ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พลเมือง, -พลเมือง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ พลเมือง | (n) population, See also: citizen, inhabitant, people, Syn. ประชากร, พสกนิกร, ชาวเมือง, ราษฎร, Example: อินเดีย ประเทศที่มีพลเมืองมากเป็นอันดับ 2 ของโลกกำลังเข้าสู่เทศกาลเลือกตั้ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ชาวประเทศ | ประชาชนพลเมือง | (n) people, See also: inhabitants, residents, populace, mass, citizen, crowd, Syn. พลเมือง, สามัญชน, พสกนิกร, ราษฎร, ประชากร, มวลชน, หมู่ชน, ฝูงชน, ประชาชน, Example: เมืองชัยภูมิมีความสงบประชาชนพลเมืองเป็นคนเรียบร้อย, Count Unit: คน, กลุ่ม, พวก, Thai Definition: ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ | หน้าที่ของพลเมือง | (n) civic duty, Syn. หน้าที่พลเมือง, Example: เด็กๆ ควรจะได้รับการดูแลอบรมรวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้เข้าใจถึงหน้าที่ของพลเมืองเป็นอย่างดี |
|
| พลเมือง | (พนละ-) น. ประชาชน, ราษฎร, ชาวประเทศ. | ข้าแผ่นดิน | น. พลเมือง, ประชาชน, ราษฎรที่อาศัยในแผ่นดิน. | ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ | ตรลบ | (ตฺระหฺลบ) ก. ตลบ, เขียนเป็น ตรหลบ หรือ ตระหลบ ก็มี เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์), ไพร่พลเมืองนาวนาว นฤนาท แตรตระหลบก้องหล้า ส่งสยง (ยวนพ่าย), เถิดฤๅจะรื้อรบ ตระหลบวิ่งเข้าชิงแดน ฟันเสียให้นับแสน ให้เศียรขาดลงดาดดิน (พากย์นางลอย). | ทะเบียน | น. บัญชีจดลักษณะจำนวนคน จำนวนสัตว์ หรือจำนวนสิ่งของ ตลอดจนการงานต่าง ๆ ที่รัฐบันทึกไว้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับประชาชนพลเมือง. | เทครัว | ก. อพยพครอบครัว, กวาดต้อนผู้คนพลเมืองจากถิ่นฐานเดิมไปไว้ที่อื่น, เช่น ในปีเดียวนั้นให้เทครัวเมืองเหนือทั้งปวงลงมายังกรุงพระนครศรีอยุทธยา (พงศ. ประเสริฐ) | เนตรนารี | น. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. | ประชากร | น. หมู่คน, หมู่พลเมือง (เกี่ยวกับจำนวน). | ประชาชน, ประชาราษฎร์ | น. พลเมือง, สามัญชนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่ข้าราชการ พ่อค้า หรือนักบวช ในความว่า ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชน. | ประชาชาติ | น. ประเทศรวมทั้งประชาชน, ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ, ชาติ ก็ว่า. | ประชาบาล | การปกครองพลเมืองในท้องถิ่น. | ประชาภิบาล | น. ผู้ปกครองพลเมือง | ปั่ว | น. พลเมือง | ฝุ่นเมือง | น. พลเมือง, ราษฎร. | พลโลก | (พนละ-) น. ชาวโลก, พลเมืองของโลก. | พสก, พสก- | (พะสก, พะสกกะ-) น. ชาวเมือง, พลเมือง. | พสกนิกร | (พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน) น. คนที่อยู่ในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม. | ไพร่ | (ไพฺร่) น. พลเมือง, ประชาชน, ราษฎรสามัญ. | ไพร่ฟ้า | น. ราษฎร, ประชาชน, พลเมืองของพระเจ้าอยู่หัว. | รับใช้ชาติ, รับใช้ประเทศชาติ | ก. ทำหน้าที่สนองคุณบ้านเมืองในฐานะเป็นพลเมืองของประเทศ. | ราษฎร, ราษฎร์ ๑ | (ราดสะดอน, ราด) น. พลเมืองของประเทศ. | ลูกเสือ | น. สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กชายให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติและความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. | เลก | น. ชายฉกรรจ์, พลเมืองชั้นสามัญ, เขียนเป็น เลข ก็มี. | สร้างเสริม | ก. ทำให้เกิดมีขึ้นและเพิ่มพูนให้มากยิ่งขึ้น เช่น การศึกษาสร้างเสริมคนให้เป็นพลเมืองดี. | สังคมศึกษา | (สังคมมะ-, สังคม-) น. หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม. | สัญชาติ | สถานะตามกฎหมายของบุคคลที่แสดงว่าเป็นพลเมืองหรือคนในบังคับของประเทศใดประเทศหนึ่ง. | สาธารณสมบัติของแผ่นดิน | น. ทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน ทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ. | สารบาญชี | (สาระ-) น. ทะเบียนรายชื่อไพร่บ้านพลเมือง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทะเบียนหางว่าว, ทะเบียนสัตว์ ได้แก่ ช้าง ม้า โค กระบือ, ทะเบียนไร่นา, ทะเบียนบ้านเรือน. | สิทธิสภาพนอกอาณาเขต | น. สิทธิพิเศษที่จะใช้กฎหมายของประเทศหนึ่งบังคับแก่บุคคลที่เป็นพลเมืองของตนที่ไปอยู่ในดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง. | สุรัสวดี | ชื่อกรมมีหน้าที่จัดทำสารบาญชีไพร่บ้านพลเมือง และจัดสรรไพร่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนไปทำราชการตามกรมกองต่าง ๆ, เรียกเต็มว่า กรมพระสุรัสวดี. | หนังสือเดินทาง | น. หนังสือสำคัญประจำตัวซึ่งทางราชการของประเทศหนึ่ง ออกให้แก่พลเมืองของประเทศนั้น เพื่อเป็นหลักฐานในการเดินทางไปต่างประเทศ. | อาณาประชาราษฎร์ | น. พลเมืองที่อยู่ในอำนาจปกครอง. |
| liberty, civil | เสรีภาพของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Rights, Bill of | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rights, civil | สิทธิของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | apportionment | การกำหนดจำนวนผู้แทนตามส่วนของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | jus civile (L.) | ๑. กฎหมายเอกชน๒. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล [ ดู private international law ]๓. กฎหมายที่ใช้บังคับพลเมืองชาวโรมัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Bill of Rights | บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | military civic action | การช่วยเหลือพลเมืองโดยทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civics | วิชาหน้าที่พลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civics | วิชาหน้าที่พลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil | ๑. แพ่ง๒. พลเรือน๓. เกี่ยวกับพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil | ๑. แพ่ง (ก. แพ่ง)๒. พลเรือน, เกี่ยวกับพลเมือง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil status | สถานภาพพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil status | สถานภาพพลเมือง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | civil rights | สิทธิของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil rights | สิทธิของพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | citizen | พลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | citizen | พลเมือง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | civil liberties | เสรีภาพของพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civil liberty | เสรีภาพของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civic | เกี่ยวกับพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civic | เกี่ยวกับพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | civic action | การช่วยเหลือพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civic action, military | การช่วยเหลือพลเมืองโดยทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civic culture; culture, civic | วัฒนธรรมพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civic duty | หน้าที่ของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civic duty | หน้าที่ของพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | citizen | พลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | citizen, natural-born | พลเมืองโดยกำเนิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | citizen, naturalized | พลเมืองโดยการแปลงสัญชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | citizenship | ความเป็นพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | citizenship | ความเป็นพลเมือง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | citizenship | ความเป็นพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | citizenship, dual | ความเป็นพลเมืองสองประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil disability | ๑. การขาดความสามารถตามกฎหมาย๒. การขาดคุณสมบัติของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | civil disability | การขาดความสามารถตามกฎหมาย, การขาดคุณสมบัติของพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | culture, civic; civic culture | วัฒนธรรมพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | disability, civil | ๑. การขาดความสามารถตามกฎหมาย๒. การขาดคุณสมบัติของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | disability, civil | การขาดความสามารถตามกฎหมาย, การขาดคุณสมบัติของพลเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | duty, civic | หน้าที่ของพลเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | dual citizenship | ความเป็นพลเมืองสองประเทศ [ ดู double nationality และ dual nationality ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | enfranchise | ๑. ให้สิทธิเลือกตั้ง (แก่พลเมือง) (ก. ปกครอง)๒. ให้สิทธิมีผู้แทน (แก่ท้องถิ่น) (ก. ปกครอง)๓. เปลี่ยนสิทธิการเช่าเป็นกรรมสิทธิ์ (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | natural-born citizen | พลเมืองโดยกำเนิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | natural-born citizen | พลเมืองโดยกำเนิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | netizen | พลเมืองเครือข่าย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | netizen | พลเมืองเครือข่าย [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | naturalized citizen | พลเมืองโดยการแปลงสัญชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | naturalized citizen | พลเมืองโดยการแปลงสัญชาติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
| พสกนิกร | [ พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน ] คนที่อยู่ในประเทศไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม [ศัพท์พระราชพิธี] | Independent Living | การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน [Assistive Technology] | Citizen crime reporting | การแจ้งข้อมูลอาชญากรรมของพลเมือง [TU Subject Heading] | Citizen participation | การมีส่วนร่วมของพลเมือง [TU Subject Heading] | Civics | หน้าที่พลเมือง [TU Subject Heading] | Civics, American | หน้าที่พลเมืองของสหรัฐอเมริกา [TU Subject Heading] | Civil rights | สิทธิพลเมือง [TU Subject Heading] | Civil rights demonstrations | สิทธิพลเมืองในการเดินขบวน [TU Subject Heading] | International Covenant on Civil and Political Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | Human Rights Committee | คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) [การทูต] | International Covenant on Civil and Political Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540 [การทูต] | Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
| You compare the bourgeoisie Rimbaud hated to French citizens of today who are... indifferent to the French in Algeria, fighting to defend their land, blood and dignity. | เธอเปรียบเทียบชนชั้นกลาง แรงโบด์เกลียด พลเมืองฝรั่งเศสในปัจจุบัน ผู้... "ไม่แยแส Wild Reeds (1994) | I'm a good citizen. | ผมเป็นพลเมืองดี Heat (1995) | Hugh Benny has reformed his wayward life... and become a born-again good citizen. | ฮิวเบนนี่ปรับปรุงชีวิตเขาใหม่ กลายเป็นพลเมืองดีกับเขาขึ้นมา Heat (1995) | Citizenship will be taken away from all Jews and non-Aryans. | พลเมืองยิวจะถูกเนรเทศออกไป คงอยู่แต่ชาว อารยัน The Great Dictator (1940) | Citizens, I mean comrades, brake it up! | พลเมืองฉันหมายคว- ามว่าสหายเบรกขึ้น! Idemo dalje (1982) | No Russian citizen is allowed to remain on or allowed to enter the Discovery. | ไม่มีพลเมืองรัสเซียได้รับ อนุญาตให้อยู่ใน หรือได้รับอนุญาตที่จะเข้า สู่ดิสคัเฟอรี 2010: The Year We Make Contact (1984) | We aren't the ones who will change it, but rather, those citizens who hope for Akira will. | ไม่ได้มีแต่พวกเราเท่านั้นที่จะเปลี่ยนมัน แต่บางที พลเมืองพวกนั้นหวังว่าจะพบกับอากิระจริงๆ Akira (1988) | He was a pioneer in the civil rights and the anti-war movement. | เขาเป็นผู้บุกเบิกเรื่องสิทธิของพลเมือง และการต่อต้านสงคราม Field of Dreams (1989) | Citizens faced with the collapse of local police have taken the law into their own hands. | 'พลเมืองที่หวังพึ่งตำรวจไม่ได้' 'ทำตัวเป็นมือกฎหมายซะเอง'. Night of the Living Dead (1990) | Citizens of Paris, listen to me. | พลเมืองปารีสจงฟังข้า... The Man in the Iron Mask (1998) | I'm an American. May I telephone the Embassy? | ฉันเป็นพลเมืองอเมริกัน ฉันขอโทรไปสถานฑูตได้ไหม? Brokedown Palace (1999) | Your business is to help American citizens. | เรื่องของคุณคือการช่วยเหลือพลเมืองอเมริกัน Brokedown Palace (1999) | Your Honor, the citizens of Castelcuto reply: | ศาลที่เคารพ พลเมืองแห่งคาศเตลคูโต้ตอบว่า Malèna (2000) | Refugees are pouring into the countryside and the port towns. | มีการเตือนพลเมืองในภูมิภาคเหล่านั้นว่า... Malèna (2000) | All citizens must pass through medical scanning. Sir! | พลเมืองทุกคนต้องผ่าน เครื่องตรวจโรค Resident Evil: Apocalypse (2004) | And you're just a good citizen helping' out? | แล้วนายเป็นพลเมืองดีที่จะช่วยเหลือใช่ไม๊? Ice Age (2002) | Citizens are advised that if they see an evil genius with a claw, not to approach him. | แนะนำให้พลเมืองว่า ถ้าพบเห็น... ปีศาจอัจฉริยะที่มีกงเล็บ ห้ามเข้าใกล้ Inspector Gadget 2 (2003) | And, look, it's signed "anonymous concerned citizen." | ดู มันเซ็นว่า "พลเมืองคนหนึ่งที่ห่วงใย" Inspector Gadget 2 (2003) | Well, it's good to know that we still have a concerned citizen who's willing to get involved. | ดีที่ได้รู้ว่าเรายังมีพลเมืองที่ห่วงใย... Inspector Gadget 2 (2003) | Pulsating with youthful energy, while at the same time exuding a passionate sense of civic pride. | และดูลื่นไหลไปกับพลังแห่งเยาว์วัย ในคราวเดียวกัน เหมือนกับความภาคภูมิใจในฐานะพลเมือง มันไหลซึมออกมาด้วยอารมณ์หลงไหล Hope Springs (2003) | The great problems of having corporate citizens is that they aren't like the rest of us. | ปัญหาใหญ่ของการมีบรรษัทเป็นพลเมือง (โรเบิร์ต มังคส์ ที่ปรึกษาด้านบรรษัทภิบาล) ก็คือบรรษัทไม่เหมือนพวกเรา The Corporation (2003) | There are those who intend that one day everything will be owned by somebody and we're not just talking goods here. | มีคนกลุ่มหนึ่งที่หมายมั่นปั้นมือว่าสักวันหนึ่ง (มอด บาร์โลว์ ประธานสภาพลเมืองแคนาดา) ทุกสิ่งทุกอย่างจะต้องมีใครคนใดคนหนึ่งเป็นเจ้าของ นี่ไม่ได้หมายความแค่ข้าวของสินค้า The Corporation (2003) | For them the Americas 800 million citizens speak with one voice. | พวกเขาคิดว่า ตนเองคือเสียงเดียวที่พูดแทน พลเมือง 800 ล้านคนของทวีปอเมริกา xxxx ยินดีที่ได้พบคุณ The Corporation (2003) | All citizens are urged to attend the meeting... that will be held in the high school gymnasium... | พลเมืองทั้งหมดอยู่ กระตุ้นให้เข้าร่วมประชุม ... ที่จะจัดขึ้น ในโรงยิมโรงเรียนมัธยม ... Dante's Peak (1997) | Implicating Umbrella Corporation in deaths of innocent citizens. | ทำให้บริษัทอัมเบลล่าเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง กับการตายของพลเมืองที่ไร้เดียงสา Resident Evil: Apocalypse (2004) | I am American citizen. | ฉันเป็นพลเมืองอเมริกัน Crash (2004) | Where's a pharmacy? | ผมบอกคุณแล้ว, รถไฟสำหรับ พลเมืองยังไม่เปิดใช้บริการ Tae Guk Gi: The Brotherhood of War (2004) | Listen to me, good people of Rwanda. Terrible news... | ฟังทางนี้ พลเมืองราวันดา ข่าวร้าย Hotel Rwanda (2004) | It's not me. I'm a brave citizen! | ผมไม่ได้เป็นขโมย ผมเป็นพลเมืองดีนะ! Windstruck (2004) | District 1 17, a citizen down at the factory behind Evening Star Park | เขต 117 มีพลเมืองถูกยิง ที่โรงงานด้านหลังสวนสาธารณะ อีเวนนิ่ง สตาร์ พาร์ค Windstruck (2004) | I did the good Samaritan thing, but I can't be responsible for this guy. | ฉันทำหน้าที่พลเมืองดีแล้ว \แต่ฉันไม่สามารถจะดูแลเค้าได้หรอก Crusade (2004) | I say we just gotta ask these bozos where the people are. | ฉันพูดว่า พวกเราแค่ถามโบโซสเหล่านี้ ถึงที่ของพลเมืองอยู่อาศัย Madagascar (2005) | Excuse me, we bozos have the people of course. | ขออภัย, พวกเราโบโซสมีพลเมืองอย่างแน่นอน Madagascar (2005) | - Hey, the bozos have the people! - Oh. | เฮ้ โบโซส มีพลเมืองด้วยเหรอ! Madagascar (2005) | - What do we got over here? - Another model citizen, I'm sure. | แล้วนั่นใครน่ะ ต้องเป็นพลเมืองตัวอย่างอีกคนแน่ Four Brothers (2005) | I appreciate your help very much. You've all been upstanding citizens. | ขอบคุณทุกคนที่ช่วยนะ พวกคุณเป็นพลเมืองที่แสนดีจริงๆ Four Brothers (2005) | Being a citizen there promises eternal peace, and the army with mysterious powers promises the victory for the final war. | มีพลเมืองที่ให้คำมั่นสัญญาว่าจะอยู่อย่างสันติตลอดกาล และมีกองทัพที่สาบานจะนำความรุ่งโรจน์มามอบให้ Fullmetal Alchemist the Movie: Conqueror of Shamballa (2005) | Fellow citizens, you're all aware of our town's proud history. | พลเมืองที่เป็นเพื่อนคุณทุกคนตระหนักถึง ประวัติศาสตร์ความภาคภูมิใจของเมืองของเรา Cars (2006) | Tradition even Leonidas cannot defy for he must respect the word of the ephors. | นั่นคือกฏหมาย และไม่มีสปาร์เทินใด ไพร่ฟ้าหรือพลเมือง 300 (2006) | Then what must a king do to save his world when the very laws he is sworn to protect force him to do nothing? | สิ่งใดพึงกระทำหรือ? นี่มิใช่คำถามต่อพลเมืองสปาร์เทิน มิใช่ต่อสามี มิใช่ต่อราชัน 300 (2006) | Into that narrow corridor we march where Xerxes' numbers count for nothing. | สปาร์เทิน พลเมืองผู้กล้า, ทาสที่เป็นไท กรีกผู้ห้าวหาญทั้งมวล 300 (2006) | I'm a taxpayer and I'm a citizen. | ผมเป็นพลเมืองรัฐที่เสียภาษี Alpha Dog (2006) | -Men are what, second-class citizens? | ผู้ชายเป็นอะไร? พลเมืองชั้น2เหรอ The Wicker Man (2006) | I am an American citizen, and I love my country. | ผมเป็นพลเมืองอเมริกัน และผมรักประเทศของผม Rescue Dawn (2006) | Be quiet. - ... but I am a U.S. citizen now. | เงียบ ๆ หน่อย แต่เป็นพลเมืองสหรัฐแล้วตอนนี้ Rescue Dawn (2006) | He's the only private citizen ever to build his own rocket orbit the Earth, and return safely. | เขาเป็นพลเมืองเพียงคนเดียว ที่สร้างจรวดของเขาขึ้นเอง... ...ไปโคจรรอบโลก แล้วกลับมาอย่างปลอดภัย The Astronaut Farmer (2006) | Somewhere where we can stop being cons and start being civilians. | ที่ไหนซักแห่ง ที่พวกราจะไม่ถูกหลอก แล้วก็เริ่มเป็นพลเมือง Manhunt (2006) | Listen to me-- you're both American citizens. | ฟังนะ นายสองคนเป็นพลเมืองอเมริกา The Sweet Taste of Liberty (2005) | Dot let him pull any Patriot Act voodoo. | อย่าให้พวกเขาใช้เรื่องพลเมืองดีอะไรนั่น The Sweet Taste of Liberty (2005) | If I'm a South Korean male, then of course I need to go. | ผมแค่ทำหน้าที่พลเมืองเกาหลีเท่านั้นล่ะครับ. Sassy Girl, Chun-hyang (2005) |
| การเพิ่มขึ้นของพลเมือง | [kān phoēmkheun khøng phonlameūang] (n, exp) EN: population growth | โครงการสร้างสำนึกพลเมือง | [Khrōngkān Sāng Samneuk Phonlameūang] (x) EN: Project Citizen | หน้าที่ของพลเมือง | [nāthī khøng phonlameūang] (n, exp) EN: civic duty | หน้าที่พลเมือง | [nāthī phonlameūang] (n, exp) EN: civic duty | พลเมือง | [phonlameūang] (n) EN: citizen ; inhabitant ; civilian ; dweller ; people ; population FR: citoyen [ m ] ; civil [ m ] ; population [ f ] | พลเมืองดี | [phonlameūang dī] (n, exp) EN: good citizen | พลเมืองโดยกำเนิด | [phonlameūang dōi kamnoēt] (n, exp) EN: natural-born citizen FR: citoyen de naissance [ m ] | สิทธิของพลเมือง | [sitthi khøng phonlameūang] (n, exp) EN: civil right | สิทธิพลเมือง | [sitthi phonlameūang] (n, exp) EN: civil rights |
| citizen | (n) ประชาชน, See also: พลเมือง, Syn. inhabitant, denizen, national | citizenry | (n) กลุ่มพลเมือง, Syn. population, inhabitants, people | citizenship | (n) ความเป็นพลเมือง | citizenship | (n) สิทธิในความเป็นพลเมือง | city | (n) พลเมืองทั้งหมด | civics | (n) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่ของพลเมือง | civil | (adj) ที่เกี่ยวกับพลเมือง | denaturalize | (vt) ทำให้ขาดสิทธิในการเป็นพลเมือง | depopulation | (n) การลดจำนวนประชากร, See also: การลดจำนวนพลเมือง, Syn. dispeoplement | Etruscan | (n) พลเมืองของอิทรูเรียโบราณ, See also: ประชาชนชาวอีทรูเรียโบราณ | nation | (n) คนในประเทศ, See also: พลเมือง, ประชาชน, Syn. nationality, Ant. alien, foreigner | naturalise | (vi) แปลงสัญชาติ, See also: โอนสัญชาติ, ให้สัญชาติ, ให้สิทธิการเป็นพลเมือง, Syn. citizenship, acclimate, accustom | naturalise | (vt) แปลงสัญชาติ, See also: โอนสัญชาติ, ให้สัญชาติ, ให้สิทธิการเป็นพลเมือง | naturalize | (vi) แปลงสัญชาติ, See also: โอนสัญชาติ, ให้สัญชาติ, ให้สิทธิการเป็นพลเมือง, Syn. citizenship, acclimate, accustom | naturalize | (vt) แปลงสัญชาติ, See also: โอนสัญชาติ, ให้สัญชาติ, ให้สิทธิการเป็นพลเมือง | parishioner | (n) พลเมืองที่อาศัยอยู่ในเขตศาสนา, Syn. layman, countryman, countrywoman | political | (adj) เกี่ยวกับพลเมือง | populace | (n) ประชาชน, See also: พลเมือง, Syn. masses, multitude, people, population | population | (n) ประชากร, See also: พลเมือง, ราษฎร, Syn. inhabitants, dwellers, citizenry, group | populous | (adj) ซึ่งมีพลเมืองหนาแน่น, See also: ซึ่งเต็มไปด้วยผู้คน, Syn. crowded, peopled, populated | subject | (n) ประชากร, See also: พลเมือง, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ภายใต้การปกครอง, Syn. citizen, national, subordinate |
| assamese | (แอสซะมีซ') adj., n. (pl. -mese) เกี่ยวกับรัฐอัสสัม (พลเมือง, ภาษาและอื่น ๆ) . -n. ชาวอัสสัม, ภาษาอัสสัม | bill of rights | n. พระราชบัญญัติลัทธิและเสรีภาพของพลเมือง | burgess | n. ประชากร, พลเมือง, ผู้อยู่อาศัย | citizen | (ซิท'ทิเซิน) n. พลเมือง, ชาวเมือง, ประชากร, See also: citizenly adj. | civic | (ซิฟ'วิค) adj. (เกี่ยวกับ) เมือง (นคร, กรุง) , เทศบาล, สัญชาติ, พลเรือน (พลเมือง, ประชากร) , ที่เป็นประโยชน์แก่เมือง | civics | (ซิฟ'วิคซฺ) n. วิชาหน้าที่พลเมือง | civil | (ซิฟ'เวิล) adj. เกี่ยวกับพลเรือน (พลเมือง, ประชากร) อย่างพลเมืองที่ดี, เกี่ยวกับคดีแพ่ง, มีอารยธรรม, มีมารยาท, ไม่เกี่ยวกับศาสนา | civil rights | n. สิทธิที่เท่ากันของพลเมือง, See also: civil-rights adj. ดูcivil rights | civism | (ซิฟ'วิสซีม) n. การเป็นพลเมืองที่ดี | cosmopolitan | (คอซมะพอล'ลิเทิน) adj. เกี่ยวกับโลกทั้งหมด, เกี่ยวกับสากลนิยม, ซึ่งมีอยู่ทั่วโลกหรือทุกหนทุกแห่ง, ซึ่งประกอบด้วยหลายชาติหลายภาษา, ซึ่งไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัด, เกี่ยวกับพลเมืองโลก n. ผู้ที่ไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัด, See also: cosmopo | demos | (ดี'มอส) n. ประชาชน, สามัญชน, พลเมือง | denizen | n. ผู้อาศัย, ผู้พำนัก, ชาวต่างด้าวที่ได้รับสิทธิบางอย่างของพลเมือง, สัตว์หรือพืชที่ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่, Syn. inhabitant, Ant. outsider | disfranchise | (ดิสแฟรน'ไชซ) ว vt. ถอนสิทธิ, ตัดสิทธิ, ถอนสิทธิพลเมือง, ถอนสิทธิการเลือกตั้ง, See also: disfranchisement n. ดูdisfranchise | incivism | (อิน' ซิวิซึม) n. ความไม่รักชาติ, ความบกพร่องในหน้าที่ของพลเมือง | infamous | (อิน'ฟะมัส) adj. ชื่อเหม็นที่สุด, เลวทราม, น่าเกลียดชัง, แย่มาก, ซึ่งสูญเสียสิทธิพลเมืองบางอย่าง, See also: infamousness n. infamous, Syn. heinous, wicked | inhabitance | (อินแฮบ'บิเทินซี, อินแฮบ'บิเทินซฺ) n. สถานที่อยู่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, การอยู่อาศัยinhabitant (อินแฮบ'บิเทินทฺ) n. ผู้อยู่อาศัย, สัตว์ที่อยู่อาศัย, ผู้อาศัย, พลเมือง., See also: inhabiter n., Syn. resident | inhabitancy | (อินแฮบ'บิเทินซี, อินแฮบ'บิเทินซฺ) n. สถานที่อยู่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, การอยู่อาศัยinhabitant (อินแฮบ'บิเทินทฺ) n. ผู้อยู่อาศัย, สัตว์ที่อยู่อาศัย, ผู้อาศัย, พลเมือง., See also: inhabiter n., Syn. resident | national | (แนช'เชินเนิล) adj. แห่งชาติ, ชาตินิยม, ทั่วทั้งชาติ. n. พลเมืองของชาติหนึ่ง. | paterfamilias n. | หัวหน้าครอบครัว (มักเป็นบิดา) , เจ้าบ้าน, หัวหน้าครอบครัวชาวโรมันคาทอลิก, พลเมืองชายที่อิสระ, See also: paterfamiliar adj. | people | (พี'เพิล) n. คน, ประชาชน, ประชากร, พลเมือง, ราษฎร, มนุษย์., Syn. population, folk, human, humanity | per capita | (เพอแคพ'พิทะ) n. ต่อคน, ต่อพลเมือง1คน | population | (พอพพิวเล'เชิน) n. ประชากร, พลเมือง, จำนวนประชากร, กลุ่มพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณหนึ่ง, การนำผู้คนเข้าไปตั้งรกราก, จำนวนทั้งหมด., Syn. inhabitants | proscribe | (โพรสไครบ') vt. ประณาม, ห้าม, เนรเทศ, ไล่ออกไป, เพิกถอนสิทธิการเป็นพลเมือง., See also: proscriber n. denounce, condemn | proscription | (โพรสคริพ'เชิน) n. การประณาม, การห้าม, การเนรเทศ, การไล่ออกไป, การเพิกถอนสิทธิการเป็นพลเมือง., See also: proscriptive adj. | rights | (ไรทซฺ) n. สิทธิ, สิทธิโดยชอบธรรม, สิทธิของพลเมือง adj. มีสิทธิ, มีสิทธิโดยชอบธรรมของพลเมือง, Syn. civil rights | unpeople | (อันพี'เพิล) vt. เอาคนออก, ปลดคนออก, ย้ายคนออก, กำจัดพลเมือง |
| burgher | (n) ชาวเมือง, พลเมือง, ประชาชน | citizen | (n) ประชากร, ชาวเมือง, พลเมือง, ประชาชน, คนในบังคับ | citizenship | (n) การเป็นพลเมือง, สิทธิของประชากร, สัญชาติ | civic | (adj) เกี่ยวกับพลเมือง, เกี่ยวกับเมือง, ของจังหวัด, ของเทศบาล | civics | (n) วิชาหน้าที่พลเมือง | civil | (adj) เกี่ยวกับพลเมือง, ในฐานะพลเมือง, ของพลเมือง, สุภาพ | civility | (n) ความเป็นพลเมืองดี, ความสุภาพ, ความมีมารยาท, ความมีอัธยาศัยไมตรี | cosmopolitan | (n) พลเมืองโลก, ความเป็นสากล | denizen | (n) พลเมือง, ผู้พักพิง, ผู้อยู่อาศัย, ผู้พำนัก | folk | (n) ผู้คน, พ่อบ้าน, พลเมือง, ประชาชน | inhabitant | (n) ประชากร, พลเมือง, ชาวบ้าน, ผู้อาศัย | national | (n) ประชาชาติ, ประชาชน, พลเมือง | people | (n) ประชาชน, ราษฎร, ครอบครัว, พลเมือง, พสกนิกร, คน | populace | (n) ประชาชน, พลเมือง, ประชากร, ราษฎร, พสกนิกร | population | (n) พลเมือง, ประชากร, ประชาชน, จำนวนประชากร | populous | (adj) มีประชากรหนาแน่น, มีพลเมืองมาก, เต็มไปด้วยผู้คน |
| | Bürger | (n) |der, pl. Bürger| พลเมือง, See also: die Bürgerin | Staatsbürger | (n) |der, pl. Staatsbürger| พลเมือง, ประชาชน เช่น Seit kurzem bietet auch die Lufthansa sehr attraktive Ethnik Spezial Tarife für thailändische Staatsbürger mit ihren Ehepartnern und Kindern an., See also: die Staatsbürgerin |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |