มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ 政権交代 | [せいけんこうたい] การเปลี่ยนพรรคการเมืองที่มาเป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล(ดังนั้นหากเป็นแค่การเปลี่ยนพรรคร่วมรัฐบาล โดยที่พรรคที่เป็นผู้นำยังคงเป็นพรรคเดิม ก็ยังไม่สามารถใช้คำนี้ได้) |
|
| พรรคการเมือง | (n) political party, Example: ในสภาผู้แทนราษฎรขณะนี้มี ส.ส. รวมทั้งสิ้น 357 คน มาจากพรรคการเมือง 12 พรรคด้วยกัน, Count Unit: พรรค, Thai Definition: กลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ร่วมกันจัดตั้งและจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย |
| พรรคการเมือง | น. กลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ร่วมกันจัดตั้งและจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย. | โฆษก | ผู้แถลงข่าวแทน เช่น โฆษกพรรคการเมือง. | โจมตี | ก. ใช้กำลังบุกเข้าตี เช่น โจมตีข้าศึก, โดยปริยายหมายความว่า พูดหรือเขียนว่าหรือกล่าวหาผู้อื่นอย่างรุนแรง เช่น ๒ พรรคการเมืองโจมตีกันและกัน หนังสือพิมพ์โจมตีผู้บริหารที่ทุจริต. | ชูธง | ก. แสดงจุดยืนอย่างชัดเจน เช่น พรรคการเมืองชูธงเรื่องการปราบคอร์รัปชัน. | ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ. | พรรค, พรรค-, พรรค์ | (พัก, พักคะ-, พัน) น. หมู่คนที่เข้ารวมกันเป็นพวกเป็นฝ่าย เช่น พรรคการเมือง, พวก เช่น คนพรรค์นั้น. | พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. | ลูกพรรค | น. สมาชิกที่มิได้เป็นหัวหน้าของพรรคการเมือง. |
| parlor caucus | การประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | partisan, offensive | ข้าราชการที่เข้าช่วยพรรคการเมืองอย่างออกหน้า (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political party; party, political | พรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political party; party, political | พรรคการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | party identification | การสังกัดพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party list | บัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party system | ระบบพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party convention | การประชุมใหญ่ของพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party, political; political party | พรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party, political; political party | พรรคการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | party, splinter | พรรคการเมืองที่แยกออกมา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | platform | แนวนโยบายพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | platform | แนวนโยบายของพรรคการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | splinter party | พรรคการเมืองที่แยกออกมา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | offensive partisan | ข้าราชการที่เข้าช่วยพรรคการเมืองอย่างออกหน้า (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | mending fences | การปรับปรุงพรรคการเมือง (เพื่อเตรียมการเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | convention, national | การประชุมใหญ่ของพรรคการเมือง (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | caucus | การประชุมลับของพรรคการเมือง (ของกลุ่มผู้มีสิทธิได้รับเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | caucus | การประชุมลับในพรรคการเมือง (เพื่อคัดเลือกผู้แทนพรรคเข้าชิงตำแหน่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | caucus, parlor | การประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | dues | ค่าบำรุง (พรรคการเมือง, สหภาพแรงงาน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | fences, mending | การปรับปรุงพรรคการเมือง (เพื่อเตรียมการเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | front, united | แนวร่วม (พรรคการเมือง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | national convention | การประชุมใหญ่ของพรรคการเมือง (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | united front | แนวร่วม (พรรคการเมือง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| One party systems | ระบบพรรคการเมืองเดียว [TU Subject Heading] | One-party system | ระบบพรรคการเมืองเดียว [TU Subject Heading] | Party discipline | วินัยในพรรคการเมือง [TU Subject Heading] | Political parties | พรรคการเมือง [TU Subject Heading] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
| | กิจกรรมหาเสียงของพรรคการเมือง | [kitjakam hāsīeng khøng phak kānmeūang] (xp) EN: electioneering | พรรคการเมือง | [phak kānmeūang] (n, exp) EN: political party FR: parti politique [ m ] ; formation politique [ f ] | พรรคการเมืองใหม่ | [Phak Kānmeūang Mai] (org) EN: New Politics party (NPSP) | พรรคการเมืองไทย | [phak kānmeūang Thai] (n, exp) EN: Thai political party FR: parti politique thaïlandais [ m ] |
| | bandwagon | (แบนแวก'เกิน) n. รถดนตรีในขบวนแห่, ความนิยม, พรรคการเมืองในสหรัฐอเมริกาที่ได้รับความนิยมอยู่ | bloc | (บลอค) n. กลุ่มคน, หมู่คน, กลุ่มสมาชิกพรรคการเมือง, Syn. group | caucus | (คอ'คัส) n. การประชุมพรรคการเมืองเพื่อเลือกตั้งตัวแทนเข้าแข่งขัน vi. ประชุมพรรคการเมืองดังกล่าว -pl. caucuses | committeeman | (คะมิท'ทีเมิน) n. กรรมการ กรรมาธิการ, หัวหน้าพรรคการเมืองในเขตเลือกตั้ง -pl. committeemen | convention | (คันเวน'เชิน) n. การประชุม, การประชุมพรรคการเมือง, สัญญา, สนธิสัญญา, อนุสัญญา, ระเบียบแบบแผน, จารีตประเพณี, ธรรมเนียมปฎิบัติ, การประชุมที่มีกำหนด, Syn. meeting, custom | fusion | (ฟิว'เชิน) n. การหลอมละลาย, การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมละลาย, การผสมของพรรคการเมือง, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่หนักขึ้น (nuclear, See also: fusion, Syn. coalescence, combine, Ant. separate | independent | (อินดิเพน' เดินทฺ) adj. อิสระ, ไม่ขึ้นใคร, เป็นตัวของตัวเอง, ไม่อยู่ภายใต้การช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากผู้อื่น, มีเงินเพียงพอที่จะช่วยตัวเอง, มีความเชื่อมั่นในตัวเอง. -n. คนที่อิสระ, คนที่เป็นตัวของตัวเอง, ผู้ออกเสียงอิสระ (ไม่ขึ้นอยู่พรรคการเมืองใด ๆ) | leftwing | ปีกซ้าย, ฝ่ายซ้าย, ฝ่ายเอียงซ้าย (ของพรรคการเมือง), See also: leftwing adj. ดูleftwing leftwinger n. ดูleftwing, Syn. liberal | platform | (แพลท'ฟอร์ม) n. แท่น, ชานชลาสถานี, เวทีสำหรับกล่าวคำปราศัย, ยกพื้น, ดาดฟ้า, แท่นยิง, แท่นปืนใหญ่, นโยบายของพรรคการเมือง, คำแถลงการณ์, การปราศรัยต่อมวลชน, การแสดงปาฐกถา | standard-bearer | n. ผู้ถือธง, ผู้นำที่เด่นชัด, ผู้นำพรรคการเมือง, ผู้นำกิจการ, See also: standard-bearership n. | ticket | (ทิค'คิท) n. ตั๋ว, บัตร, บัตรอนุญาต, ใบอนุญาต, รายชื่อสมาชิกผู้สมัครรับเลือกตั้ง (ที่พรรคการเมืองเสนอชื่อ) , ใบสั่ง สำหรับผู้กระทำผิดกฎจราจร, สิ่งที่เหมาะสม, โครงการของพรรคการเมือง, ฉลากติดสินค้า, ฉลากฉีก. vt. ติดฉลาก, ติดบัตร | whip | (วิพ) vt., n. (การ) หวด, ตี, เฆี่ยน, โบย, ลงแส้, ฝึกอย่างเข้มงวด, รวบรวม, ชุมนุม, กระตุ้น, พันด้วยเชือก, เอาชนะอย่างเด็ดขาด, ดึงขึ้นด้วยเชือก, ฟันรอบ, ตีไข่ , แส้ , ผู้ควบคุมเสียงสมาชิกพรรคการเมืองในสภา, อาหารหวานที่ทำด้วยครีมหรือไข่ขาว, ลูกรอกโยง vi. พุ่ง, หวดแส้, ตกปลา |
| caucus | (n) การประชุมพรรคการเมือง | federation | (n) สหพันธ์, กลุ่มการเมือง, การจัดตั้งพรรคการเมือง, การรวมกัน | independence | (n) เอกราช, ผู้ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด, อิสรภาพ, พรรคการเมืองอิสระ | junto | (n) พรรคการเมือง, พรรคพวก, คณะปกครอง, คณะผู้ก่อการร้าย | phalanx | (n) กองทหารราบ, ฝูงสัตว์, กลุ่มคน, พรรคการเมือง |
| 幹事長 | [かんじちょう, kanjichou] (n) เลขาธิการ(พรรคการเมือง) |
| 党員 | [とういん, touin] (n) สมาชิกพรรคการเมือง |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |