังคับการเรือใต้น้ำ, | constitution | (คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น, การก่อตั้ง, การสถาปนา, ร่างกาย, อุปนิสัย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ, ระเบียบข้อบังคับ, รูปแบบการปกครอง, รากฐาน, Syn. composition | constitutional | (คอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. เป็นรากฐาน, เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, เป็นส่วนสำคัญ, ถูกต้องหรือเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ, เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ. n. การเดินหรือการออกกำลังกายที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, Syn. basic | constrain | (คันสเทรน') { constrained, constraining, constrains } vt. บังคับ, ผลักดัน, ขัง, จำกัด, ระงับความรู้สึก -Conf. restrain | constrained | (คันสเทรนดฺ') adj. ถูกบังคับ, ซึ่งระงับความรู้สึกไว้, ฝืนใจ, ถูกจำกัด | constraint | (คันเทรนทฺ') n. การคุมขัง, การจำกัด, การควบคุมความรู้สึก, การบีบบังคับ, แรงบีบบังคับ, ภาวะที่ถูกบีบบังคับ, Syn. compulsion | control | (คันโทรล') { controlled, controlling, controls } vt., n. (การ) ควบคุม, มีอำนาจเหนือ, บังคับ, บังคับบัญชา, ยับยั้ง, See also: controllability n. ดูcontrol controllableness n. ดูcontrol, Syn. hold, rule, restraint | control tower | n. หอบังคับการ | degage | (เดกาเจ') adj., F. ง่าย, อิสระ, ไม่มีอะไรมาบังคับ | denial | (ดิไน'เอิล) n. การปฏิเสธ, การบอกปัด, การไม่ยอมรับ, การบังคับใจตัวเอง, การไม่ยอมตามใจตัวเอง | deny | (ดิไน') { denied, denying, denies } vt. ปฎิเสธ, ไม่ยอมรับ, ไม่ตกลง, บังคับใจตัวเอง, Syn. dispute, Ant. affirm | dirigible | (เดอ'ระจะเบิล) n. เรือบิน, โพยมยาน, โพยมยานนาวา. adj. ซึ่งสามารถบังคับหรือควบคุมได้ | disciplinal | (ดิส'ซะพลิเนิล) adj. เกี่ยวกับวินัย, เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ | disciplinarian | (ดิสซะพลิเน'เรียน) n. ผู้ยึดถือระเบียบวินัย, ผู้ควบคุมหรือบังคับให้เป็นไปตามระเบียบวินัย. adj. เกี่ยวกับระเบียบวินัย | distrain | (ดิสเทรน') vt. ยึดทรัพย์เพื่อหักกลบลบหนี้หรือบีบบังคับ. vi. อายัดทรัพย์, ยึดทรัพย์., See also: distrainable adj. ดูdistrain distraiment n. ดูdistrain distrainor n. ดูdistrain distrainer n. ดูdistrain | distraint | (ดิสเทรนท') n. การอายัดทรัพย์เพื่อบีบบังคับ, ความยากลำบาก | distress | (ดิสเทรส') n. ความเศร้าโศก, ความเสียใจ, ความลำบาก, ความทุกข์ยาก, ภัยพิบัติ, ความเคราะห์ร้าย, การอายัดทรัพย์เพื่อบีบบังคับ vt. ทำให้เศร้าโศก, ทำให้ทุกข์ยาก., See also: distressful adj. ดูdistress distressfully adv. ดูdistress distressingly adv. ดูdi |
| bridge | (n) สะพาน, สะพานเรือ, หอบังคับการเรือ, ดั้งจมูก, การเล่นไพ่ชนิดหนึ่ง | chief | (n) หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, นาย, ผู้นำ | citizen | (n) ประชากร, ชาวเมือง, พลเมือง, ประชาชน, คนในบังคับ | coerce | (vt) บีบบังคับ, ขู่เข็ญ, ขู่กรรโชก | coercion | (n) การขู่เข็ญ, การขู่กรรโชก, การบีบบังคับ | coercive | (adj) ซึ่งขู่เข็ญ, ซึ่งขู่กรรโชก, ซึ่งบีบบังคับ | command | (n) คำสั่ง, คำบัญชา, การบังคับ, การบัญชาการ | command | (vt) สั่ง, สั่งการ, บังคับ, บัญชา, บัญชาการ | commandant | (n) ผู้บังคับบัญชา, ผู้บัญชาการ | commander | (n) ผู้บังคับบัญชา, ผู้สั่งการ, ผู้สั่ง, ผู้นำ, นาวาโท | commodore | (n) ผู้บังคับการเรือ, นายกสโมสรเรือ, นาวาเอกพิเศษ | compel | (vt) บังคับ, ผลักดัน, ขู่เข็ญ, เคี่ยวเข็ญ, เกณฑ์ | compulsion | (n) แรงผลักดันทางใจ, การบีบบังคับ, แรงกดดัน | compulsory | (adj) เป็นเชิงบังคับ, ซึ่งต้องกระทำ | constrain | (vt) บีบบังคับ, ขัง, ฝืนใจ, จำกัด | constraint | (n) การบีบบังคับ, การฝืนใจ, การจำกัด, การระงับความรู้สึก, การคุมขัง | continence | (n) การรู้จักละเว้น, การบังคับใจตนเอง, ความไม่มักมาก | control | (n) การควบคุม, การบังคับบัญชา, การบังคับ, อำนาจ, การบงการ | control | (vt) ควบคุม, บังคับบัญชา, บังคับ, บงการ, มีอำนาจเหนือ | controller | (n) ผู้บังคับบัญชา, ผู้ตรวจตรา, ผู้ควบคุม, ผู้ตรวจสอบ, เครื่องควบคุม | dirigible | (adj) ซึ่งสามารถควบคุมได้, ซึ่งสามารถบังคับได้ | discipline | (n) ระเบียบข้อบังคับ, ระเบียบวินัย, การลงโทษ, การฝึกฝน | discipline | (vt) ทำให้มีวินัย, บังคับ, ลงโทษ, ฝึกฝน, ฝึกหัด | domineer | (vi) กดขี่, ขู่เข็ญ, ใช้อำนาจ, บังคับ, ปกครองแบบเผด็จการ | drone | (n) ภมร, ผึ้งตัวผู้, กาฝาก, เครื่องบินบังคับ | duress | (n) การบีบบังคับ, การบังคับขู่เข็ญ, การข่มขู่, การกักขัง | effective | (adj) มีประสิทธิภาพ, เป็นผล, ได้ผล, มีผลบังคับใช้ | effectual | (adj) อาจเกิดผลได้, ได้ผล, มีผลบังคับใช้, พอเพียง | enforce | (vt) บังคับให้กระทำ, ใช้กำลังบังคับ, ทำให้ปฏิบัติตาม | enforceable | (adj) บังคับได้, ใช้กำลังบังคับได้ | enforcement | (n) การบังคับ, การใช้กำลังบังคับ | enjoin | (vt) บัญชา, บังคับ, สั่งการ, กำชับ, ห้าม | exact | (vt) เกณฑ์เอามา, บีบบังคับ, ต้องการ | exaction | (n) ความเข้มงวด, การบีบบังคับ, การเกณฑ์เอามา, การขู่เข็ญเอามา | expropriate | (vt) ริบ, ยึด, เวนคืน, บังคับเอา | extort | (vt) บีบคั้น, รีดไถ, ขู่เข็ญ, บีบบังคับ, ขู่กรรโชก, เคี่ยวเข็ญ | force | (n) แรง, อำนาจ, การบังคับ, กำลัง, พละกำลัง, กองทัพ, อิทธิพล | force | (vt) บังคับ, ขับเคี่ยว, คาดคั้น, ฝืนใจ, ดัน, รุน | forced | (adj) ฝืน, ยัดเยียด, ถูกบังคับ, หักโหม, ขับเคี่ยว | forcible | (adj) โดยการบังคับ, ซึ่งใช้กำลัง, ซึ่งใช้อำนาจ | govern | (vt) ปกครอง, ดูแล, ครอบครอง, ครอบงำ, บังคับ, ควบคุม | holdup | (n) การบังคับให้หยุด, การปล้น, การจี้ | imperative | (adj) เชิงบังคับ, จำเป็น, ซึ่งเลี่ยงไม่ได้ | imperative | (n) คำสั่ง, ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ความจำเป็น | imperious | (adj) หยิ่ง, เผด็จการ, จำเป็น, เชิงบังคับ, เผด็จการ, ด่วน | impose | (vt) ลงโทษ, เรียกร้อง, เอาเปรียบ, กำหนด, บังคับ | influence | (vt) ใช้อิทธิพลต่อ, ชักจูง, ชักชวน, บีบบังคับ | inoperative | (adj) ไม่เป็นผล, ไม่มีผลบังคับ, ไม่ทำงาน, ไม่ได้กระทำ | inure | (vi) เป็นผลดี, มีประโยชน์, มีผลบังคับใช้ | law | (n) กฎหมาย, ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ศีล, คำสั่ง |
| *institution* | กฎระเบียบที่ตราขึ้นใช้บังคับ | abducens nerve | (n) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 นำคำสั่งจากสมองไปยังกล้ามเนื้อตา บังคับให้เกิดการชำเลืองตา ให้โฟกัสภาพชัด | articles of association | (n) ข้อบังคับบริษัท | chain of command | (n) สายงานบังคับบัญชา | compell | (vt) บังคับ | compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน | confined to | (phrase) ถูกบังคับให้..., ถูกจำกัดให้... | Court Execution Officer | (n) เจ้าหน้าที่บังคับคดี | Detailed Objectives | (n) ข้อบังคับบริษัท | direct report | (n) ผู้ใต้บังคับบัญชา | excuss | [Ex`cuss´] (vt) 1)ทิ้ง, สลัดทิ้ง, สะบัด; 2) พินิจ, ตรวจสอบอย่างละเอียด, สืบสวน, แกะรอย, ถอดรหัส; 3) ยึดจับ, บังคับคดี (กฎหมาย), See also: to discard, 2To inspect; to investigate, to decipher, 3To seize a, Syn. 1To shake off | execution | การบังคับคดี | insofar | มีผลใช้บังคับ | levy | การบังคับยึดทรัพย์ | Metropolitan Police Division 1 | (n, org, uniq) ตำรวจนครบาล 1, Metropolitan Police Division 1 Commander ผู้บังคับการตำรวจนครบาล 1 | second-in-command | รองผู้บังคับหน่วย, ตำแหน่งรอง | self-possessed | (adj) ซึ่งควบคุมตัวเองได้ในสถานการณ์ที่บีบบังคับ | squad leader | (n) ผู้บังคับหมู่ | Squad Leader | [สควอด ลีด เดอ] (n) ผู้บังคับหมู่ | subject to | ภายใต้, ภายใต้บังคับแห่ง, ภายใต้บังคับ (กฎหมาย) | Systolic | การหดตัวของหัวใจที่เลือดถูกบังคับให้ออกจากห้องและเข้าไปในหลอดเลือดแดงหลอดเลือดแดงและปอด | toothless | (adj) ไม่มีผลบังคับใช้ |
| レバー | [ればー, reba-] (n) คันโยก, คันบังคับ | 義務教育 | [ぎむきょういく, gimukyouiku] (n) การศึกษาภาคบังคับ | 規則 | [きそく, kisoku] (n) กฎ, ข้อบังคับ | 規定 | [きてい, kitei] (n) ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ระเบียบ |
| 強制的 | [きょうせいてき, kyouseiteki] (adv) ในเชิงบังคับ | 無理やり | [むりやり, muriyari] (adv) บังคับ | 押し付ける | [おしつける, oshitsukeru] บังคับให้ทำ | 圧迫 | [あっぱく, appaku] ความกดดัน, การบีบคั้น, แรงกดดัน, การบีบบังคับ, แรงกระตุ้น | 定番 | [ていばん, teiban] (n, adj) n., adj. (เป็น) มาตรฐาน, เกณฑ์, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, กรอบ, ข้อกำหนด, อัตราเปรียบเทียบ | 実施 | [じっし, jisshi] การบังคับใช้, การใช้ปกิบัติ, การบังคับใช้จริง | 小官 | [しょうかん, shoukan] (n) กระผม, ข้าน้อย เป็นคำแทนตนเมื่อพูดกับเจ้านายหรือผู้บังคับบัญชาของตนเอง |
| 強いる | [しいる, shiiru] TH: บีบบังคับ EN: to force |
| Verfügung | (n) |die| กฎ, ข้อบังคับ | Impfzwang | (n) |der, nur Sg.| การบังคับเข้ารับวัคซีนป้องก้นโรค | Zwang | (n) |der, pl. Zwänge| การบังคับให้กระทำ | steuern | (vt) |steuerte, hat gesteuert| ควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของพาหนะ เช่น ein Schiff steuern บังคับเรือหรือเดินเรือ | müssen | |muß, mußte, hat gemußt| ต้อง (เป็นกริยาช่วย บ่งความจำเป็น, การบังคับ) เช่น Du muß dich erst mal ausruhen!, Alle Menschen müssen sterben. | Zugzwang | (n) |der, nur Sg.| เป็นคำศัพท์จากหมากรุกสากล ซึ่งมีความหมายว่า โดนบังคับให้เดินเสียเปรียบ (ไม่มีตาดีให้เดิน) คำว่า Zug นั้นแปลว่าการเคลื่อนที่หรือการเดินหรือการดึง ส่วนคำว่า Zwang แปลว่าการบังคับ ผู้ที่อยู่ในจังหวะ Zugzwang นั้นก็คือผู้ที่เสียเปรียบ หมายเหตุ: ทางที่ดีที่สุดนั้นก็คือไม่เดินนั่นเอง | Vereinbarung | (n) |die, pl. Vereinbarungen| ข้อตกลง, ข้อกำหนด, การระบุ, การกำหนด, เงื่อนไข, เงื่อนบังคับ, สัญญา, Syn. Abmachung |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |