Genes | ยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gene expression | การแสดงออกของยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Molecular cloning | การโคลนยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gene flow | การถ่ายเทของยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Horizontal Gene Transfer | HGT, การถ่ายทอดยีนในแนวราบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gene amplification | การเพิ่มจำนวนยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
p53 antioncogene | พี 53 (ยีนต้านมะเร็ง) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Antioncogene | ยีนต้านมะเร็ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Globin genes | โกลบินยีน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gene | ยีน, Example: <p>เนื่องจากการทำงานของเซลล์สิ่งมีชีวิตอาศัยการทำงานของโปรตีนมากมายหลายชนิด ดังนั้นดีเอ็นเอจึงประกอบด้วยรหัสสำหรับการสร้างโปรตีนจำนวนมาก รหัสหนึ่งชุดของดีเอ็นเอสำหรับการสร้างโปรตีนแต่ละชนิดเรียกว่า ยีน ในกระบวนการสร้างโปรตีนเริ่มต้นด้วยยีนถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) เรียกกระบวนการนี้ว่า transcription หลังจากนั้นรหัสของ mRNA แปลเป็นกรดอะมิโนเรียกกระบวนการนี้ว่า translation เมื่อกรดอะมิโนที่ได้มาต่อกันจะกลายเป็นโปรตีนตามชนิดที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. "ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต" ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mutation rate | อัตราการกลายพันธุ์, จำนวนการกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นต่อยีนต่อหน่วยเวลา [นิวเคลียร์] |
International Atomic Energy Agency | ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, ไอเออีเอ, หน่วยงานสากลด้านความร่วมมือทางนิวเคลียร์ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 ภายใต้องค์การสหประชาชาติ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสันติภาพของโลก ป้องกันการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ให้ความช่วยเหลือด้านการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติเพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงของมนุษยชาติ [นิวเคลียร์] |
Gene amplication | การเพิ่มปริมาณยีน [TU Subject Heading] |
Gene frequency | ความถี่ของยีน [TU Subject Heading] |
Gene therapy | การรักษาในระดับยีน [TU Subject Heading] |
Genes | ยีน [TU Subject Heading] |
Genes, MHC Class 1 | ยีนเอ็มเอสซี คลาส 1 [TU Subject Heading] |
Genes, Wilms tumor | ยีนเนื้องอกวิล์ม [TU Subject Heading] |
Genetic transformation | การถ่ายยีน [TU Subject Heading] |
Jeans (Clothing) | ยีนส์ (เสื้อผ้า) [TU Subject Heading] |
Plant genetic transformation | การถ่ายยีนพืช [TU Subject Heading] |
nuclear non-proliferation | การไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ หมายถึง การไม่ส่งมอบอาวุธและเทคโนโลยีนิวเคลียร์แก่ประเทศที่ไม่มีอาวุธนิวเคลียร์ และการไม่รับหรือแสวงหาอาวุธหรือเทคโนโลยีนิวเคลียร์จากประเทศที่มีอาวุธ นิวเคลียร์ [การทูต] |
Clone | โคลน , วิธีการหรือกระบวนการที่ใช้สร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์ ซึ่งอาจจะเป็นดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิตก็ได้ นอกจากนี้ยังอาจหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นมาจากกระบวนการดังกล่าวได้อีกด้วย คำว่า โคลน มีที่มาจากคำในภาษากรีกที่แปลง่า กิ่งก้าน [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Cloning | โคลนนิ่ง, โคลนนิ่ง กระบวนการสร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์กับสิ่งที่มีอยู่ก่อน ไม่ว่าจะเป็น ดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต การสร้างชุดของดีเอ็นเอที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งดีเอ็นเอ (DNA Cloning) หรือ การโคลนนิ่งโมเลกุล (Molecular Cloning) การสร้างเซลล์ที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งเซลล์ (Cell Cloning) เป็นต้น, Example: ปัจจุบันมีผู้จำแนกคำว่า โคลนนิ่ง ออกเป็นสองแบบ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของเป้าหมายการทำโคลนนิ่งคือ การโคลนนิ่งเพื่อการรักษา (Therapeutic Cloning) และการโคลนนิ่งเพื่อการสืบพันธุ์ (Reproductive Cloning) โดยการโคลนนิ่งแบบแรกต่างจากการโคลนนิ่งในแบบหลังคือ จะไม่มีการพัฒนาของสิ่งที่ได้จากกระบวน จนเป็นตัวสัตว์ที่สมบูรณ์ แต่จะเป็นการโคลนเพื่อให้เกิดเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่มีประโยชน์ใช้ในการรักษาโรคได้ [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Gene | ยีน, ส่วนของดีเอ็นเอทำหน้าที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ผ่านการสร้างโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างและกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ลักษณะที่ปรากฏภายนอกแบบต่างๆ เช่น รูปร่างหน้าตาของเด็กที่มีส่วนคล้ายกับพ่อแม่ สีสันของดอกไม้ หรือรสชาติของผลไม้ รวมไปถึงลักษณะภายในบางอย่างที่ไม่อาจสังเกตเห็นได้ด้วยตา เป็นผลโดยตรงหรือผลบางส่วน (ร่วมกับสิ่งแวดล้อม) จากการทำงานของยีน [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Gene pharming | ยีนฟาร์มมิ่ง, Example: ภายหลังจากใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมทำให้แบคทีเรียผลิตอินซูลินของคน แล้วนำไปรักษาโรคเบาหวานสำเร็จ ซึ่งสามารถทดแทนการรักษาแบบเดิมที่ใช้อินซูลินที่ได้จากการสกัดจากตับอ่อนของหมูหรือแกะซึ่งยุ่งยากและราคาแพง ตั้งแต่นั้นมาการผลิตยาที่เป็นโปรตีนเริ่มเปลี่ยนมาใช้วิธีทางพันธุวิศวกรรมมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากใช้แบคทีเรียยังมีการใช้สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น วัว หนู แกะ ไก่ หมู เป็นฟาร์มในการผลิตยาเรียกวิธีการนี้ว่า gene pharming โดยการตัดต่อยีนสำหรับยาใส่เข้าไปในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย และชัยรัตน์ อุทัยพิบูลย์. “การประยุกต์ใช้ความรู้หลังการค้นพบดีเอ็นเอ” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 39-60. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Amorph | ยีนแฝง [การแพทย์] |
Chromosome Rearrangement | การสับเปลี่ยนตำแหน่งของยีน [การแพทย์] |
Chromosomes, Single | ส่วนที่เป็นยีนส์มีอันเดียว [การแพทย์] |
Conjugation | การจับคู่ถ่ายยีน [การแพทย์] |
Deletion | การขาดหาย, วิธีตัดส่วนยีนส์ที่ไม่ต้องการออก, การขาดหายไป [การแพทย์] |
DNA Sequence, Intergenic | เนื้อดีเอ็นเอที่ไม่ได้เป็นยีน [การแพทย์] |
DNA, Recombinant | ดีเอ็นเอสายผสม, การรวมทางพันธุศาสตร์, ดีเอ็นเอลูกผสม, ยีนที่ถ่ายทอด, ดีเอ็นเอสายผสม [การแพทย์] |
Dominant, Autosomal | ยีนแบบเด่นออโตโสมัล [การแพทย์] |
Epistasis | ยีนข่มข้ามคู่ [การแพทย์] |
Expressivity | การแสดงออกของยีน, การแสดงออกของโรค, การแสดงออก [การแพทย์] |
Eye Gene | อัยยีน [การแพทย์] |
Gene cloning | Gene cloning, การทำสำเนายีนให้มีประมาณเพิ่มขึ้น การโคลนนิ่งชนิดนี้ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวิจัยเกี่ยวกับสเต็มเซลล์ ที่ได้จากตัวอ่อน (embryonic stem cell research:ESCR) ไม่ใช่การทำโคลนนิ่งตัวอ่อนทั้งตัว เพียงแต่อาจเป็นการสอดใส่ยืนที่ต้องการเข้าไปในตัวอ่อนหรือสเต็มเซลล์ [ชีวจริยธรรม] |
genetic research | genetic research, หมายถึงการวิเคราะห์ (analysis) ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ โครโมโซม โปรตีน และสารชีวเคมี เพื่อที่จะวินิจฉัยยีนหรือสารพันธุกรรมที่ถ่ายทอดได้ ลักษณะการกลายพันธุ์ ลักษณะที่เป็นผลของยืน (phenotypes) หรือลักษณะของโครโมโซม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความชุก อัตราการแสดงออก [ชีวจริยธรรม] |
genotype | จีโนไทป์, แบบของยีนหรือชุดของ คู่ยีน ซึ่งควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
phenotype | ฟีโนไทป์, ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏให้เห็นโดยการควบคุมของยีน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
multiple allele | มัลติเปิลแอลลีล, ยีนที่มีมากกว่า 2 ยีน ที่แสดงลักษณะเดียวกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mutation | การกลาย, มิวเทชัน, การเปลี่ยนแปลงของยีนซึ่งเป็นผลให้จีโนไทป์แตกต่างไปจากที่เคยเป็นอยู่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gene | ยีน, สารประกอบพวก DNA ที่ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
linked gene | ลิงค์ยีน, กลุ่มยีนที่อยู่ในโครโมโซมเดียวกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sex-linked gene | ยีนที่เกี่ยวข้องกับเพศ, ยีนที่เกี่ยวข้องกับเพศ ยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
recessive | ลักษณะด้อย, ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแสดงออกมาได้ เมื่อยีนที่ควบคุมลักษณะนั้นเป็นยีนเฮเทอโรไซกัส แต่ถ้าเป็นยีนฮอมอไซกัสก็จะแสดงลักษณะนั้นออกมาได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
dominant | ลักษณะเด่น, ลักษณะทางพันธุกรรมที่แสดงออกมาได้แม้ยีนที่ควบคุมลักษณะนั้น จะเป็นยีนเฮเทอโรไซกัส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
heterozygous gene | เฮเทอโรไซกัสยีน, ยีนคู่ใดคู่หนึ่งที่มียีนที่แสดงลักษณะเด่นกับยีนที่แสดงลักษณะด้อยอยู่ด้วยกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
homozygous gene | ฮอมอไซกัสยีน, ยีนคู่ใดคู่หนึ่งที่มียีนที่แสดงลักษณะเด่นอยู่ด้วยกัน หรือยีนที่แสดงลักษณะด้อยอยู่ด้วยกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |