ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ระกา, -ระกา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ 新正如意 新年发财 | [xīn zhèng rú yì xīn nián fā cái, ㄒㄧㄣ ㄓㄥˋ ㄖㄨˊ ㄧˋ ㄒㄧㄣ ㄋㄧㄢˊ ㄈㄚ ㄘㄞˊ, 新 正 如 意 新 年 发 财] (phrase) คำอวยพรสวัสดีปีใหม่ของชาวจีนในวันตรุษจีน ความหมายคือ ขอให้ปีใหม่นี้สมหวังทุกประการ และร่ำรวยมั่งคั่ง คนไทยมักอ่านว่า ซินเจียยู่อี่ซินนี้ฮวดใช้ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากสำเนียงแต้จิ๋ว |
|
| trade terms | [เทรด เทอมส] (n) "ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า | สลินดา | [สะ-ลิน-ดา] น้ำบริสุทธิ์, หญิงผู้เป็นดั่งน้ำบริสุทธิ์, ความงดงามบริสุทธิ์ที่เปร่งประกาย, หญิงผู้ดีมีสกุลที่งดงามมีเสน่ห์ |
| | 发布 | [fā bù, ㄈㄚ ㄅㄨˋ, 发 布] ประกาศ(คำสั่ง); แถลง(ข่าว) | 宣布 | [xuān bù, ㄒㄩㄢ ㄅㄨˋ, 宣 布] ประกาศ; แถลงให้ทราบ |
| ระกา | (n) year of the chicken, See also: the 10th year of the Thai animal cycle represented by a cock, year of the cock, Thai Definition: ชื่อปีที่ 10 ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย | ตระการ | (adv) strangely, See also: queerly, Syn. ประหลาด, แปลก, น่าอัศจรรย์, Example: นกบางชนิดมีวิธีการทำรังอย่างตระการพิสดารเหลือเชื่อ, Thai Definition: อย่างที่มีความแตกต่างไปจากที่เคยรู้เคยเห็น | ตระการ | (adv) beautifully, See also: gracefully, Syn. งาม, วิจิตร, งดงาม, Example: ช่างแกะสลักบานประตูได้ตระการงดงามมาก, Thai Definition: อย่างงดงาม, อย่างชวนให้ยินดีหรือพอใจ | ประกาย | (n) spark, See also: flash, sparkle, shine, Syn. ความสุกใส, ความสว่างไสว, ความแวววาว, Example: นัยน์ตาเขาเป็นประกายวับ, Thai Definition: แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากวัตถุที่ลุกเป็นไฟ แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากของแข็งบางอย่างที่กระทบกันอย่างแรง โดยปริยายหมายถึงแสงที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น | ประการ | (clas) numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects, Syn. ชนิด, อย่าง, Example: ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ | ประการ | (clas) numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects, Syn. ชนิด, อย่าง, Example: ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ | ประกาศ | (n) notice, See also: notification, announcement, declaration, proclamation, Syn. ข้อมูล, ข่าวสาร, ข่าว, Example: รัฐบาลปิดประกาศให้ประชาชนไปเสียภาษี, Thai Definition: ข้อความที่แจ้งให้ทราบทั่วกัน | ประกาศ | (v) announce, See also: proclaim, declare, promulgate, publish, state, Syn. แจ้ง, ป่าวร้อง, แจ้งให้ทราบ, ประชาสัมพันธ์, เผยแพร่, บอกกล่าว, พูด, แถลง, Example: รัฐบาลประกาศว่าจะเปิดสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนาม | ปีระกา | (n) year of the cock, Syn. ปีไก่, Example: ไก่เป็นสัญลักษณ์ของปีระกา, Thai Definition: ชื่อปีที่ 10 ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย | ใบระกา | (n) toothlike ridges on the sloping edges of a gable, representing the fin on the back of Naga, Example: ทุกสิ่งทุกอย่างในวัดเงียบสนิทจนได้ยินแต่เสียงใบไม้ไหวลม กับเสียงกรุ๋งกริ๋งของใบระกา, Count Unit: ใบ, Thai Definition: ไม้สลักหรือปูนปั้นรูปเป็นครีบๆ หรือลวดลายต่างๆ ติดกับตัวลำยองระหว่างช่อฟ้ากับหางหงส์ ประกอบ 2 ข้างหน้าบันโบสถ์ วิหาร และปราสาท | คำประกาศ | (n) announcement, See also: declaration, proclamation, manifesto, Example: ข้าพเจ้าอ่านคำประกาศกล่าวสดุดีหน่วยต่างๆ ที่ทำการรบในศึกคราวนี้, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: เนื้อความที่บอกให้รู้ทั่วกัน | ตระการตา | (adv) dazzlingly, See also: showily, gorgeously, Syn. งดงาม, หรูหรา, เลิศ, หรู, Example: หนุ่มสาวชาวเหนือแต่งตัวตามวัฒนธรรมดั้งเดิมมาเข้าขบวนลากปราสาทกันอย่างวิจิตรตระการตาจริงๆ, Thai Definition: อย่างสวยงามหรูหรา | ตระการตา | (v) charm, See also: enchant, fascinate, Syn. ตื่นตา, มีเสน่ห์, ชวนชม, Example: เรือนหลังนี้ตระการตา ดึงดูดผู้ที่พบเห็นเป็นยิ่งนัก, Thai Definition: มีลักษณะงดงามชวนให้ตื่นตาตื่นใจเมื่อได้พบเห็น | ประกายไฟ | (n) spark, See also: sparkle, flash, Syn. ประกาย, แสง, สะเก็ดไฟ, แสงแวบ, แสงแปลบปลาบ, Example: ประกายไฟที่หัวเทียนอ่อนมาก | ประการใด | (n) what, See also: whatever, whatsoever, how, however, Syn. ทำนอง, แบบ, อย่างไร, Example: ปัญหานี้จะแก้ไขประการใด | ประกาศิต | (n) command, See also: order, commandment, Syn. คำสั่งเด็ดขาด, คำพูดที่ศักดิ์สิทธิ์, Example: เขาขัดขืนประกาศิตพระผู้เป็นเจ้า | ใบประกาศ | (n) poster, See also: handbill, notice, circular, Example: ใบประกาศรับสมัครงานติดอยู่หน้าบริษัท | ใบประกาศ | (n) poster, See also: handbill, notice, circular, Example: ใบประกาศรับสมัครงานติดอยู่หน้าบริษัท | ใบประกาศ | (n) poster, See also: handbill, notice, circular, Example: ใบประกาศรับสมัครงานติดอยู่หน้าบริษัท | จุดประกาย | (v) spark, See also: inspire, provoke, stimulate, trigger (off), precipitate, Example: ครูเป็นคนจุดประกายให้เขาทำตามฝันที่เขาตั้งใจไว้, Thai Definition: ทำให้เกิดความหวังหรือความคิดที่เริ่มจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง | ติดประกาศ | (v) post a notice, Example: ทางมหาวิทยาลัยจะติดประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการทดสอบในวันพรุ่งนี้, Thai Definition: ติดป้ายบอกเรื่องราวให้ทราบทั่วกัน | ที่ประกาศ | (n) board, See also: notice board, billboard, signboard, display panel, poster board, display panel, poster boa, Syn. ป้ายประกาศ | บางประการ | (n) some aspects, See also: some measures, Ant. ทุกประการ, Example: องค์กรแรงงานได้รับสิทธิสามารถดำเนินมาตรการบางประการเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกรรมกรได้ | ประกาศตัว | (v) declare oneself, See also: announce, proclaim, Example: กลุ่มผู้ประท้วงได้พยายามเคลื่อนไหวที่จะประกาศตัวจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นเพื่อต่อต้านรัฐบาล | ประกาศรับ | (v) announce one is accepting application, See also: announce accepting application, Syn. รับสมัคร, ประกาศรับสมัคร, Example: หากบริษัทเรามีตำแหน่งว่าง เราจะประกาศรับทันที, Thai Definition: แจ้งให้ทราบถึงการรับสมัคร | ประกาศใช้ | (v) promulgate, See also: declare, proclaim, Example: รัฐบาลประกาศใช้กฎหมายในราชกิจจานุเบกษา | ปิดประกาศ | (v) post a notice, See also: put up an announcement, placard, Example: ผู้ใช้บริการทุกคนสามารถส่งบทความมาปิดประกาศบนบอร์ดไฟฟ้านี้ได้, Thai Definition: นำแผ่นป้ายประกาศมาติดไว้เพื่อแจ้งให้ผู้คนทราบ | ผู้ประกาศ | (n) announcer, See also: broadcaster, reporter, newsreader, Syn. ผู้ดำเนินรายการ, Example: ฤดีมาสสอบเป็นผู้ประกาศเมื่อหลายปีก่อน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้อ่านข่าวทางโทรทัศน์หรือวิทยุ | ส่งประกาย | (v) twinkle, See also: glitter, sparkle, shimmer, shine, glisten, gleam, glint, flicker, Syn. เปล่งประกาย, ฉายประกาย, Example: ดวงดาวส่งประกายระยิบระยับ | ส่งประกาย | (v) shine, See also: foreshadow, indicate a future probability, promise, augur, be token, Syn. เปล่งประกาย, ทอประกาย, ฉายแวว, Example: ความสามารถทางด้านดนตรีของเขาส่งประกายตั้งแต่เขายังเด็ก | ส่งประกาย | (v) shine, See also: foreshow, indicate a future probability, promise, augur, Syn. เปล่งประกาย, ทอประกาย, ฉายแวว, Example: ความสามารถทางด้านดนตรีของเขาส่งประกายตั้งแต่เขายังเด็ก | อัญประกาศ | (n) quotation marks, See also: double quotation marks, Syn. เครื่องหมายคำพูด, Thai Definition: เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความ เพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็นคำพูด หรือเพื่อเน้นความนั้นให้เด่นชัดขึ้นเป็นต้น | อัญประกาศ | (n) quotation mark, Syn. เครื่องหมายคำพูด, Example: ประโยคนี้ต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศ, Count Unit: ตัว, คู่, Thai Definition: เครื่องหมายวรรคตอน สำหรับขีดคร่อมคำหรือข้อความเพื่อแสดงว่าเป็นคำพูด | นานาประการ | (adj) various, See also: diversified, varied, different, numerous, many, Syn. นานัปการ, มากมาย, หลากหลาย, Ant. เล็กน้อย, นิดหน่อย, น้อย, Example: การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วย่อมก่อให้เกิดปัญหานานาประการตามมา, Thai Definition: ที่มีมากมายหลายอย่าง | ประกายพรึก | (n) morning star, See also: Venus, Syn. ดาวรุ่ง, ดาวพระะศุกร์, ดาวประจำเมือง, Example: ตอนใกล้รุ่งจะมองเห็นดาวประกายพรึกส่องแสงบนท้องฟ้า, Count Unit: ดวง, Thai Definition: ดาวรุ่ง คือ ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด, ถ้าเห็นในเวลาหัวค่ำ เรียกว่า ดาวประจำเมือง | ป่าวประกาศ | (v) announce, See also: publicize, broadcast, proclaim, Syn. ประกาศ, ป่าว, Example: เรามีข้อมูลที่ค่อนข้างจะแจ้งว่าชัยชนะครั้งแรกที่พันธมิตรป่าวประกาศไปทั่วโลกนั้นห่างไกลจากความถูกต้อง, Thai Definition: บอกให้รู้ทั่วกัน | ป้ายประกาศ | (n) sign board, See also: notice board, Example: ผมจะเป็นคนแรกที่เขียนป้ายประกาศให้นักศึกษารู้ว่าอาจารย์คนไหนไม่ควรเข้าเรียน, Count Unit: ป้าย, แผ่น, Thai Definition: แผ่นหนังสือมีแจ้งความไว้ให้คนดู | หมายประกาศ | (n) notice, See also: announcement, notification, Syn. ประกาศ, Example: พระองค์โปรดให้มีหมายประกาศ ห้ามมิให้ฆ่าสัตว์ในเวลาเฉลิมพระชนมพรรษา, Count Unit: ฉบับ | เป็นประกาย | (v) sparkle, See also: flash, twinkle, shimmer, glisten, Syn. แวววาว, สุกใส, สว่าง, มันเงา, Ant. มัว, หม่น, หมอง, Example: ดวงตาของดาวพระศุกร์เป็นประกายด้วยความยินดี | ประกายไฟฟ้า | (n) spark, Example: ประกายไฟฟ้าของฟ้าแลบสามารถทำให้อากาศในบริเวณนั้นร้อนขึ้นมาก | ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย | ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย | ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย | เปล่งประกาย | (v) radiate, See also: shine, glisten, glister, flash, gleam, sparkle, twinkle, Syn. ฉายแสง, ขับแสง, แผ่รัศมี, เปล่งรัศมี, ส่งประกาย, ส่องแสง, Ant. หมอง, Example: ขนรอบคอของนกน้อยเปล่งประกายวาม, Thai Definition: สะท้อนแสงจากสิ่งที่เป็นมันเป็นเงา | เสียงประกาศ | (n) announcement, Example: งานวัดเลิกลาไปพร้อมกับเสียงประกาศชื่อผู้ใจบุญรายสุดท้ายทางไมโครโฟน, Thai Definition: เสียงป่าวร้องเพื่อแจ้งให้ทราบ | แต่ประการใด | (adv) at all, See also: in any way, whatsoever, Syn. แต่อย่างใด, Example: เธอไม่โต้ตอบแต่ประการใด | ใบปิดประกาศ | (n) poster, Syn. โปสเตอร์, Example: ทั้ง 2 พรรคการเมืองหาเสียงร่วมกันโดยมีการทำใบปิดประกาศโฆษณาร่วมกัน, Count Unit: แผ่น, ใบ | ประกาศสงคราม | (v) declare war, Syn. ทำสงคราม, Example: อังกฤษประกาศสงครามกับเยอรมนี | ประกาศนียบัตร | (n) certificate, See also: diploma, testimonial, Syn. ใบสุทธิ, วุฒิบัตร, ใบรับรอง, Example: เขาเรียนจบระดับปวส. โดยมีประกาศนียบัตรรับรองความรู้, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปกติต่ำกว่าระดับอุดมศึกษา | ประกาศอิสรภาพ | (v) declare independence, Syn. ปลดปล่อย, Example: วันนี้เป็นวันที่ประเทศอเมริกาประกาศอิสรภาพจากประเทศอังกฤษ |
| กิตติกรรมประกาศ | น. ข้อความที่กล่าวถึงผลงานและแสดงความขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ มักเขียนไว้ตอนต้นของวิทยานิพนธ์. | จำห้าประการ | ว. มีเครื่องจองจำครบ ๕ อย่าง คือ ๑. ตรวนใส่เท้า ๒. เท้าติดขื่อไม้ ๓. โซ่ล่ามคอ ๔. คาไม้ใส่คอทับโซ่ ๕. มือ ๒ ข้างสอดเข้าไปในคาและไปติดกับขื่อทำด้วยไม้, เรียกสั้น ๆ ว่า จำครบ. | ดาวประกายพรึก | น. ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด, ดาวรุ่ง ก็เรียก. | ตระการ | (ตฺระ-) ว. งาม เช่น ป่าดงพงหลวงตระการ เซราะเซราเขาธาร ชรลัดชรล่องดองไพร (อนิรุทธ์), น้ำพุพุ่งซ่า ไหลฉ่าฉาดฉาน เห็นตระการ (สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย เพลงเถา) | ตระการ | ประหลาด, แปลก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพู ตรูรัตนพิสาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร), เสียงแตรสังขแลพาทยเภริยนุดนตรี อึงเองบพักตี ตระการ (อนิรุทธ์) | ตระการ | หลากหลาย, มีต่าง ๆ. | นานาประการ | ว. มีหลายอย่าง, นานัปการ ก็ว่า. | ใบระกา | น. ชื่อตัวไม้หรือปูนปั้นทำเป็นครีบ หรือลวดลายต่าง ๆ ติดกับตัวลำยองระหว่างช่อฟ้ากับหางหงส์ ประกอบ ๒ ข้างหน้าบันโบสถ์ วิหาร และปราสาท เป็นต้น. | ประกาย | น. แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากวัตถุที่ลุกเป็นไฟ เช่น ประกายลูกไฟ, แสงที่เห็นกระเด็นกระจายออกจากของแข็งบางอย่างที่กระทบกันอย่างแรง เช่น ดาบกระทบกันเป็นประกาย ตีเหล็กไฟเป็นประกาย, ความแวววาวที่เหลี่ยมเพชรเป็นต้นกระทบแสง, แสงแปลบปลาบอย่างแสงฟ้าแลบ, โดยปริยายหมายถึง แสงที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตาเป็นประกาย, แสงสะท้อนจากสิ่งที่เป็นมันเป็นเงา เช่น ประกายแสงจากกระเบื้องหลังคาโบสถ์. | ประกายพรึก | (ปฺระกายพฺรึก) น. ชื่อดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด เรียกว่า ดาวประกายพรึก, ดาวรุ่ง ก็เรียก, ถ้าเห็นในเวลาหัวคํ่า เรียกว่า ดาวประจำเมือง. | ประการ | น. อย่าง เช่น จะทำประการไร, ชนิด เช่น หลายประการ | ประการ | ทำนอง, แบบ, เช่น ด้วยประการฉะนี้. | ประกาศ | ก. ป่าวร้อง, แจ้งให้ทราบ, เช่น ประกาศงานบุญงานกุศล. | ประกาศ | น. ข้อความที่แจ้งให้ทราบทั่วกัน เช่น ประกาศของวัด ประกาศของบริษัท | ประกาศ | ข้อความที่ทางราชการแจ้งให้ประชาชนทราบหรือวางแนวทางให้ปฏิบัติ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศกระทรวง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี. | ประกาศก | (-กาสก) น. ผู้ประกาศ. | ประกาศนียบัตร | (-กาสะนียะบัด, ปฺระกาดสะนียะบัด) น. เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปรกติตํ่ากว่าระดับอุดมศึกษา. | ประกาศิต | น. คำสั่งเด็ดขาด, คำพูดที่ศักดิ์สิทธิ์. | ปะตาระกาหลา | (-หฺลา) น. เทวดาผู้ใหญ่. | ป่าวประกาศ | ก. ประกาศให้รู้ทั่วกัน. | ระกา | น. ชื่อปีที่ ๑๐ ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย. | วิจิตรตระการตา | (-จิดตฺระ-) ว. งามน่าตื่นตา เช่น ขบวนแห่รถบุปผชาติประดับประดาได้วิจิตรตระการตา. | วิปการ, วิประการ | (วิปะกาน, วิปฺระกาน) ก. ผิดฐานะ, ไม่เหมาะสม. | สัญประกาศ | (สันยะปฺระกาด) น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ – ใช้ขีดไว้ใต้คำหรือข้อความที่สำคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่านสังเกตเป็นพิเศษ, ขีดเส้นใต้ ก็เรียก. | อัญประกาศ | (อันยะ-) น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ “ ” สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความ เพื่อแสดงว่าข้อความนั้นเป็นคำพูด หรือเพื่อเน้นความนั้นให้เด่นชัดขึ้นเป็นต้น. | อัญประกาศเดี่ยว | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ‘ ’ สำหรับเขียนคร่อมคำหรือข้อความที่ซ้อนอยู่ภายในข้อความที่มีเครื่องหมายอัญประกาศอยู่แล้ว. | กฎ | (กด) น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ (พงศ. ๑๑๓๖) | กฎ | ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง | กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. | กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). | กตเวทิตา | (กะตะ-) น. ความเป็นผู้ประกาศคุณท่าน, ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญุตา. | กตเวที | (กะตะ-) ว. ซึ่งประกาศคุณท่าน, ซึ่งสนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญู. [ ป. กต ว่า อันเขาทำแล้ว + เวที ว่า ซึ่งรู้, ซึ่งประกาศให้รู้ ]. | กรรมฐาน | (กำมะถาน) น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. | กรรมวาจา | (กำมะ-) น. คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์. | กระจองงอง, กระจองงอง ๆ | ว. เสียงร้องเช่นนั้นพร้อมตีฆ้องป่าวประกาศว่า กระจองงอง ๆ เจ้าข้าเอ๊ย. | กระทู้ ๑ | หลัก เช่น ช้างพังพลายเป็นสัตว์มีคุณแล้วก็เป็นกระทู้ราชการสำหรับแผ่นดินสืบมา (ท้องตราโบราณ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๗), ประการหนึ่งปืนเป็นกระทู้การสงคราม (เรื่องตั้งเจ้าพระยานครศรีธรรมราชครั้งกรุงธนบุรี ประชุมพงศ. ๒). | กระลอก | (-หฺลอก) ว. มีประกาย, เป็นประกาย, เช่น เนมินท์พิศทรงเหมือนกงรถ จอมบรรพตเลิศล้วนมณีผา กระลอกรุ่งพุ่งพรายถึงเมฆา เล่ห์วลาหกทิพอันพรอยพรำ (สมบัติอมรินทร์), ใช้เข้าคู่กับคำ กระลับ หรือ กระลาย เป็น กระลับกระลอก หรือ กระลายกระลอก. | กริยาวิเศษณ์วลี | น. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี. | กว่าชิ่น, กว่าชื่น | ว. ไปทั้งสิ้น, ยิ่งนัก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพูตรูรัตนพิศาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร). | กษัยน้ำ | น. กษัยเนื่องจากเลือด นํ้าเหลือง หรือเสมหะเป็นพิษ ถ้ารวมทั้ง ๓ ประการ เรียกว่า กษัยเลือด. | ก้อง ๒ | ก. อ่อนน้อมเจริญพระราชไมตรี เช่น พระเจ้ากรุงไทยแต่งขุนนางไปก้องกรุงปักกิ่ง (ประกาศ ร. ๔). | กามคุณ | น. สิ่งที่น่าปรารถนา มี ๕ ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส | การยุบสภา | น.อำนาจของฝ่ายบริหารในการประกาศให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ การยุบสภาต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา. | กาสะ | ก. ไอ, ใช้ว่า ทรงพระกาสะ, ใช้ว่า ทรงพระกรรสะ ก็มี. | กุกกุฏ- | (-กุตะ-) น. ไก่, ไก่ป่า, เช่น กุกกุฏสังวัจฉร หมายความว่า ปีระกา. | เกล็ดถี่ | น ชื่อปลาน้ำจืดขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Thynnichthys thynnoides (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae ปากเล็กอยู่ปลายสุดของหัว ไม่มีหนวด ลำตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดเล็กมาก พื้นลำตัวสีเงินเป็นประกาย พบทั่วไป แต่มีชุกชุมในเขตภาคกลางของประเทศไทย ยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, นางเกล็ด พรม หรือ ลิง ก็เรียก. | แก๊ป | เครื่องที่ทำให้ระเบิดเป็นประกายติดดินปืน เดิมมีรูปเหมือนหมวกแก๊ปแต่ไม่มีกะบังปิดหน้า | แกล้ง | ตั้งใจ, จงใจ, เช่น แกล้งประกาศแก่สงฆ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ข้อสังเกต | น. สิ่งที่กำหนดไว้ให้สนใจเป็นพิเศษ เช่น บทความนี้มีข้อสังเกตอยู่หลายประการ เขาตั้งข้อสังเกตว่า ๒-๓ วันนี้มีชายแปลกหน้ามาเยี่ยม ๆ มอง ๆ ที่ประตูบ้านบ่อย. | ของเก่า | ทรัพย์ที่เสนอขาย แลกเปลี่ยน หรือจำหน่ายโดยประการอื่นอย่างทรัพย์ที่ใช้แล้ว ทั้งนี้ รวมถึงของโบราณด้วย. |
| posting | การประกาศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | posting | การประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proclamation | ประกาศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | proclamation | ประกาศ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proclamation, royal | ประกาศพระบรมราชโองการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | proclamation, Royal | ประกาศพระบรมราชโองการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | proof, burden of | หน้าที่นำสืบ, ภาระการพิสูจน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | public notice | ประกาศ, แจ้งความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | poster | ใบปิดประกาศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | post | ประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | publication | ๑. การประกาศโฆษณา๒. สิ่งพิมพ์เผยแพร่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | promulgation | การประกาศใช้กฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | promulgation | ๑. การออกประกาศ (ก. แพ่ง)๒. การประกาศใช้กฎหมาย (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | post | ประกาศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | post | ๑. ปิดประกาศ๒. ไปรษณีย์๓. ตำแหน่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | publication of banns | การประกาศชื่อผู้จะสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | publicity | โฆษณาการ, การประกาศโฆษณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | lienteric stool | อุจจาระกากมาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | royal proclamation | ประกาศพระบรมราชโองการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Royal proclamation | ประกาศพระบรมราชโองการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark duration | ช่วงเกิดประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark erosion cutting | การตัดเซาะด้วยประกาย [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | spark knock | น็อกจากประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark line | เส้นประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark reignition | การจุดประกายอาร์กซ้ำ [ มีความหมายเหมือนกับ HF reignition ] [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | service by publication | การส่งหมายหรือคำคู่ความโดยวิธีประกาศในหนังสือพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | SI engine; spark-ignition engine | เครื่องยนต์เอสไอ, เครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark starting | การเริ่มจุดประกายอาร์ก [ มีความหมายเหมือนกับ HF ignition ] [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | spark test | การทดสอบประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark-ignition engine; SI engine | เครื่องยนต์เอสไอ, เครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | Seven Liberal Arts | ศิลปศาสตร์เจ็ดประการ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | SDV (spark delay valve) | เอสดีวี (ลิ้นหน่วงการเกิดประกายไฟ) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark; jump spark | ประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | spark delay valve (SDV) | ลิ้นหน่วงการเกิดประกายไฟ (เอสดีวี) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | standard of proof | ภาระการพิสูจน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | stool, lienteric | อุจจาระกากมาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | self-announcement | การประกาศตนเข้าแข่งขัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order of business; order of the day | ระเบียบวาระการประชุม [ ดู agenda ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | outlawry | การประกาศให้เป็นคนนอกกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | order of the day; order of business | ระเบียบวาระการประชุม [ ดู agenda ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | onus probandi (L.) | ภาระการพิสูจน์, หน้าที่นำสืบ [ ดู burden of proof ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | acknowledgement | ๑. การตอบรับ๒. กิตติกรรมประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | aventurine glaze | การเคลือบเกล็ดประกาย [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | announcement service | การบริการประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | agenda | ระเบียบวาระการประชุม [ ดู order of business และ order of the day ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | agenda | ระเบียบวาระการประชุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | jump spark; spark | ประกายไฟ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | business, order of | ระเบียบวาระการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Acknowledgement | กิตติกรรมประกาศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Acknowledgement | กิตติกรรมประกาศ, ประกาศคุณูปการ, Example: คำที่ผู้เขียนกล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการเขียนหนังสือ บางครั้งอาจแห่ง อาจใช้เป็น กิตติกรรมประกาศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | พระสัปตปฎลเศวตฉัตร | ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น พระสัปตปฎลเศวตฉัตรเป็นฉัตรประกอบพระอิสริยยศสำหรับพระมหากษัตริย์ที่ยังไม่ผ่านการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-02.JPG" alt="พระสัปตปฎลเศวตฉัตร์"> <p>ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น [ศัพท์พระราชพิธี] | ถวายพระพรลา | กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี] | Treatment, waste | การบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเปลี่ยนแปลงลักษณะของกากกัมมันตรังสีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาและการขจัด โดยมีหลักพื้นฐาน 3 ประการ คือ 1. ลดปริมาตร เช่น การกดอัด 2. แยกสารกัมมันตรังสีออกจากกาก เช่น การตกตะกอน การแลกเปลี่ยนไอออน 3. เปลี่ยนองค์ประกอบ เช่น การเผา การระเหย [นิวเคลียร์] | Irradiated food | อาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์] | Academic decoration of honor | เครื่องหมายประกาศเกียรติคุณของสถาบันการศึกษา [TU Subject Heading] | Certification | ประกาศนียบัตร [TU Subject Heading] | Convention Relation to Registration of Rights in Respect of Vessels under Construction, 1967 | อนุสัญญาว่าด้วยการจดทะเบียนซึ่งสิทธิบางประการของเรือที่อยู่ระหว่างการต่อ (ค.ศ. 1967) [TU Subject Heading] | Decorations of honor | เครื่องหมายประกาศเกียรติคุณ [TU Subject Heading] | Internal combustion engines, Spark ignition | เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบจุดระเบิดด้วยประกายไฟ [TU Subject Heading] | International Convention for the Unification of Certain Rules of Law Relating to Bills of Lading (1924) | อนุสัญญาว่าด้วยการทำให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งกฎเกณฑ์บางประการที่เกี่ยวกับใบตราส่ง (ค.ศ. 1924) [TU Subject Heading] | Acknowledgement | ประกาศคุณูปการ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Phrachetiyavisakhabujanusornsakonlokprakadborvornbujawanvisakha | พระเจดีย์วิสาขบูชานุสรณ์สกลโลกประกาศบวรบูชาวันวิสาขะ [TU Subject Heading] | Clone (โคลน) | การสร้างสำเนาที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการของโมเลกุล เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Proclamation | ประกาศ [TU Subject Heading] | Radio announcing | การประกาศทางวิทยุ [TU Subject Heading] | Television announcing | การประกาศทางโทรทัศน์ [TU Subject Heading] | Television news anchors | ผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์ [TU Subject Heading] | Shore Reef | แนวประการังแบบหย่อม, Example: ดู Fringing Reef (Fringing Reef or Shore Reef หมายถึง แนวปะการังเล็กๆ พบแพร่กระจายอยู่ตามบริเวณชายฝั่งทะเล) [สิ่งแวดล้อม] | Currency Revaluation | การประกาศเพิ่มค่าเงิน, Example: การประกาศเพิ่มค่าของเงินสกุลหนึ่ง เมื่อเทียบกับค่าเงินตราสกุลอื่นๆ การประกาศเพิ่มค่าเงิน มีความหมายในทางปฏิบัติเช่นเดียวกับการเพิ่มค่าของเงิน (ดู Currency Appreciation) แต่ส่วนที่แตกต่างกัน คือ กรณี "revaluation" จะใช้กับการเพิ่มค่าของเงินตราในระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ โดยการประกาศลดค่าอย่างเป็นทางการ ในขณะที่ "appreciation" ใช้กับการเพิ่มค่าของเงินในระบบอัตราแลกเปลี่ยนอื่นๆ [สิ่งแวดล้อม] | Devaluation, Currency | การประกาศลดค่าเงิน, Example: การประกาศลดค่าของเงินสกุลหนึ่งเมื่อเทียบกับ ค่าเงินตราสกุลอื่นๆ การประกาศลดค่าเงิน มีความหมายในทางปฏิบัติเช่นเดียวกับการลดค่าของเงิน (ดู Currency Depreciation) แต่ส่วนที่แตกต่างกันคือ กรณีของ "Devaluation" จะใช้กับการลดค่าของเงินตราใน ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่คงที่โดยการประกาศลดลงอย่างเป็นทางการในขณะที่ "Depreciation" ใช้กับการลดค่าของเงินในระบบอัตราแลกเปลี่ยนอื่นๆ [สิ่งแวดล้อม] | Accelerating Economic Recovery in Asia | โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต] | African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] | Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] | APSC | แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก [การทูต] | Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] | Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] | Drug-Free ASEAN | อาเซียนที่ปลอดจากยาเสพติด เป็นคำประกาศของอาเซียนในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 31 ที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยการตั้งเป้าหมาย ที่จะทำให้ภูมิภาคนี้ปลอดจากยาเสพติดในปี พ.ศ. 2563 และต่อมา ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 33 ที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2543 ได้ประกาศร่นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เร็วขึ้น 5 ปี จากเดิมในปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558 [การทูต] | Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] | Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] | Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] | International Force in East Timor | กองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1264 (1999) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 มีภารกิจหลัก 3 ประการ คือ ฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในติมอร์ตะวันออก ป้องกันและสนับสนุนงานของเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติ และอำนวยความสะดวกในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม กองกำลังนานาชาติปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกจนถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Joint Declaration for a Socially Cohesive and Caring ASEAN | ปฏิญญาร่วมว่าด้วยสังคมที่เป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรในอาเซียน เป็นคำประกาศของอาเซียนซึ่งมีการลงนามที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2543 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้มีการดำเนินโครงการด้านโครงข่ายรองรับทาง สังคมในภูมิภาคนี้ร่วมกันอย่างจริงจัง ในอันที่จะเป็นการนำอาเซียนไปสู่การเป็นสังคมที่มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้อ อาทรตามวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 [การทูต] | moratorium | ประกาศพัก/ระงับชั่วคราว [การทูต] | National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] | Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
| Sparkle. | ประกาย Sex and the City 2 (2010) | The whole kingdom has turned out for father's announcement! | ทั้งอาณาจักร กำลังตื่นตากับการประกาศของเสด็จพ่อ ไม่นะ จัสมิน Aladdin (1992) | Of course, there's always an agenda. | แน่นอน มันต้องมีวาระการประชุมอยู่แล้ว Basic Instinct (1992) | Let's go home. We'll have to make an announcement. | กลับบ้านเถอะ ประกาศออกไป The Bodyguard (1992) | Fine, Bill, you make it! | เอาเลยบิลล์ คุณประกาศสิ The Bodyguard (1992) | Rachel, if you want to be in your seat for Best Actress, you have to go now. | โทษทีนะ ถ้าคุณจะไปประกาศ ดีเด่นฝ่ายหญิง ก็รีบไปได้แล้ว The Bodyguard (1992) | Man may evolve a thousandfold through this technology... but the rush must be tempered with wisdom. | แต่ก็อาจช่วยแก้ปัญหา นับพันประการของเทคโนโลยีสมัยนี้ แต่ทั้งหมด.. ล้วนขึ้นอยู่กับผู้ที่ควบคุมมัน The Lawnmower Man (1992) | I mean, really, June. "Three benefits. | จูน "ผลประโยชน์สามประการ ความต้องการสามประการ The Joy Luck Club (1993) | I think it's time the guards came into the factory. Japan, with all her treachery and greed-- | มีประกาศเยอรมันยอมแพ้แล้ว... Schindler's List (1993) | [ Ring Announcer ] ln the heavyweight division, | [ แหวนประกาศ ] ln ส่วนรุ่นที่ Pulp Fiction (1994) | [ Announcer ] It's official. It's official. | [ ประกาศ ] มันอย่างเป็นทางการ มันเป็นอย่างเป็นทางการ Pulp Fiction (1994) | - [ Announcer #2 ] Well, Dan, that had to be the bloodiest, hands down, the most brutal fight this city's ever seen. | - [ ประกาศ # 2 ] ดีแดนที่จะต้องชุ่ม, มือลง, การต่อสู้ที่โหดร้ายมากที่สุดของเมืองนี้ที่เคยเห็น Pulp Fiction (1994) | [ Radio Announcer ] Visit the Jackrabbit Slim's nearest you... | [ วิทยุประกาศ ] เยี่ยมชม Jackrabbit บางของใกล้บ้านท่าน ... Pulp Fiction (1994) | [ Radio Announcer ] i EI burro! | [ วิทยุประกาศ ] ไอ EI ลา! Pulp Fiction (1994) | Is two hands above the horizon in midsummer, that's due west. | เมื่อดาวประกายพรึกอยู่สูง2ฝ่ามือ เหนือขอบฟ้าคิมหันทางเบื้องตะวันตก Rapa Nui (1994) | ...in Oran, where a curfew is now in effect. | ...เมืองออรานซึ่งประกาศเคอร์ฟิว ตอนนี้ได้รับผลกระทบ Wild Reeds (1994) | I even got a certificate in Biarritz, when I was a kid. | ฉันได้ประกาศนียบัตร ที่เบียร์ริชซ์ตอนเด็กด้วย Wild Reeds (1994) | I also built that library and used it to help a dozen guys get a high school diploma. | ฉันยังสร้างห้องสมุดที่ และใช้มันเพื่อช่วยให้พวกโหลได้รับประกาศนียบัตรจากโรงเรียนสูง The Shawshank Redemption (1994) | Don Alfonso was humiliated that he had been cuckolded by a 16-year old boy... so to retaliate, he announced publicly... that he and my mother had been having an affair for many years. | ดอนอัลฟองโซขายหน้า ที่ถูกเด็กผู้ชายอายุ 16 สวมเขา ดังนี้เพื่อเอาคืน เขาประกาศในต่อหน้าสาธารณะ Don Juan DeMarco (1994) | Her beauty was not made of shapes and forms, but shined from within, like a star. | ความงดงามของเธอ ไม่ได้อยู่ที่เรือนร่างและรูปทรง แต่มันเปล่งประกายจากภายในเหมือนดวงดาว Don Juan DeMarco (1994) | I write the specials on the specials board. | เขียนรายการพิเศษบนกระกานอาหาร แล้วก็ The One with George Stephanopoulos (1994) | And when they descended, it was to announce that Ffynnon Garw was indeed a mountain of 1, 002 feet and that they were engaged to be married. | และเมื่อเขาลงมา ก็มีการประกาศว่าฟินาฮ่อนการู ก็คือภูเขาจริง ๆ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | Declare war on Napaloni! | ประกาศสงครามกับ เนโพโลนี The Great Dictator (1940) | A declaration of war. | คำประกาศสงคราม The Great Dictator (1940) | - Your declaration of war. | - คำประกาศสงครามของท่าน The Great Dictator (1940) | "She's got the three things that really matter in a wife, " everyone said. | ทุกคนพูดว่า "หล่อนมีคุณสมบัติทั้ง 3 ประการ สําหรับการเป็นภรรยา" Rebecca (1940) | Nobody has to prove otherwise. The burden of proof's on the prosecution. | ไม่มีใครมีที่จะพิสูจน์เป็นอย่างอื่น ภาระการพิสูจน์อยู่ในการดำเนินคดี 12 Angry Men (1957) | I'm ready to walk into court and declare a hung jury. | ฉันพร้อมที่จะเดินเข้าไปในศาลและประกาศแขวนลูกขุน 12 Angry Men (1957) | Wanted in 15 counties of this state the condemned standing before us... | มีประกาศจับจาก 15 เขตในรัฐนี้... ...ผู้ต้องหาที่ยืนตรงหน้าเรา... The Good, the Bad and the Ugly (1966) | And headquarters has declared that we must take that ridiculous flyspeck even if all of us are killed. | และกองบัญชาการก็ประกาศไว้ ว่าต่อให้ต้องตายกันหมด เราก็ต้อง... ...เราต้องยึดตามดระยำนั่นให้ได้ The Good, the Bad and the Ugly (1966) | Fourth Muskets, aren't you? | ประการที่สี่ปืนไม่ได้ใช่ไหม? คุณชาย รับการคาดหวังให้คุณ How I Won the War (1967) | Now there's rarely any tenseness. | มันผ่อนคลายคุณคำประกาศ How I Won the War (1967) | It is obvious to anyone with a spark of humanity in them that he should be treated with sympathy and understanding and sent home. | เป็นที่ชัดเจนให้กับทุกคนที่มี ประกายไฟ ของความเป็นมนุษย์ในตัวเขาว่า เขาควรจะเป็น รับการรักษาด้วยความเห็นอก เห็นใจและความเข้าใจ How I Won the War (1967) | And grant, in the name of Your prophet, our great Lawgiver, that we, Your chosen servants, created and born in Your divine image, may aspire the more perfectly to that spiritual godliness and bodily beauty | เเละประกาศชัยในพระนามท่าน เทพเจ้าผู้ยิ่งยง เราคือสาวกผู้ซึ่งท่านเลือกสรรมาเกิด Beneath the Planet of the Apes (1970) | Shine for me again Little Prince | เปล่งประกายอีกสักครั้งเถอะ เจ้าชายตัวน้อย The Little Prince (1974) | Shine for me again Little Prince | เปล่งประกายอีกสักครั้งเถอะ เจ้าชายตัวน้อย The Little Prince (1974) | Signora Maggi's story merits immediate re-enactment | มาดามเรื่องราวของ Maggi merit immediate อีกครั้ง-ประกาศใช้เป็นกฎหมาย Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | According to the story, God has appeared on earth to reaffirm that He lives and our world can work. | ตามเรื่องที่เขาบอก พระเจ้าปรากฏร่างบนโลก และประกาศว่าท่านมีตัวตน Oh, God! (1977) | Put down that the heart is the temple wherein all truth resides. | เขียนว่าหัวใจเป็นสถานที่ สำหรับความเป็นจริงทุกประการ Oh, God! (1977) | He's having one of his big dos at the Shrine Auditorium. | เขากำลังประกาศศาสนาครั้งใหญ่ ที่หอประชุมชาไรน์ Oh, God! (1977) | And he always kept them really shiny. | และเขามักจะเก็บไว้เป็น ประกายเงางามจริงๆ Mad Max (1979) | The chest the Hebrews carried the Ten Commandments in. | หีบของฮิบรู ที่บรรจุบัญญติ 10 ประการ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | - The Ten Commandments? | - บัญญติ 10 ประการ? Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | - The actual Commandments. | - บัญญติ 10 ประการ ดั้งเดิม Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | -...was the most significant act in colonial affairs since the Declaration of Independence. | - เป็นเรื่องใหญ่สุด ในราชอาณาจักร นับแต่วันประกาศเอกราช Gandhi (1982) | And Mr. Prakash, who, I fear is awaiting trial for sedition and inducement to murder. | และคุณประกาศ ซึ่งรอขึ้นศาลคดีก่อความไม่สงบ และชักนำให้เกิดฆาตกรรม Gandhi (1982) | But it gave them an excuse to impose martial law throughout Bengal. | แต่เป็นข้ออ้างที่เขาจะประกาศ กฎอัยการศึกทั่วเบงกอล Gandhi (1982) | And that's the basis of this declaration of independence? | แล้วนั่นเป็นพื้นฐาน ของการประกาศเอกราชรึไง Gandhi (1982) | I heard that Miss Long announced to the world that you will be having a duel today to find a husband. | ข้าได้ยินมาว่าแม่นางเล้งประกาศออกไปว่าจะหาคู่ในวันนี้. Return of the Condor Heroes (1983) | The first thing you must learn... is to memorize our sect's 8 rules and 64 restrictions. | อย่างแรกที่เจ้าต้องเรียนรู้... ก็คือจำกฏสำนัก 8 ข้อและ ข้อบังคับ 64 ประการ. Return of the Condor Heroes (1983) |
| อัญประกาศ | [anyaprakāt] (n) EN: quotation marks FR: guillemets [ mpl ] | อัญประกาศเดี่ยว | [anyaprakāt dīo] (n, exp) EN: single quotation marks ; ' ' | ใบปิดประกาศ | [baipit prakāt] (n, exp) EN: poster FR: affiche [ f ] | ใบประกาศ | [baiprakāt] (n) EN: poster ; handbill ; notice ; circular FR: affiche [ f ] | ใบระกา | [bairakā] (n) EN: toothlike ridges on the sloping edges of a gable (representing the fin on the back of Naga) | บางประการ | [bāng prakān] (n, exp) EN: some aspects ; some measures | บอร์ดประกาศ | [bøt prakāt] (n, exp) EN: bulletin board FR: tableau d'affichage [ m ] ; valves [ fpl ] (Belg.) | ดาวประกายพรึก | [dāo prakāiphreuk] (n, exp) EN: morning star ; Venus FR: étoile du matin [ f ] ; Venus | ด้วยประการไฉน | [dūay prakān chanai] (adv) EN: by what manner | ด้วยประการฉะนี้ | [dūay prakān chanī] (adv) EN: thus ; in this manner ; here and now ; for this reason ; therefore | ด้วยประการทั้งปวง | [dūay prakān thangpūang] (adv) EN: in every respect | อีกประการหนึ่ง | [īk prakān neung] (adv) FR: d'autre part | จุดประกาย | [jut prakāi] (v, exp) EN: spark ; inspire ; provoke ; stimulate ; trigger (off) ; precipitate | การป่าวประกาศ | [kān pāoprakāt] (n) FR: annonciation [ f ] (vx) ; annoncement [ m ] (vx) | การปิดประกาศ | [kān pit prakāt] (n, exp) FR: affichage [ m ] | การประกาศ | [kān prakāt] (n) EN: announcement ; declaration ; stating FR: déclaration [ f ] ; annonce [ f ] ; proclamation [ f ] | การประกาศใช้ | [kān prakāt chai] (n, exp) EN: promulgation FR: promulgation [ f ] | การประกาศใช้กฎหมาย | [kān prakāt chai kotmāi] (n, exp) FR: promulgation d'une loi [ f ] | การประกาศอิสรภาพ | [kān prakāt itsaraphāp] (n, exp) FR: proclamation d'indépendance [ f ] | การประกาศจ่ายเงินปันผล | [kān prakāt jāi ngoen panphon] (n, exp) EN: declaration of a dividend | การประกาศเจตจำนง | [kān prakāt jētjamnong] (n, exp) EN: declaration of intent FR: déclaration d'intention [ f ] | การประกาศของเทพ | [Kān Prakāt Khøng Thēp] (n, prop) EN: Annunciation FR: Annonciation [ f ] | การประกาศสงคราม | [kān prakāt songkhrām] (n, exp) EN: declaration of war FR: déclaration de guerre [ f ] | คำประกาศิต | [khamprakāsit] (n) EN: command | คำประกาศ | [khamprakāt] (n) EN: announcement ; declaration | เครื่องหมายอัญประกาศ | [khreūangmāi anyaprakāt] (n, exp) EN: « “ “ » ; « » ; quotation marks ; double quotation marks FR: « “ “ » ; « » ; guillemets [ mpl ] | เครื่องหมายสัญประกาศ | [khreūangmāi sanyaprakāt] (n, exp) EN: « _ » ; underscore FR: « _ » ; soulignement [ m ] | ความเท่ากันทุกประการ | [khwām thaokan thuk prakān] (n, exp) EN: congruence FR: congruence [ f ] | หมายประกาศ | [māi prakāt] (n, exp) EN: announcement ; notice | มีประกาศว่า... | [mī prakāt wa ...] (v, exp) EN: it has been announced that ... | นานาประการ | [nānāprakān] (adj) EN: various | เงินปันผลที่ประกาศจ่าย | [ngoenpanphon thī prakāt jāi] (n, exp) EN: declared dividend | ป้ายประกาศ | [pāi prakāt] (n, exp) EN: bilboard FR: panneau d'affichage [ m ] | ป่าวประกาศ | [pāoprakāt] (v) EN: announce ; publicize ; broadcast ; proclaim FR: annoncer ; proclamer | ป่าประกาศ | [pāprakāt] (v) EN: proclaim | เป็นประกาย | [pen prakāi] (v, exp) EN: sparkle ; flash ; twinkle ; shimmer ; glisten FR: étinceler ; scintiller | ภาระการพิสูจน์ | [phāra kān phisūt] (n, exp) EN: burden of proof | ผีเสื้อฟ้าขอบประกาย | [phīseūa fā khøp prakāi] (n, exp) EN: Grass Jewel | ผีเสื้อฟ้าขอบประกายเล็ก | [phīseūa fā khøp prakāi lek] (n, exp) EN: Small Grass Jewel | ผู้ป่าวประกาศ | [phū pāoprakāt] (n, exp) FR: annonciateur [ m ] ; annonciatrice [ f ] | ผู้ปิดประกาศ | [phū pit prakāt] (n, exp) FR: afficheur [ m ] ; placardeur [ m ] (vx) | ผู้ประกาศ | [phūprakāt] (n) EN: announcer ; broadcaster ; reporter ; newsreader ; speaker FR: annonceur [ m ] ; présentateur [ m ] | ผู้ประกาศข่าว | [phūprakāt khāo] (n, exp) EN: newsreader ; newscaster | ปีระกา | [pī rakā] (n, exp) EN: Year of the Rosster (Chinese astrology) ; Year of the Cock (Chinese astrology) FR: année du coq [ f ] | ปิดประกาศ | [pit prakāt] (v, exp) EN: post a notice FR: placarder | ประกาย | [prakāi] (n) EN: spark ; flash ; sparkle FR: étincelle [ f ] | ประกายไฟฟ้า | [prakāi faifā] (n, exp) EN: spark FR: étincelle électrique [ f ] | ประการ | [prakān] (n) EN: [ classifier : numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects ] FR: [ classificateur : éléments, points, aspects, espèces, sortes, lieux...) | ประการใด | [prakān dai] (x) EN: what ; whatever ; whatsoever ; how ; however | ประการหนึ่ง | [prakān neung] (x) EN: some ; a feature |
| | absolve | (vt) ประกาศว่าพ้นผิด, Syn. acquit, exonerate | acquit | (vt) ประกาศว่าไม่มีความผิด, See also: ประกาศว่าพ้นผิด, Syn. exonerate, clear, absolve | admission | (n) การประกาศยอมรับ, See also: การยอมรับ | advertise | (vt) ลงประกาศ, See also: แจ้งความ, เสนอข่าว | advertise | (vi) ลงประกาศ, See also: แจ้งความ, เสนอข่าว, Syn. proclaim, publicize, announce | air | (vt) ประกาศ, See also: แสดง | align | (vt) ประกาศสนับสนุน | aline | (vt) ประกาศสนับสนุน | altogether | (adv) ด้วยประการทั้งปวง, See also: โดยสิ้นเชิง | anchor | (vt) เป็นผู้ประกาศข่าว | anchor | (n) ผู้ประกาศข่าว, Syn. newscaster, commentator | announce | (vt) ป่าวประกาศ, See also: ประกาศ, Syn. declare, proclaim | announcement | (n) การประกาศ, See also: เสียงประกาศ, การป่าวประกาศ, Syn. declaration, notification, proclamation | announcement | (n) คำประกาศ, Syn. statement, news | announcer | (n) ผู้ประกาศ, See also: โฆษก, Syn. program announcer, broadcaster | annulment | (n) การประกาศว่าเป็นโมฆะ, Syn. invalidation, nullification, cancellation | annunciator | (n) ผู้ประกาศ, Syn. announcer | atoll | (n) เกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากหินประการัง | absolve from | (phrv) ยกโทษให้, See also: ประกาศว่า บางคน ไม่มีความผิด | absolve of | (phrv) ยกโทษให้, See also: ประกาศว่า บางคน ไม่มีความผิด | acquit of | (phrv) ประกาศว่าไม่มีความผิด (ทางกฎหมาย) | advertise for | (phrv) ประกาศรับ, See also: โฆษณา เพื่อรับสมัคร | announce to | (phrv) ประกาศต่อ | assign to | (phrv) ระบุว่าเป็นหรืออยู่ในช่วง, See also: ประกาศว่าเป็นของ | billboard | (vt) ประกาศหรือโฆษณา | brilliance | (n) ความสุกใส, See also: ความเป็นประกาย, Syn. brightness, Ant. darkness | bulletin | (n) แถลงการณ์, See also: ประกาศ, Syn. announcement | by no means | (adv) ไม่ด้วยประการใดเลย, See also: มิใช่ใดๆเลย, Syn. by no means, not by any means, not in any way, absolutely not, not at all | book off | (phrv) ประท้วงไม่ทำงาน, See also: ประกาศไม่เข้าทำงาน | bring down | (phrv) ประกาศหรือบอกให้รู้อย่างเป็นทางการ, Syn. hand down | caller | (n) ผู้ประกาศ, Syn. announcer | canonise | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่าเป็นนักบุญ, Syn. canonize, saint, sanctify | canonize | (vt) ประกาศอย่างเป็นทางการว่าเป็นนักบุญ, Syn. canonise, saint, sanctify | cardinal sin | (n) หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน) | celebrate | (vt) ประกาศ, Syn. declare, proclaim | certificate | (n) ประกาศนียบัตร, Syn. credential | certificate | (vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร | certify | (vt) ประกาศว่าวิกลจริตตามกฎหมาย | certify | (vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร | clarion | (vt) ประกาศอย่างดัง | condemn | (vt) ประกาศว่าทำผิด, See also: กล่าวโทษ, Syn. convict | crier | (n) ผู้ประกาศ, Syn. proclaimer | call by2 | (phrv) เรียกชื่อ, See also: ประกาศชื่อ, ขานชื่อ, Syn. go by | charge with | (phrv) ประกาศว่ามีความผิด | close the door on | (idm) ประกาศว่าหมดหวังสำหรับ, Syn. shut on | convict of | (phrv) ประกาศว่ามีความผิดฐาน, See also: มีความผิดในเรื่อง | count out | (phrv) ประกาศว่าสมาชิกในการประชุมสภาไม่เพียงพอ (เพื่อปิดการประชุม) | declaim against | (phrv) ประกาศโจมตีต่อสาธารณชน, Syn. declare for | declare for | (phrv) ประกาศโจมตีต่อสาธารณชน, Syn. declaim against | declare off | (phrv) ประกาศว่าจะไม่เกิดขึ้น, Syn. break off, declare on |
| advertise | (แอด' เวอไทซ, แอดเวอไทซ') vt., vi. แจ้งความ, โฆษณา, ประกาศ. | advertize | (แอด' เวอไทซ, แอดเวอไทซ') vt., vi. แจ้งความ, โฆษณา, ประกาศ. | agenda | (อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable | alert box | ช่องข้อความเตือนหมายถึงช่องข้อความที่คอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นบนจอภาพ มีข้อความเตือนในเรื่องการใช้คำสั่งบางประการที่อาจทำให้เกิดผลเสีย เช่น เครื่องพิมพ์ไม่มีกระดาษ ข้อความบางตอนอาจศูนย์หาย ฯ เป็นต้น | altogether | (ออลทูเกธ' เธอะ) adv. ทั้งหมด, พร้อมกัน, ด้วยประการทั้งปวง, โดยสิ้นเชิง, ทั้งสิ้น, โดยสรุป, รวมทั้งสิ้นเป็น (entirely, completely) | announce | (อะเนาซฺ') vt., vi. ประกาศ, แจ้ง, แสดง, ทำให้รู้, ทำหน้าที่เป็นโฆษก, โฆษณา | announcement | (อะเนาซฺ' เมินทฺ) n. การประกาศ, การแถลง, การทำให้รู้, การโฆษณา | announcer | (อะเนา' เซอะ) n. ผู้ประกาศ, ผู้แถลง, ผู้โฆษณา, Syn. broadcaster | annunciate | (อะนัน' ซีเอท) vt. แจ้งให้ทราบ, ประกาศ, ประกาศให้ทราบ -annunciable adj., Syn. tell, announce -annunciation n. | annunciator | (อะนัน'ซีเอเทอะ) n. ผู้ประกาศ, เครื่องบอกสัญญาณ (signaling apparatus) | attaint | (อะเทนทฺ') vt. ประกาศเพิกถอนสิทธิ, ทำให้เสื่อมเสีย (เกียรติ) , กล่าวหา -n. =attainder, ความเสื่อมเสีย (เกียรติ) (disgrace, taint) | avow | (อะเวา') vt. ประกาศ, รับรอง, ยอมรับ, รับสารภาพ, ปฏิญาณ, สบถสาบาน. -avower n., Syn. testify, avouch, Ant. deny, hide | avowal | (อะเวา'เอิล) n. การรับรองอย่างเปิดเผยการประกาศ, การยอมรับ (acknowledgment) | ban | (แบน) { banned, banning, bans } vt., n. ห้าม, ประกาศห้าม, สั่งห้าม, ขับออกนอกศาสนา, ประณาม, สาปแช่ง | banns | (แบนซ) n., pl. ประกาศล่วงหน้าที่แจ้งการแต่งงานที่จะมีขึ้น | bans | (แบนซ) n., pl. ประกาศล่วงหน้าที่แจ้งการแต่งงานที่จะมีขึ้น | bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | bid | (บิด) { bade/bid, bidden/bid, bidding, bids } vt., n. (การ) ออกคำสั่ง, สั่ง, กล่าว, บอก, ให้ราคา, ประมูลราคา, เชื้อเชิญ, ประกาศอย่างเปิดเผย, รับเป็นสมาชิก, ความพยายามเพื่อให้ได้มา vi. ออกคำสั่ง, กริยาช่อง 3 ของ bide, See also: bidder n. ดู bid -Conf. bade | bill poster | n. ผู้ติดประกาศ, ผู้ติดโฆษณา, ผู้ติดใบปลิว, See also: billsticking n. | bill sticker | n. ผู้ติดประกาศ, ผู้ติดโฆษณา, ผู้ติดใบปลิว, See also: billsticking n. | billposter | n. คนที่ประกาศ, คนติดโฆษณา, คนติดใบปลิว, See also: billposting, billsticking n. | billsticker | n. คนที่ประกาศ, คนติดโฆษณา, คนติดใบปลิว, See also: billposting, billsticking n. | binary number system | ระบบเลขฐานสอง <คำแปล>ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์) เปิด และ ปิด | blazer | (เบล'เซอะ) n. สิ่งที่ลุกสว่างโชติช่วง, ผู้แพร่กระจาย, ผู้ประกาศ | blazon | (เบล'เซิน) { blazoned, blazoning, blazons } n. ตรา, เครื่องหมาย ธง vt. ทำเครื่องหมาย, ทำตรา, แสดง, ประกาศ, เผยแพร่, โอ้อวด, See also: blazoner n. blazonment n. ดูblazon blazoning n. ดูblazon, Syn. proclaim | bulletin | (บูล'ละทิน) n. แถลงการณ์, ประกาศ, รายงานข่าว, สิ่งตีพิมพ์ที่ออกมาเป็นระยะ | bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | canonise | (แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz | canonize | (แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล., See also: canonisation n. ดูcanoniz | ccp | (ซีซีพี) ย่อมาจาก Certificate in Computer Programming หมายถึงประกาศนียบัตรที่ให้แก่ผู้ที่สอบผ่านความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม การสอบนี้จะทำปีละ 1 ครั้งในประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ฯ | cd | abbr. ธาตุ cadmium, แผ่นซีดี ย่อมาจาก compact disk แปลตามตัวอักษรว่า จานบันทึกอัดแน่น มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล จานบันทึกนี้มีความจุสูงมาก (ประมาณ 600ล้านตัวอักษร) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ใช้อ่านข้อมูลจากจานบันทึกนี้ได้ แต่การบันทึกข้อมูลลง ยังทำไม่ได้ง่าย ๆ ต้องมีเครื่องพิเศษเฉพาะ บันทึกได้ทั้งข้อมูลธรรมดา เพลง ภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้มาก เพราะราคาถูก ความจุสูง แต่ยังติดขัดในปัญหาบางประการในเรื่องการบันทึกข้อมูลลง ดู CD ROM ประกอบ 2. ย่อมาจากคำ Change Directory เป็นคำสั่งในระบบดอสที่สั่งให้เข้าไปในสารบบ (directory) ใดสารบบหนึ่ง หรือออกจากสารบบใดสารบบหนึ่ง เช่น C:/>CD <ชื่อสารบบ> \ (หมายความว่าให้เข้าไปในสารบบชื่อนั้น) C:> CD\ (หมายความว่า ให้ออกจากสารบบที่อยู่) | cedula | n. หลักฐานการเสียภาษีแล้ว, ประกาศนียบัตร | celebrate | (เซล'ละเบรท) { celebrated, celebrating, celebrates } v. ฉลอง, ประกอบพิธี, เฉลิม, ประกาศ, สรรเสริญ, ยกย่อง, ทำพิธี, จัดงานเลี้ยงฉลอง, See also: celebrative adj. ดูcelebrate celebrator n. ดูcelebrate -Conf. celibate | certificate | (เซอทิฟ'ฟะเคท) { certificated, certificating, certificates } n. หนังสือรับรอง, ประกาศนียบัตร, ใบรับรอง, ในสุทธิ, ใบสำคัญ, ข้อพิสูจน์ vt. รับรองด้วยหนังสือรับรอง, See also: certificatory adj. | charter | (ชาร์'เทอะ) { chartered, chartering, charters } n. ตราตั้ง, กฎบัตร, กฎหมาย, สัญญาเช่าเรือ, สัญญาเช่า, สิทธิพิเศษ, สิทธิยกเว้น, หนังสือรับรอง, ประกาศนียบัตร -vt. อนุญาตด้วยตราตั้ง, ให้สิทธิพิเศษ. -adj. เช่ามา, เหมา, See also: charterer n. -Conf. chartered กริยาช | claw | (คลอ) { clawed, clawing, claws } n. อุ้งเล็บ, ก้ามกุ้งและปู, ส่วนยื่นคล้ายคีม, เครื่องมือคล้ายคีม v. ใช้อุ้งเล็บหรือเล็บฉีก (ข่วน, แทง, ขุด, ควัก) ปีนป่าย, ตระกาย, ตะครุบ. | cold start | เปิดเครื่อง (คอมพิวเตอร์) การเริ่มต้นระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ทั้งหมด โดยเปิดสวิตซ์ที่ตัวเครื่อง การเริ่มต้นเช่นนี้เป็นการเริ่มต้นครั้งแรกหรือเริ่มต้นใหม่เนื่องจากบางครั้ง ขณะที่ใช้อยู่ เกิดข้อผิดพลาดบางประการเกี่ยวกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จนทำให้ไม่สามารถประมวลผลต่อไปได้ จึงต้องใช้วิธีปิดสวิตช์ แล้วเริ่มต้นใหม่ดู warm start เปรียบเทียบ | cold war) | n. สงครามเย็น, สงครามที่ไม่ประกาศสงคราม | commandment | (คะมาน'เมินทฺ) n. อำนาจ, คำสั่ง, การออกคำสั่ง, บัญญัติ, หนึ่งในบัญญัติ10ประการ (Ten Commandments) | computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ | computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส | confession | (คันเฟส'เชิน) n . การสารภาพ, การยอมรับ, การสารภาพความผิด, สิ่งที่ได้สารภาพ, การประกาศความเลื่อมใสและยอมรับการปฎิบัติตามความเชื่อทางศาสนา, สุสานนักบุญ, Syn. admission, confirmation | copy disk | คัดลอกทั้งแผ่นเป็นคำสั่งในระบบวินโดว์ ที่สั่งให้คัดลอกแฟ้มข้อมูลทั้งหมดในแผ่นต้นแบบ ไปลงในอีกแผ่นหนึ่งซึ่งต้องมีขนาดเท่าแผ่นต้นแบบทุกประการ การคัดลอกด้วยคำสั่งนี้ จะเลือกเฉพาะบางแฟ้มข้อมูลไม่ได้ นอกจากนั้น เมื่อคัดลอกมาแล้ว จะลบแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่เดิมทิ้งไปให้ด้วย (เฉพาะแผ่นที่เก็บข้อมูลที่คัดลอกมาเท่านั้น) | coruscant | (คะรัส'คันท) adj. แวววับ, เป็นประกายแวววับ, สุกใส | coruscate | (คอ'รัสเคท) vi. แวววับ, เป็นประกายแวววับ, Syn. sparkle | credential | (คริเดิน'เชิล) n. หลักฐานอ้างอิง, หนังสือรับรอง, หนังสือแนะนำตัว, สาสน์ตราตั้งทูต, ประกาศนียบัตร. adj. ซึ่งเป็นหลักฐานอ้างอิง หรือรับรอง, See also: credentialed adj. | crier | (ไคร'เออะ) n. ผู้ร้อง, คนร้องขาย, เจ้าหน้าที่ศาลที่เรียกขาน, เจ้าหน้าที่ประกาศ | cry | (ไคร) { cried, crying, cries } vt., vi., n. (การ, เสียง) ร้อง, ร้องเรียก, ร้องขอ, แผดเสียงร้อง, ร้องไห้, หลั่งน้ำตา, การป่าวประกาศ, การเรียกพยานในศาล | data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น |
| advertise | (vt) โฆษณา, ประกาศ, แจ้งความ | advertisement | (n) การโฆษณา, การประกาศ, การแจ้งความ | affirmation | (n) การประกาศ, การยืนยัน, การรับรอง | agenda | (n) ระเบียบวาระการประชุม | announce | (vt) ประกาศ, แถลง, แจ้ง | announcement | (n) การประกาศ, การแถลง, การแจ้ง | announcer | (n) ผู้ประกาศ, ผู้แถลง | annunciate | (vt) ประกาศ, แจ้ง | annunciation | (n) การประกาศ, การแจ้ง | annunciator | (n) ผู้ประกาศ, ผู้แจ้ง | avow | (vt) รับสารภาพ, ประกาศ, รับรอง, สบถสาบาน, ปฏิญาณ | ban | (n) การห้าม, การประกาศห้าม, การสั่งห้าม | ban | (vt) ห้าม, สั่งห้าม, ประกาศห้าม | bellman | (n) คนตีระฆัง, คนเดินประกาศข่าว, ยาม | billboard | (n) บอร์ด, กระดานปิดประกาศ | billsticker | (n) ผู้ติดประกาศ, ผู้ติดโฆษณา, ผู้ติดใบปลิว | blaze | (vt) แพร่, กระจาย, เผยแพร่, แถลง, ประกาศ | blazer | (n) เสื้อสามารถ, ผู้ประกาศ | blazon | (vt) ประกาศ, ทำเครื่องหมาย, ประดับ, แสดง | bulletin | (n) ประกาศ, แถลงการณ์ | certificate | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, ใบรับรอง, หนังสือรับรอง | credentials | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, หนังสือรับรอง, หลักฐานอ้างอิง, สาสน์ตราตั้ง | crier | (n) คนป่าวประกาศ, ผู้ประกาศ | Decalogue | (n บัญญัติ 10) ประการ | declaration | (n) คำประกาศ, การประกาศ, การเปิดเผย, การแจ้ง, แถลงการณ์ | declarative | (adj) ซึ่งบอกเล่า, ที่เปิดเผย, ที่ประกาศ, ที่อธิบาย | declare | (vi, vt) ประกาศ, แถลง, เปิดเผย, บอกกล่าว, แจ้ง | decree | (n) กฎ, พระราชกฤษฎีกา, คำสั่ง, คำบัญชา, ประกาศิต, คำพิพากษา | decree | (vt) ประกาศพระราชกฤษฎีกา, สั่ง, บัญชา, พิพากษา | diploma | (n) ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, อนุปริญญา, หนังสือสำคัญ | divulge | (vt) เปิดเผย, บอก(ความลับ), ประกาศ | edict | (n) คำสั่ง, คำประกาศ, คำประกาศิต, พระบรมราชโองการ, พระราชกฤษฎีกา | enact | (vt) ประกาศเป็นกฎหมาย, แสดงบทบาท, ออกพระราชบัญญัติ | enactment | (n) การประกาศเป็นกฎหมาย, พระบรมราชโองการ, พระราชบัญญัติ | enunciate | (vi) เปล่งเสียง, แถลง, สาธยาย, ประกาศ | enunciation | (n) การออกเสียง, การอ่านออกเสียง, การแถลง, การประกาศ, การสาธยาย | first | (n) ตอนแรก, ชั้นหนึ่ง, วันที่หนึ่ง, ประการแรก, อันดับหนึ่ง | former | (n) อันก่อน, กรณีแรก, ประเด็นแรก, ประการแรก, ข้อแรก | glitter | (n) แสงประกาย, แสงแวววาว, แสงระยิบระยับ | glitter | (vi) ส่องแสงเป็นประกาย, ส่องแสงระยิบ, ส่องแสงแวววาว | harbinger | (vt) ประกาศ, นำทาง, เบิกทาง, ไปล่วงหน้า | herald | (vt) แจ้งข่าว, ประกาศ, แถลง | heraldic | (adj) เกี่ยวกับผู้สื่อข่าว, เป็นพิธีการ, เกี่ยวกับการประกาศ | hereby | (adv) โดยนัยนี้, โดยวิธีนี้, ด้วยประการฉะนี้ | intimate | (vt) แนะ, บอก, แจ้ง, แสดง, ประกาศ | intimation | (n) การแนะ, การบอก, การแจ้ง, การแสดง, การชี้แจง, การประกาศ | launch | (vt) ปล่อยลงน้ำ, ปล่อย(จรวด), ส่งหมัด, ประกาศ, กล่าว, ยิง | Lucifer | (n) ซาตาน, มาร, ดาวประกายพรึก, ดาวพระศุกร์ | mandate | (n) คำสั่ง, อำนาจที่ได้รับมอบหมาย, อาณัติ, กฤษฎีกา, ประกาศิต | mandate | (vt) ทำให้อยู่ในอาณัติ, มอบอำนาจ, ออกประกาศิต |
| Act of war | เหตุแห่งสงคราม คือการกระทำหรือเหตุการณ์ใดๆที่ทำให้อีกฝ่ายมีความชอบธรรมในการประกาศสงคราม, Syn. Casus belli | alhambra decree | (n) พระราชประกาศอาลัมบรา เป็นพระราชประกาศที่ออกโดยสมเด็จพระราชินีนาถอิสซาเบลลาแห่งสเปน และสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอาราอน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1492 เพื่อขับไล่ชาวยิวออกจากสเปน (wikipedia.org), Syn. Edict of Expulsion | Ark of the Covenant | (n) หีบแห่งพันธสัญญา บรรจุบัญญัติสิบประการของพระเจ้าไว้ | cyber security | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | Declaration of a State of Emergency | (n) ประกาศภาวะฉุกเฉิน | declare war on | (vt, phrase) ประกาศสงครามกับ | Free Carrier ( FCA ) | การเสนอราคา ที่ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการมอบสินค้าตามสัญญาก็ต่อเมื่อผู้ขายได้จัดสินค้าส่งมอบให้กับผู้รับขนส่ง ณ สถานที่ของผู้รับขนส่ง(เช่น บรรดาบริษัท shipping ต่างๆ) ตามที่ผู้ซื้อระบุไว้เพราะฉะนั้นในการเสนอราคา ผู้ขายก็จะเสนอราคาขาย ที่บวกค่าส่งมอบสินค้าในเบื้องต้นลงไปด้วย | Hot Work | (n) งานที่ทำให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟ | How Work | (n) งานที่ทำให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟ | NOTAM | [no-tam] (Notice to Airmen) ประกาศนักบิน | public service announcements | ประกาศโฆษณาในบริการสาธารณะ | scarlet | (vt, adj) (สการ์เล็ต) สีแดงเป็นประกาย | speleothems | (n) หินถ้ำ หินที่เกิดภายในถ้ำในรูปลักษณะต่างๆ มีประกายระยิบระยับจากการสะสมแร่ เช่น หินงอก หินย้อย | กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ | (adj, name, uniq) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (อังกฤษ: Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก |
| 伝道師 | [でんどうし, dendoushi] (n) นักประกาศ (ศาสนาคริสต์) | 名乗り | [なのり, nanori] (n) การประกาศตัว | 証明書 | [しょうめいしょ, shoumeisho] (n) ใบรับรอง ประกาศนียบัตร |
| 予告 | [よこく, yokoku] (n, vi) (การ)ประกาศ หรือแจ้งเตือนล่วงหน้า, See also: R. 通知、警告 | 掲示 | [けいじ, keiji] (n) การติดประกาศ | 掲示板 | [けいじばん, keijiban] (n) กระดานข่าว, เว็บบอร์ด, บอร์ดติดประกาศ | 宵の明星 | [よいのみょうじょう, yoinomyoujou] (n) ดาวศุกร์ ดาวประกายพฤกษ์ ดาวรุ่ง | 発布 | [はっぷ, happu] การประกาศใช้กฎหมาย | 金ぴか | [きんぴか, kinpika] เป็นประกายสีทองระยิบระยับ | 立て札 | [たてふだ, tatefuda] (n) ป้ายประกาศ | アナウンサー | [あなうんさー, anaunsa] (n) ผู้ประกาศ (ข่าว), โฆษก | 火気 | [かき, kaki] 1. ไฟ (ที่เป็นต้นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้) 2. ความอุ่นจากไฟ 3. ประกายไฟ (ในป้ายเตือน) | 火気厳禁 | [かきげんきん, kakigenkin] (n, phrase) ห้ามจุดไฟ ห้ามทำให้เกิดประกายไฟ |
| 掲示板 | [けいじばん, keijiban] TH: ป้ายติดประกาศ EN: bulletin board | 輝く | [かがやく, kagayaku] TH: เป็นประกาย EN: to shine | お知らせ | [おしらせ, oshirase] TH: หมายประกาศ EN: Notification |
| Sprecher | (n) |der, pl. Sprecher| โฆษก, ผู้ประกาศ | Zeugnis | (n) |das, pl. Zeugnisse| ประกาศนียบัตร | Nachricht | (n) |die, pl. Nachrichten| คำประกาศ | großartig | (adj, adv) ดีมาก, ยิ่งใหญ่ เช่น ein großartiger Junge ชายหนุ่มที่ดีมาก, ein großartiges Bauwerk สิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ตระการ, Syn. klasse | ankündigen | (vt) |kündigte an, hat angekündigt| ประกาศ, แจ้ง เช่น In Tschechien ist es üblich, daß man einen Besuch telefonisch ankündigt., See also: melden | Ansage | (n) |die, pl. Ansagen| คำประกาศตามวิทยุ, โทรทัศน์, หรือตามงานต่างๆ | ansagen | (n) |sagte an, hat angesagt| ประกาศตามวิทยุ, โทรทัศน์, หรือตามงานต่างๆ ว่ามีรายการอะไรถัดไป, Syn. ankündigen | Plakat | (n) |das, pl. Plakate| ใบประกาศ, ป้ายโฆษณา, ป้ายประกาศ, โปสเตอร์ | beglaubigen | (vt) |beglaubigte, hat beglaubigt, etw.(A)| ให้การรับรอง, ยืนยัน, พิสูจน์ว่าจริง เช่น Die Kopie des Abschlusszeugnisses muß beglaubigt werden. สำเนาใบประกาศนียบัตรจบการศึกษาต้องได้รับการรับรอง | Fachoberschule | (n) |die, pl.Fachoberschulen| สถาบันวิชาชีพ, สถานศึกษาด้านอาชีพหรือโรงเรียนอาชีวะซึ่งเทียบเท่ากับโรงเรียนมัธยมปลาย จบไปได้ประกาศนียบัตรเป็น Fachhochschulreife | angeblich | (adj, adv) เป็นที่ประกาศให้ทราบ, เป็นที่รู้กัน เช่น Er ist angeblich wieder mit seiner Ex-Freundin zusammen und will sie sogar heiraten. | Bekanntgabe | (n) |die, nur Sg.| การประกาศอย่างเป็นทางการ เช่น Der Amtsinhaber trat nach Bekanntgabe der Wahlergebnisse im Fernsehen auf. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |