ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รู้ว่า, -รู้ว่า- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ โรคประจำตัว | (n) ต้องไม่ใช่ underlying disease อยากอธิบายเพิ่ม แต่หากอธิบายแล้ว ใช้เวลาแล้ว ไม่ได้รับรู้ว่าได้ส่งต่อถึงการพิจารณา ก็ไม่อยากเขียนเพิ่มเติม. เคยเขียนแล้ว. |
|
| กระดี๊กระด๊า | ก. ระริกระรี้, ตื่นเต้นแสดงความสนใจเพศตรงข้าม, เช่น พอเห็นหนุ่มหล่อ ๆ มาร่วมงาน สาว ๆ ก็กระดี๊กระด๊ากันเป็นแถว, แสดงท่าทางอย่างเห็นได้ชัดว่าดีใจหรือพอใจมาก เช่น แค่รู้ว่าผู้ชายจะมาสู่ขอลูกสาว ว่าที่แม่ยายก็กระดี๊กระด๊าจนเก็บอาการไม่อยู่, ตื่นเต้นแสดงความดีใจจนเกินงาม เช่น พอรู้ว่าหัวหน้าจะพาไปเที่ยวทะเลก็กระดี๊กระด๊ากันไปทั้งแผนก, กะดี๊กะด๊า หรือ ดี๊ด๊า ก็ว่า. | กระแทกกระทั้น | ว. อาการที่ลงเสียงหนักหรือกระแทกสิ่งของให้รู้ว่าไม่พอใจหรือโกรธ. | กรีด ๓ | ระไป, ครูดไป, เช่น เอาหลังเล็บกรีดลูกทุเรียนเพื่อให้รู้ว่ากินได้หรือยัง | ก่อง ๓ | น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง ใช้ในจังหวัดหนองคาย ทำด้วยตาข่าย ซึ่งด้านหนึ่งติดกับลำไม้ไผ่คล้ายธง ทิ้งชายด้านหนึ่งลงไปในนํ้า มุมหนึ่งถ่วงด้วยหิน และอีกมุมหนึ่งมีเชือกโยงมาบนเรือ ลากติดไปกับเรือ พอรู้ว่าปลาติดตาข่ายก็สาวเชือกขึ้นมา. | กะลิ้มกะเหลี่ย | ว. แสดงอาการให้รู้ว่าอยากได้. | กู่ ๒ | ก. ส่งเสียงเป็นสัญญาณให้รู้ว่าอยู่ที่ไหน โดยปรกติเปล่งเสียง วู้. | คลำ | (คฺลำ) ก. กิริยาที่ใช้อวัยวะเช่นมือ แตะ ลูบ หรือควานอย่างช้า ๆ เพื่อให้รู้ว่าเป็นอะไรอยู่ที่ไหน เช่น คลำหาทางออก คลำหาสวิตช์ไฟ | จ๊วก | ว. คำแต่งคำ ขาว ให้รู้ว่าสีขาวมาก, จั๊วะ ก็ว่า. | จ๋อย ๒ | ว. คำแต่งคำ เหลือง หรือ หวาน ให้รู้ว่าเหลืองหรือหวานจริง ๆ เช่น เหลืองจ๋อย หวานจ๋อย. | จั๊วะ | ว. คำแต่งคำ ขาว ให้รู้ว่าสีขาวมาก, จ๊วก ก็ว่า. | จ้ำม่ำ | ว. คำประกอบลักษณะอ้วน ให้รู้ว่าอ้วนน่ารัก (โดยมากใช้เฉพาะเด็ก). | ชื่อเสียงเรียงนาม | น. ชื่อและเทือกเถาเหล่ากอ เช่น กว่าจะรู้ว่าเป็นลูกหลานใครต้องถามชื่อเสียงเรียงนามกันอยู่นาน, ชื่อ เช่น ถ้าบอกชื่อเสียงเรียงนามของเขาแล้ว เชื่อว่าทุกคนต้องรู้จัก. | ซาก ๑ | น. ร่างของคนหรือสัตว์ที่ตายจนโทรมเหลือพอเป็นเค้าให้รู้ว่าเคยเป็นอะไร, สิ่งก่อสร้างที่ปรักหักพังแล้วเหลือพอเป็นเค้าให้รู้ว่าเคยเป็นอะไร. | ด้วย | บ. คำนำหน้านามเพื่อให้รู้ว่านามนั้นเป็นเครื่องใช้หรือเป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องกระทำ เช่น ฟันด้วยมีด, เพราะ, เหตุ, เช่น ลงโทษด้วยอารมณ์ ได้ดีด้วยความสามารถ. สัน. เพราะ, เหตุ, เช่น ด้วยปรากฏว่า. | ต้นบท | น. คนบอกบทให้คนรำรู้ว่าจะทำบทบาทอย่างไร หรือให้คนร้องรู้ว่าจะร้องทำนองและเนื้ออย่างไร. | ตั้งเค้า | ก. เริ่มแสดงให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า. | ตาบอด | น. ตามืด, ตามองไม่เห็น, โดยปริยายหมายถึงหลงผิดไปชั่วคราวไม่รู้ว่าอะไรผิดอะไรถูก เช่น เพราะความรักเลยทำให้เขาตาบอดไปชั่วระยะหนึ่ง. | ตาแหลม | ว. มีสายตาคมพอมองเห็นก็รู้ทันทีว่าอะไรดีมีคุณค่า เช่น ผู้หญิงคนนี้ตาแหลม พอมองเห็นหัวแหวนก็รู้ว่าเป็นเพชรแท้หรือเพชรเทียม. | ติเรือทั้งโกลน | ก. ตำหนิสิ่งที่ยังทำไม่เสร็จหรือที่ยังไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร, ติพล่อย ๆ ไปเสียก่อนที่จะรู้ว่าอะไรเป็นอะไร, มักใช้เข้าคู่กับ ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว เป็น ติเรือทั้งโกลน ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว. | ทักนิมิต | ก. ถามตอบในพิธีกรรมฝังลูกนิมิตผูกพัทธสีมา เพื่อให้รู้ว่าทิศใดมีสิ่งใดเป็นนิมิต. | ทุ่นเบ็ด | น. ทุ่นสำหรับผูกสายเบ็ดตกปลา เพื่อเป็นสัญญาณให้รู้ว่าปลากินเบ็ด. | นิรนาม | (-ระนาม) ว. ไม่รู้ว่าชื่ออะไร. | นี่ | ว. คำใช้ประกอบคำนามหรือกริยาให้รู้ว่าอยู่ใกล้หรือชี้เฉพาะ เช่น หนังสือนี่แต่งดี ขนมนี่อร่อย อยู่นี่ มานี่ | นึกไม่ถึง | ก. คาดไม่ถึง, ไม่คิดว่าจะเป็นไปได้เช่นนั้น, เช่น รู้ว่าเขาจะเข้ามาทำงานด้วย แต่ก็นึกไม่ถึงว่าเขาจะมาเป็นสายให้โจร. | เนื้อเพลง ๑ | น. ส่วนสำคัญของทำนองเพลงที่บอกให้รู้ว่าเป็นเพลงอะไร | บอกยี่ห้อ | ก. แสดงกิริยาท่าทีหรือคำพูดให้รู้ว่ามีลักษณะนิสัยใจคอหรือชาติตระกูลเป็นอย่างไรเป็นต้น. | ปนเป | ว. ปนกันยุ่งจนไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร. | ประชัน | ว. อาการที่แข่งขันเพื่อให้รู้ว่าใครจะแสดงได้ดีกว่าหรือเก่งกว่ากัน เช่น งิ้ว ๒ โรงประชันกัน อย่าเอาเป็ดขันประชันไก่, โดยปริยายหมายถึง อาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เด็กร้องไห้ประชันกัน. | ปา | คำใช้แทนกิริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำประกอบที่ทำให้รู้ว่าเกินกว่าที่คาดคิด, มักใช้ว่า ปาขึ้นไป หรือ ปาเข้าไป, เช่น ค่าโดยสารปาขึ้นไปตั้ง ๑๐ บาท กว่าจะทำงานเสร็จก็ปาเข้าไปตั้ง ๒ ทุ่ม. | ปิดบัญชี | ก. บันทึกสรุปผลการดำเนินกิจการเมื่อสิ้นงวดหรือครบปีบัญชีเพื่อแสดงให้รู้ว่าได้กำไรหรือขาดทุนเท่าไร. | ปีมะโว้ | น. เวลานานมาแล้วจนไม่รู้ว่าตั้งแต่เมื่อใด. | เผชิญภัย | ก. เจออันตรายเฉพาะหน้า, กล้าเสี่ยงภัยโดยรู้ว่าจะมีอันตราย. | พลัด | แยกจากไปโดยไม่ตั้งใจ เช่น มาด้วยกัน แต่คนแน่นมาก เลยพลัดกันไป, แยกจากไป โดยไม่รู้ว่าไปอยู่ที่ใด เช่น พลัดพ่อ พลัดแม่ พลัดลูก พลัดเมีย, จากที่ที่เคยอยู่ เช่น พลัดถิ่นฐานบ้านเมือง พลัดบ้าน พลัดเมือง. | เพศ | น. รูปที่แสดงให้รู้ว่าหญิงหรือชาย | ไม่รู้จักเสือเอาเรือเข้ามาจอดไม่รู้จักมอดเอาไม้เข้ามาวาง | ก. ทำสิ่งที่ไม่รู้ว่าจะมีภัยแก่ตัว. | ยติภังค์ | เครื่องหมายขีดสั้น - ใช้เป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าพยางค์หน้ากับพยางค์หลังนั้นติดกันหรือเป็นคำเดียวกัน ตัวที่เขียนแยกนั้นจะอยู่ในบรรทัดเดียวกันหรือคนละบรรทัดก็ได้, เขียนเป็น ยัติภังค์ ก็มี. | ยอม | ก. อาการที่แสดงออกบอกให้รู้ว่าเห็นด้วย ไม่ขัด ตกลงปลงใจ เช่น ยอมตามที่สั่ง ยอมนั่ง ยอมตาย, ผ่อนผันให้ เช่น ยอมให้ทำได้ ยอมให้ไป, ไม่สู้ เช่น เรื่องนี้ผมยอมเขา. | ยิบ ๒ | ก. ยักเอาไว้, ริบไว้, เช่น ไม่รู้ว่าใครเอาของมาลืมทิ้งไว้ เลยยิบเอาไปเสียเลย. | เยี่ยม ๆ มอง ๆ | ก. โผล่มองบ่อย ๆ (เพื่อให้เห็น หรือเพื่อให้รู้ว่ามีใครหรืออะไรอยู่ข้างใน). | รู้ตัว | รู้ว่าใครเป็นผู้ทำเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น รู้ตัวคนส่งบัตรสนเท่ห์ รู้ตัวคนส่งดอกไม้มาอวยพรวันเกิด. | รู้ท่า | ก. รู้ทันความคิด, รู้ว่าอีกฝ่ายหนึ่งคิดอย่างไร, เช่น เห็นหน้าน้องก็รู้ท่าว่าจะมาขอเงิน. | รู้สึก | ก. รู้ตัว เช่น ย่องไปข้างหลังอย่าให้เขารู้สึก หลับเป็นตายปลุกเท่าไรก็ไม่รู้สึก, รู้ด้วยการสัมผัส เช่น รู้สึกร้อน รู้สึกหนาว, รู้สำนึก เช่น เขารู้สึกตัวว่าทำผิด, เกิดอาการที่รู้ว่าเป็นสุขหรือทุกข์ เช่น รู้สึกสนุก รู้สึกซาบซึ้ง รู้สึกมึนศีรษะ, เกิดสังหรณ์ขึ้นในใจ เช่น รู้สึกว่าจะมีใครมาหา, มีแนวโน้มให้สันนิษฐานหรือคาดคะเนว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น เช่น รู้สึกว่าสินค้าเกษตรจะมีราคาตกต่ำในปีนี้ ในที่สุดต้องยกเลิกเรื่องบางเรื่องเพราะรู้สึกว่าจะไปไม่รอด. | ล้มทั้งยืน | ก. ล้มขณะที่ยืนอยู่ เช่น ถูกเตะล้มทั้งยืน เป็นลมล้มทั้งยืน, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ้นเนื้อประดาตัวหรือผิดหวังอย่างรุนแรงโดยไม่เคยคาดคิดมาก่อน, สูญเสียสิ่งที่รักหรือปรารถนาอย่างยิ่งในทันทีทันใดโดยไม่เคยคาดคิดมาก่อน เช่น พอรู้ว่าลูกถูกรถทับตายเลยเสียใจแทบล้มทั้งยืน. | ลอง ๒ | ก. กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ว่าเป็นอย่างไร เช่น ลองชิมผลไม้ว่าจะมีรสชาติอย่างไร, กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ว่าเป็นอะไรหรือใช่หรือไม่ เช่น ลองชิมก้อนขาว ๆ ว่าเป็นเกลือหรือน้ำตาล | ละ ๑ | ว. คำประกอบคำนามให้รู้ว่าเป็นหน่วยหนึ่ง ๆ หรือส่วนหนึ่ง ๆ ในจำนวนรวม ซึ่งกำหนดเป็นราย ๆ ไป เช่น คนละ ปีละ, คำประกอบกริยาเพื่อเน้นความให้มีนํ้าหนักขึ้น เช่น ไปละ เอาละ. | ลังเล | ก. ไม่แน่ใจ, ยังตัดสินใจไม่ได้, เช่น ลังเลใจไม่รู้ว่าจะไปดีหรือไม่ไปดี. | ลับลมคมใน | ว. มีเงื่อนงำบางอย่างแฝงอยู่ ไม่รู้ว่าความจริงเป็นอย่างไร เช่น เขาเป็นคนลับลมคมใน คบยาก เรื่องนี้มีลับลมคมในต้องสืบสวนต่อไป. | ลิงค์ | ประเภทคำในไวยากรณ์ที่บอกให้รู้ว่าคำนั้นเป็นเพศอะไร เช่น ปุงลิงค์ คือ เพศชาย อิตถีลิงค์ คือ เพศหญิง | ลึงค์ | ประเภทคำในไวยากรณ์ที่บอกให้รู้ว่าคำนั้นเป็นเพศอะไร เช่น ปุลลึงค์ คือ เพศชาย สตรีลึงค์ คือ เพศหญิง | ลูบอก | ก. อาการที่แสดงความตระหนกตกใจหรือแปลกใจมากเป็นต้น เช่น พอรู้ว่าลูกสอบตกแม่ถึงกับลูบอก. |
| | Agnosia, Visual | จำสิ่งของที่เห็นไม่ได้, มองวัตถุที่เห็นแล้วไม่รู้ว่าเป็นอะไร, แอ็กโนเสียเกี่ยวกับการเห็น [การแพทย์] |
| | take in | (vi) หลงเชื่อ เช่น At first he was completely taken in, but then he realized it was a hoax. ตอนแรกเขาเชื้อสนิทเลย แต่ต่อมาก็ค่อยรู้ว่ามันเป็นเรื่องไม่จริง |
| disillusionment | (n) ความผิดหวังเมื่อรู้ว่าบางสิ่งไม่ได้ดีอย่างที่คิดหรือหวังไว้, See also: ความท้อแท้, Syn. disenchantment | know which is which | (idm) รู้ว่าใครเป็นใคร, See also: แยกความแตกต่างได้ | know which side one's bread is buttered on | (idm) รู้ว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์, See also: ตระหนักดีว่าสิ่งใดสำคัญ | tell which is which | (idm) รู้ว่าใครเป็นใคร, See also: แยกความแตกต่างได้ | lay emphasis | (idm) ตระหนักว่าสำคัญ, See also: ทำให้รู้ว่าสำคัญ, Syn. lay stress | lay stress | (idm) ทำให้รู้ว่าสำคัญ, See also: ตระหนักว่าสำคัญ, Syn. lay weight | lay weight | (idm) ทำให้รู้ว่าสำคัญ, See also: ตระหนักว่าสำคัญ, Syn. lay emphasis | put down to | (phrv) รู้ว่าเป็นผลมาจาก, Syn. attribute to | put words in inverted commas | (idm) ใส่เครื่องหมายเน้น, See also: เน้นให้รู้ว่าสำคัญ, Syn. place in, set in | scilicet | (adv) นั่นคือ, See also: กล่าวคือ, เป็นที่รู้ว่า, Syn. in particular, namely, to wit, videlicet |
| ack | (แอ็ค) ตอบรับ รับรู้ ย่อมาจากคำว่า acknowledge ใช้ในความหมายของการรับรู้ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะมีการถ่ายโอนข้อมูลให้แก่กันและกัน เท่ากับเป็นการรับรู้ว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ และพร้อมที่จะรับการถ่ายโอนข้อมูลจากกัน | beachball pointer | ลูกบอลล์ชายหาด <คำแปล>หมายถึง สัญลักษณ์ที่ปรากฏบนจอภาพของเครื่องแมคอินทอช ที่จะทำให้ผู้ใช้รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์กำลังทำงานอยู่ทั้ง ๆ ที่เรามองไม่เห็นการทำงานใด ๆ เลย ที่เรียกว่า ลูกบอลล์ชายหาด ก็คงเพราะว่า รูปร่างหน้าตาของสัญลักษณ์นี้มีรูปลักษณะอย่างนั้นจริง ๆ กล่าวคือเป็นรูปลูกบอลล์ | beta test | ทดสอบรอบสองหมายถึง โปรแกรมที่ทำออกมาให้ลูกค้าทำการทดสอบเป็นครั้งที่สอง (ครั้งแรกเรียกว่า alpha test) เพื่อจะดูว่า โปรแกรมดังกล่าวปฏิบัติงานตามที่ต้องการได้เรียบร้อยครบถ้วนดีแล้วหรือยัง ก่อนที่จะนำออกขายในตลาด โปรแกรมที่นำออกมาทดสอบเหล่านี้มักจะมีเขียนบอกไว้ด้วย เพื่อให้ผู้ใช้รู้ว่า ยังเป็นโปรแกรมที่อยู่ในขั้นทดลองใช้ เช่น Alpha 1, Beta 5 ซึ่งหมายถึง รุ่น 1.0 หรือ 5.0 นั่นเองดู alpha test ประกอบ | cis- | 1. Pref. อยู่ทางด้านใกล้ 2. (สิส) ย่อมาจาก CompuServe Information Services หมายถึง งานบริการข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) การใช้บริการดังกล่าว กำลังเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เพราะสะดวก รวดเร็วกว่าการหาข้อมูลด้วยตนเอง (ว่ากันว่า การที่ใช้เครื่องหมาย $ แทนตัว s ธรรมดา อาจจะเพื่อบ่งบอกให้รู้ว่า รายการนี้ขอฟรี ๆ กันไม่ได้ จะต้องมีการจ่ายค่าบริการ) ดู CompuServe ประกอบ | convict | (คอน'วิคทฺ) { convicted, convicting, convicts } n. ผู้ที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิด, นักโทษ vt. (คัน วิคทฺ') พิสูจน์แล้วว่ากระทำผิด, ตัดสินว่าได้กระทำผิด, ทำให้รู้ว่ามีความผิดหรือมีโทษ, See also: convictable adj. ดู convictible adj. convictive adj. ดูconv | convince | (คันวินซฺ') { convinced, convincing, convinces } vt. ทำให้เชื่อมั่น, ทำให้มั่นใจ, ทำให้รู้ว่ากระทำผิด, See also: convincedly adv. ดูconvince convincingly adv. ดูconvince convincibility n. ดูconvince convincedness n. ดูconvince convincingness | cursor | ตัวชี้ตำแหน่งในระบบดอส หมายถึง สัญลักษณ์บนจอภาพที่มักจะมีแสงวาบ ๆ บางทีเรียกว่า "ตัวกระพริบ" เพื่อชี้ให้รู้ว่า ตำแหน่งของการพิมพ์อักขระตัวต่อไปจะอยู่ที่ใด ในระบบ วินโดว์ตัวชี้ตำแหน่งจะมีลักษณะเป็นรูปลูกศร แต่ในโปรแกรมบางโปรแกรม อาจมีรูปลักษณ์เป็นอย่างอื่น เช่น กากบาท มือ ฯ | data terminal ready | ปลายทางพร้อมใช้ตัวย่อว่า DTR (อ่านว่า ดีทีอาร์) หมายถึงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บอกให้รู้ว่า โมเด็ม (modem) พร้อม และสถานีปลายทางก็พร้อมที่จะรับข้อมูลเข้ามาได้แล้ว | dtr | (ดีทีอาร์) ย่อมาจากคำ data terminal ready (แปลว่า ปลายทางพร้อม) หมายถึงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บอกให้รู้ว่า โมเด็ม (modem) พร้อม และสถานีปลายทางก็พร้อมที่จะรับข้อมูลเข้ามาได้แล้ว | end of file | สิ้นสุดแฟ้มใช้ตัวย่อว่า EOF เป็นสัญลักษณ์พิเศษ ที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหนมีความหมายเหมือน end of job | eof | (อีโอเอฟ) ย่อมาจาก end of file (แปลว่าสิ้นสุดแฟ้ม) เป็นสัญลักษณ์พิเศษที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหน | error messsage | ข้อความระบุความผิดพลาดหมายถึงข้อความที่เตือนบนจอภาพเพื่อบอกให้รู้ว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้นมีอะไรผิด อาจเป็นไปได้ว่า ผู้ใช้ใช้คำสั่งผิด หรือทำผิดขั้นตอน สำหรับเครื่องแมคอินทอช ถ้าเป็นความผิดรุนแรง อาจเห็นเป็นลูกระเบิดบนจอภาพ ในกรณีที่เป็นเช่นนี้ จะต้องเริ่มต้นใหม่หมด | extension | (อิคซฺเทน'เชิน) n. การขยายออก, การยืดออก, การแผ่ออก, สิ่งที่ขยายออก, โทรศัพท์พ่วง นามสกุลในระบบดอส หมายถึง ตัวอักษรสามตัวที่อยู่หลังชื่อแฟ้มข้อมูล เนื่องจากอยู่ในตอนท้ายของชื่อ จึงนิยมเรียกกันว่า"นามสกุล" โดยปกติ คอมพิวเตอร์จะใช้นามสกุลนี้เป็นตัวบอกประเภทของแฟ้มข้อมูล จะมีจุดคั่นระหว่างชื่อและนามสกุล เช่น ถ้าแฟ้มข้อมูลที่เป็นภาษาปาสกาล (Pascal) ก็จะมีนามสกุล .PAS ถ้าเป็นแฟ้มภาษาเบสิก ก็จะมีนามสกุล .BAS อย่างนี้เป็นต้น หรือถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง ก็มักจะใช้นามสกุลว่า .BAK ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ควรต้องรู้ว่า นามสกุลอะไร บอกว่าเป็นแฟ้มข้อมูลประเภทไหน โดยเฉพาะนามสกุล .exe, .com, .bin, .doc, .bat ซึ่งจะต้องพบ บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน file type | gigo | (กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา | hourglass icon | นาฬิกาทรายหมายถึง สัญลักษณ์ของตัวชี้ตำแหน่ง ซึ่งปกติเป็นรูปลูกศร จะเปลี่ยนเป็นรูปนาฬิกาทราย เพื่อบอกให้รู้ว่า ในขณะนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์กำลังปฏิบัติการตามคำสั่งอยู่ (ขอให้รอผลด้วยความใจเย็นด้วยก็แล้วกัน) | know | (โน) { knew, known, knowing, knows } vt. รู้, รู้ดี, รู้จัก, รู้ว่า, ทราบ, เข้าใจ, จำได้, ตระหนักดี, วินิจฉัย, ออก, มองออก, ชำนาญ, สังวาส. vi. รู้, รู้จัก, รู้ดี. -Id. (know the ropes เข้าใจ, คุ้นเคยกับ) n. -Phr. (in theknow รู้เรื่องภายใน), Syn. un | know-how | (โน'ฮาว) n. ความชำนาญ, ความรู้ว่าจะทำอย่างไร, Syn. savvy, expertise | occasional irregularity | ความผิดปกติเป็นครั้งคราวหมายถึง ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว โดยหาสาเหตุของความผิดพลาดนั้น ไม่ได้ เช่น โปรแกรมที่กำลังวิ่งอยู่ดี ๆ ก็เกิดมีลูกระเบิดขึ้น (เฉพาะเครื่องแมคอินทอช) หรือค้าง (hang) เท่ากับบอกให้รู้ว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นแล้ว และเราจะไม่สามารถทำความผิดปกตินั้น ให้เกิดซ้ำได้อีก (เพราะไม่ทราบว่าเกิดได้อย่างไร) | pseudo instruction | คำสั่งเทียมคำสั่งลำลองหมายถึง คำสั่งในภาษาแอสเซมบลี (assembly) ที่บอกข้อมูลให้แอสเซมเบลอร์ว่า จะแปลเป็นภาษาเครื่องอย่างไร คำสั่งเทียมนี้จะไม่แปลเป็นภาษาเครื่องก่อน แต่จะกำหนดให้แอสเซมเบลอร์แปลโปรแกรมโดยตรง ตัวอย่างของคำสั่งเทียมที่ใช้มาก เช่น END เป็นสัญญาณให้รู้ว่า สิ้นสุดคำสั่งที่จะต้องแปลแล้ว | start-up disk | จานบันทึกสำหรับเริ่มเครื่องหมายถึง จานบันทึกจะเป็นจานแข็งหรือจานอ่อนก็ได้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะอ่านในทันทีที่เปิดเครื่องเพื่อจะได้รู้ว่าจะต้องทำอะไรต่อไป ในจานนี้จะมีคำสั่งต่าง ๆ ที่ต้องทำทันทีที่เริ่มเปิดเครื่อง | title bar | แถบชื่อ (แฟ้มข้อมูล) หมายถึง แถบยาวที่ส่วนบนของวินโดว์ เป็นที่ใช้บอกชื่อแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในวินโดว์นั้นหรือชื่อของงานที่เราสร้างขึ้น ในกรณีที่ไม่ได้กำหนดชื่อให้ไว้ แถบชื่อเรื่องนั้นจะพิมพ์คำว่า Untitled เอาไว้ให้รู้ว่ายังไม่ได้กำหนดชื่อใด ๆ ให้ และจะต้องตั้งชื่อเมื่อต้องการบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลภายหลัง |
| double-blind | (n) การศึกษาฤทธิ์ของยาซึ่งผู้ให้กับผู้รับตอนให้ยาไม่รู้ว่ายานั้นเป็นสารที่ active หรือ inert | lose track of time | ลืมบางสิ่งบางอย่าง เช่น When I surf the net I often lose track of time. Before I know it a few hours have gone by. แปลว่า เมื่อฉันท่องอินเตอร์เน็ตฉันจะลืมเวลาอยู่บ่อย ฉันเพิ่งรู้ว่ามันผ่านไปชั่วโมงแล้ว |
| いつか | [いつか, itsuka] (adj) ตำแหน่งเวลาในอนาคตซึ่งไม่รู้ว่าเมื่อไหร่ เช่น いつか会える。แปลว่า คงจะได้เจอกันวันใดวันหนึ่ง |
| jedenfalls | ไม่ว่ากรณีใดๆ, ในทุกๆ กรณี เช่น Ich weiß nicht wie lange die Sitzung dauert. Ich komme jedenfalls nach. ฉันไม่รู้ว่าที่ประชุมเลิกกี่โมง อย่างไรซะฉันก็จะตามไปนะ, Syn. auf jeden Fall | Verdacht | (n) |der, nur Sg.| สถานการณ์ที่กำลังถูกสงสัยอยู่ เช่น Man weiß nicht wo sie ist, aber es besteht Verdacht auf Bangkok. ไม่มีใครรู้ว่าเธอหายไปไหน แต่มีเหตุการณ์ชี้ว่าเธอน่าจะอยู่ที่กรุงเทพฯ | Bis dann! | บ๊ายบาย, แล้วเจอกัน (ใช้กล่าวลา ไม่ได้มีพิธีรีตองและเป็นที่รู้ว่าเดี๋ยวก็ได้เจอกันอีก), See also: Related: Bis später!, Bis nachher! | Ich habe den Sprung ins kalte Wasser gewagt. | กล้าเสี่ยงที่จะทำอะไรบางอย่าง (แปลตามตรง ฉันกล้าที่จะกระโดดลงไปในน้ำเย็น ในที่นี้ไม่ใช้น้ำร้อนเพราะว่าถ้าโดดลงไปในน้ำร้อน เราก็จะพอเดาผลได้ คือตัวเราเองจะโดนต้มสุก แต่การกระโดดลงไปในน้ำเย็นนั้น เราไม่รู้ว่าเราจะหนาวจนตาย แข็งจนตาย หรือรอดชีวิตได้ เพราะในน้ำเย็นอาจจะต้องใช้เวลาก่อนที่เราจะแข็งเป็นน้ำแข็ง ดังนั้นในที่นี้จึงหมายความว่าเป็นการเสี่ยงในการทำอะไรบางอย่าง โดยที่ไม่รู้ผลลัพธ์ที่ตามมา) |
| apprendre | (vt) เรียน, เรียนรู้, รับทราบ เช่น 1° apprendre à nager = เรียนว่ายน้ำ 2° apprendre que... = รับรู้ว่า..., Syn. étudier, métier |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |