ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ว่าย, -ว่าย- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ว่าย | (v) swim, Syn. แหวกว่าย, Example: พอฉันว่ายไปถึงฝั่งฉันก็หมดแรงเลย แทบจะไม่มีแรงก้าวขึ้นฝั่ง, Thai Definition: เคลื่อนไปโดยอาศัยกำลังแขน ขาเป็นต้น แหวกไปในน้ำหรือในอากาศ | ว่ายาก | (adj) stubborn, See also: obstinate, disobedient, obdurate, Syn. ดื้อดึง, หัวแข็ง, ดื้อรั้น, Ant. ว่าง่าย, Example: เขาเป็นเด็กว่ายาก พูดสอนอะไรก็ไม่เชื่อฟัง, Thai Definition: ที่ไม่อยู่ในโอวาท | ว่ายาก | (v) be stubborn, See also: be obstinate, be disobedient, be obdurate, Syn. ดื้อดึง, หัวแข็ง, ดื้อรั้น, Ant. ว่าง่าย, Example: ลูกชายคนโตของเขาว่ายากสอนยากไม่อยากมีใครเลี้ยงให้หรอก, Thai Definition: ไม่อยู่ในโอวาท | ว่ายน้ำ | (v) swim, Syn. ว่าย, Example: เมื่อก่อนนี้ก็ไปว่ายน้ำที่สปอร์ตคลับเป็นประจำ, Thai Definition: เคลื่อนไปโดยอาศัยกำลังแขน ขา หรือ ครีบ หาง แหวกไปในน้ำ | แหวกว่าย | (v) swim, Syn. ว่าย, ว่ายน้ำ, Example: ฝูงเป็ดกำลังแหวกว่ายอยู่ในคูน้ำใกล้สถานีรถไฟ, Thai Definition: เคลื่อนตัวไปมาในน้ำ | กางเกงว่ายน้ำ | (n) swimming trunks, Example: ผู้ชายต้องใส่กางเกงว่ายน้ำลงสระ, Count Unit: ตัว |
|
| ตกน้ำไม่ว่าย | ก. ไม่ช่วยตัวเอง. | ว่ายาก, ว่ายากสอนยาก | ว. ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, ไม่เชื่อฟังคำสั่งสอน. | ว่าย | ก. เคลื่อนไปโดยอาศัยกำลังแขน ขา ครีบ หรือ หาง แหวกไปในนํ้าหรือในอากาศ. | ว่ายตา | ก. แลกวาดไปในอากาศ. | ว่ายน้ำหาจระเข้ | ก. เสี่ยงเข้าพบทั้ง ๆ ที่รู้ว่าจะเป็นอันตราย. | ว่ายฟ้า | ก. เคลื่อนไปในอากาศ เช่น ไก่ฟ้าวานว่ายฟ้า หาวหน หาสมรมายล เถื่อนท้อง (ตะเลงพ่าย). | ว่ายหล้า | ก. ท่องเที่ยวไปในแผ่นดิน, เขียนเป็น หว้ายหล้า ก็มี เช่น เปนขุนยศยิ่งฟ้า ฤๅบาปจำหว้ายหล้า หล่มล้มตนเดียว (ลอ). | ว้าย | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจหรือดีใจเป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง). | เวียนว่ายตายเกิด | น. คติความเชื่อถือที่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เมื่อตายแล้วจะต้องไปเกิดอีก. | สอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ | ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีหรือที่เขาถนัดอยู่แล้ว. | แหวกว่าย | ก. เคลื่อนไปโดยอาศัยกำลังแขน ขาหรือครีบ หาง แหวกไปในน้ำหรือในอากาศ, โดยปริยายหมายถึงเวียนว่ายตายเกิด ในความว่า แหวกว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร. | กบ ๒ | น. ชื่อสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกหลายชนิด ในสกุล Rana วงศ์ Ranidae ลำตัวสั้นป้อมมีขนาดต่าง ๆ กัน ขาคู่หลังใหญ่และยาวกว่าขาคู่หน้า ตีนแบนมีพังผืดติดเป็นพืด เมื่อโตเต็มที่ไม่มีหาง กระโดดได้ไกล ว่ายน้ำ ดำน้ำได้เร็ว เมื่อยังเป็นตัวอ่อนมีหาง อยู่ในน้ำเรียกว่า ลูกอ๊อด ภายหลังจึงงอกขา หางหดหายไป แล้วขึ้นอาศัยบนบก หน้าแล้งอยู่แต่ในรู ไม่ออกหาอาหารชั่วคราว เรียกว่า กบจำศีล เช่น กบนา [ Hoplobatrachus rugulosus (Wiegmann) หรือ R. rugulosus (Wiegmann) ]. | กรรเชียง | (กัน-) น. เครื่องพุ้ยนํ้าให้เรือเคลื่อนไป รูปคล้ายแจวแต่ไม่มีหมวกแจว พาดกับหูกรรเชียงบนหลักที่อยู่ข้างแคมเรือข้างละอันคู่กัน ใช้เหนี่ยวด้ามให้พุ้ยน้ำ, ใช้ว่า กระเชียง ก็มี, ท่าว่ายน้ำโดยนอนหงายแล้วใช้แขนทั้ง ๒ พุ้ยน้ำให้ตัวเลื่อนไป, ตีกรรเชียง ก็ว่า. ก. กิริยาที่นั่งหันหน้าไปทางท้ายเรือแล้วใช้มือเหนี่ยวกรรเชียงพุ้ยน้ำให้เรือเคลื่อนไป, ตีกรรเชียง ก็ว่า. | กระดิบ, กระดิบ ๆ | ก. อาการที่คืบไปทีละน้อย เช่น ค่อย ๆ กระดิบไป ว่ายนํ้ากระดิบ ๆ หนอนกระดิบ ๆ ไป, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระดุบ เป็น กระดุบกระดิบ. | กระเดือก ๆ | ว. กระเสือกกระสนไปด้วยความลำบาก เช่น ว่ายน้ำกระเดือก ๆ. | กระทุ่ม ๒ | ก. เอาเท้าตีนํ้าเมื่อเวลาว่ายนํ้า | กระโสง | น. ปลากระสง เช่น กระโสงสังควาดหว้าย ชลา (สรรพสิทธิ์). (ดู กระสง). | กั้นซู่รั้วไซมาน | น. เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จับปลา ลักษณะเป็นถุงตาข่ายยาว ใช้หลักขนาดใหญ่ ๒ ต้น ปักห่างกันประมาณ ๖ เมตร เพื่อกางปากถุงไว้ใต้น้ำสำหรับดักปลาที่ว่ายตามกระแสน้ำลง มีไม้จริงขนาดเล็กหรือไม้รวกปักเป็นระยะออกจากปากถุงเป็นปีก ๒ ข้าง ให้ปีกกางเฉียงออกทำมุมประมาณ ๔๕-๙๐ องศา, ซู่กั้นรั้วไซมาน หรือ รั้วไซมาน ก็เรียก. | กันแสง ๒ | น. ผ้า, ผ้าสไบ, โบราณเขียนเป็น กนนแสง ก็มี เช่น อันว่ายกผ้าสรลอนยอกรสรไสว ไกวกนนแสงแคลงยยาบ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | กาน้ำ | น. ชื่อนกน้ำขนาดกลางถึงขนาดใหญ่หลายชนิด ในวงศ์ Phalacrocoracidae คอยาว ตัวสีดำ ตีนมีพังผืด นิ้วแบบตีนพัดเต็ม ว่ายนํ้าเหมือนเป็ด ดำนํ้าจับปลากิน อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ กานํ้าใหญ่ [ Phalacrocorax carbo (Linn.) ] กานํ้าปากยาว ( P. fuscicollisStephens) และกานํ้าเล็ก [ P. niger (Vieillot) ] . | กีฬา | น. กิจกรรมหรือการเล่นที่มีกฎกติกากำหนด เพื่อความสนุกเพลิดเพลินผ่อนคลายความเครียด หรือเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และอาจใช้เป็นการแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศ เช่น ฟุตบอล ว่ายน้ำ หมากรุก ปีนเขา ล่าสัตว์. (ป.). (ดู กรีฑา ๑). | เข็ม ๓ | น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กชนิด Dermogenys pusillus van Hasselt ในวงศ์ Hemiramphidae ปากล่างยื่นยาวแหลม ลำตัวกลมเรียวยาวคล้ายเข็ม ขอบหางกลม ขนาดยาวได้ถึง ๘ เซนติเมตร ออกลูกเป็นตัว พบว่ายตามผิวนํ้าในแหล่งนํ้านิ่งทั่วไป. | แข็ง | ว่ายาก เช่น เด็กคนนี้แข็ง | แข้งไก่ | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Megalaspis cordyla (Linn.) ในวงศ์ Carangidae ลำตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย เรียวลู่ไปทางคอดหางซึ่งแคบมากและเป็นเหลี่ยมแข็งคล้ายแข้งไก่ หน้าครีบก้นมีกระดูกเป็นหนามแข็ง ๒ อัน พับซ่อนในร่องเนื้อได้ ตาโตมีหนังตาไขมัน ปากกว้าง ครีบอกยาวใหญ่เป็นรูปเคียว ครีบหางเป็นแฉกกว้าง ท้ายครีบหลังและครีบก้นมีครีบฝอย ๗-๑๐ ครีบ เรียงห่างกัน เกล็ดเล็กแต่เฉพาะที่อยู่ในแนวเส้นข้างตัวจนถึงข้างหางขยายใหญ่มาก ด้านบนของหัวและลำตัวมีสีเขียวอมเทา ด้านท้องมีสีขาวเงิน ขอบแผ่นปิดเหงือกมีจุดสีดำใหญ่ ว่ายน้ำเร็ว อยู่เป็นฝูงใกล้ผิวน้ำ ขนาดยาวได้ถึง ๘๐ เซนติเมตร, ขาไก่ อีลอง อีโลง หรือ หางแข็ง ก็เรียก. | คอบ ๒ | ก. คืน, กลับ, เช่น สุทธนูประภาฟอง พัดจาก จยรแฮ ยงงคอบคืนหว้ายได้ สู่สํสองสํ (กำสรวล). | จระเข้ | (จอระ-) น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน มีหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Crocodylidae ปากและหัวยาว ปลายปากนูนสูงขึ้นเป็นช่องเปิดของรูหายใจ เรียกว่า ก้อนขี้หมา ลำตัวกลมยาว หนังเป็นเกล็ดแข็งทั้งตัว หางแบนยาวทางข้างใช้โบกว่ายนํ้า มักหากินในนํ้า อาศัยบริเวณป่าริมน้ำ ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ จระเข้บึง จระเข้นํ้าจืด หรือจระเข้สยาม ( Crocodylus siamensisSchneider) จระเข้นํ้าเค็ม อ้ายเคี่ยม หรืออ้ายทองหลาง ( C. porosus Schneider) และจระเข้ปากกระทุงเหวหรือตะโขง [ Tomistoma schlegelii (S. Müller) ], ตะเข้ หรือ อ้ายเข้ ก็เรียก, อีสานเรียก แข้, ปักษ์ใต้เรียก เข้ | ช่วงตัว | น. ระยะความยาวของตัว เช่น นักว่ายน้ำไทยว่ายนำคู่แข่งหลายช่วงตัว. | ชุด ๓ | เครื่องแต่งกายที่กำหนดให้ใช้ในโอกาสต่าง ๆ เช่น ชุดเจ้าสาว ชุดสากล ชุดว่ายน้ำ | ซู่กั้นรั้วไซมาน | น. เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จับปลา ลักษณะเป็นถุงตาข่ายยาว ใช้หลักขนาดใหญ่ ๒ ต้น ปักห่างกันประมาณ ๖ เมตร เพื่อกางปากถุงไว้ใต้น้ำสำหรับดักปลาที่ว่ายตามกระแสน้ำลง มีไม้จริงขนาดเล็กหรือไม้รวกปักเป็นระยะออกจากปากถุงเป็นปีก ๒ ข้าง ให้ปีกกางเฉียงออกทำมุมประมาณ ๔๕-๙๐ องศา, กั้นซู่รั้วไซมาน หรือ รั้วไซมาน ก็เรียก. | ดำ ๔ | น. ชื่อปูทะเลชนิด Scylla serrata (Forskål) ในวงศ์ Portunidae กระดองมีสีดำ ขาหลังคู่สุดท้ายแบนคล้ายใบพายใช้ว่ายน้ำ, ปูทะเล ก็เรียก. | ตราบ | (ตฺราบ) สัน. จนถึง, เมื่อ, เช่น ยังมีลมหายใจอยู่ตราบใด ก็ถือว่ายังมีชีวิตอยู่ตราบนั้น. | ตะเกียกตะกาย | ก. พยายามป่ายปีนไป, พยายามทุกทางเพื่อช่วยเหลือตนเองให้รอดพ้นจากความยากลำบากหรือเพื่อให้ประสบความสำเร็จ, เช่น ตะเกียกตะกายว่ายน้ำเข้าหาฝั่ง ตะเกียกตะกายเรียนจนจบปริญญาโท. | ตะโขง | น. ชื่อจระเข้ชนิด Tomistoma schlegelii Müller ในวงศ์ Crocodylidae ขนาดใหญ่กว่าจระเข้ทั่วไป ปากเล็กเรียวยาวคล้ายปากปลากระทุงเหวแต่งอนขึ้นด้านบนเล็กน้อย ตัวสีนํ้าตาลแดงมีลายสีนํ้าตาลเข้ม หางแบนใหญ่ใช้ว่ายนํ้า อาศัยตามป่าเลนชายนํ้ากร่อย ในประเทศไทยพบเฉพาะทางภาคใต้เท่านั้น, จระเข้ปากกระทุงเหว ก็เรียก. | ตะลุมพุก ๒ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดกลางชนิด Tenualosa toli (Valenciennes) ในวงศ์ Clupeidae ที่ว่ายเข้านํ้าจืดเพื่อสืบพันธุ์ ลำตัวยาวรี แบนข้างมาก ครีบหางเป็นแฉกลึก ท้องเป็นสันแหลม เกล็ดใหญ่ ขอบเรียบ เกล็ดที่สันท้องเป็นเหลี่ยมคม เรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย พื้นลำตัวสีเงิน หลังสีนํ้าเงินอมเทา ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, กระลุมพุก หรือ ชิขัก ก็เรียก. | ตับเต่า ๒ | น. ชื่อแมลงพวกด้วง ในวงศ์ Dytiscidae ส่วนใหญ่ปีกสีดำ ขอบปีกมีแถบสีน้ำตาล ขาคู่หลังแบน มีขน และยาวกว่าขาคู่อื่น บินได้ ว่ายน้ำได้ดี เมื่ออยู่ตามผิวน้ำมักดิ่งหัวลงน้ำ กินแมลงขนาดเล็กหรือลูกปลา ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Cybister limbatus (Fabricius) ลำตัวยาวประมาณ ๓ เซนติเมตร, ด้วงดิ่ง ก็เรียก. | ตีกรรเชียง | (-กัน-) ก. กิริยาที่นั่งหันหน้าไปทางท้ายเรือแล้วใช้มือเหนี่ยวกรรเชียงพุ้ยนํ้าให้เรือเคลื่อนไป, กรรเชียง ก็ว่า, ว่ายนํ้าโดยนอนหงายแล้วใช้แขนทั้ง ๒ พุ้ยนํ้าให้ตัวเลื่อนไป, กิริยาที่ชกไปถอยไป เรียกว่า ชกแบบตีกรรเชียง, (โบ) แจวเรือ. | ตีท้ายน้ำ | ก. ตีน้ำปลายท้องร่องด้านหนึ่งให้ปลาตกใจว่ายขึ้นมาทางปลายท้องร่องอีกด้านหนึ่ง เพื่อสะดวกในการจับ | ตูหนา | น. ชื่อปลาไหลนํ้าจืดชนิด Anguilla bicolor (Richardson) ในวงศ์ Anguillidae ที่ว่ายลงทะเลเพื่อขยายพันธุ์ ลำตัวกลมยาว แบนข้างทางท่อนหาง มีครีบอก เกล็ดเล็กฝังแน่นอยู่ในหนัง ลำตัวและครีบสีนํ้าตาลหรือเกือบดำเสมอกัน พบทางเขตภาคใต้ด้านทะเลอันดามัน ขนาดยาวได้ถึง ๑.๕ เมตร. | เต่าตนุ | (ตะหฺนุ) น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Chelonia mydas (Linn.) ในวงศ์ Cheloniidae เกล็ดกระดองหลังแต่ละเกล็ดมีลายเป็นทางคล้ายแสงอาทิตย์ จึงมีผู้เรียกว่า เต่าแสงอาทิตย์ ตีนแบนเป็นพาย ตีนหน้าใหญ่ยาวใช้เป็นหลักในการว่ายน้ำ ปรกติอาศัยอยู่ในทะเล จะขึ้นมาตามชายหาดเฉพาะเมื่อจะวางไข่เท่านั้น. | ทะลึ่ง | ให้ทำอย่างหนึ่งแต่กลับไปทำอีกอย่างหนึ่ง เช่น ใช้ให้ไปซื้อของทะลึ่งไปว่ายน้ำเสียนี่. | ทักท้วง | ก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองว่ายังไม่เห็นด้วย. | ท้า | ก. ชวนแข่งขัน, ชวนต่อสู้, เช่น ท้าว่ายน้ำแข่ง ท้ารบ. | นาก ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Mustelidae ขนลำตัวสีนํ้าตาลอมเทา มี ๒ ชั้น ชั้นในละเอียด ชั้นนอกหยาบ หัวกว้างและแบน ระหว่างนิ้วมีแผ่นพังผืดคล้ายตีนเป็ด หางแบน ขาหลังใหญ่และแข็งแรงกว่าขาหน้า ใช้ว่ายนํ้าร่วมกับหาง ไล่จับปลาและสัตว์นํ้าเล็ก ๆ ในประเทศไทยมี ๔ ชนิด ที่มีจำนวนมากและรู้จักกันทั่วไป คือ นากใหญ่ขนเรียบ (Lutra perspicillata Geoffroy) และนากเล็กเล็บสั้น [ Aonyx cinerea (Illiger) ]. | นางนวล | น. ชื่อนกขนาดกลาง วงศ์ย่อย Larinae ในวงศ์ Laridae มี ๒ กลุ่ม คือ นางนวลใหญ่ มีปลายปากเป็นปากขอเล็กน้อย ตัวใหญ่ แข็งแรง ส่วนใหญ่สีขาวเทา ปีกกว้าง ปลายหางมน กินปลาและสัตว์น้ำโดยโฉบกินตามผิวนํ้าหรือรวมฝูงกันจับขณะว่ายนํ้า ในประเทศไทยพบประมาณ ๒๐ ชนิด เช่น นางนวลธรรมดา (Larus brunnicephalus Jerdon) นางนวลขอบปีกขาว (L. ridibundusLinn.), และนางนวลแกลบ ตัวเล็กกว่านางนวลใหญ่ ปลายปากแหลม ปลายหางเว้าตื้น เว้าลึก หรือเป็นแฉก กินปลาและสัตว์นํ้าขนาดเล็กโดยดำลงไปจับเหยื่อหรือโฉบกินตามผิวนํ้า มักไม่ว่ายนํ้าเหมือนนางนวลใหญ่ มีหลายชนิด เช่น นางนวลแกลบเล็ก [ Sterna albifrons (Pallas) ] นางนวลแกลบเคราขาว [ Chlidonias hybrida (Pallas) ] นางนวลแกลบปากหนา [ Gelochelidon nilotica (Gmelin) ]. | ปิ้ง | ก. ทำให้สุกด้วยการวางไว้เหนือไฟ มักใช้แก่ของแห้ง โดยปรกติใช้เวลาน้อยกว่าย่าง เช่น ปิ้งข้าวเกรียบ ปิ้งเนื้อเค็ม ปิ้งปลาแห้ง. | เป็ด ๑ | น. ชื่อสัตว์ปีกจำพวกนกขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ มีหลายวงศ์ ปากแบน ตัวมีหลายสี เช่น นํ้าตาล ขาว เขียว ขนาดเล็กกว่าห่าน มีพังผืดนิ้วแบบตีนพัดและตีนกลีบช่วยในการว่ายนํ้า ว่ายนํ้าเก่ง กินปลา พืชนํ้า และสัตว์เล็ก ๆ เฉพาะเป็ดที่เลี้ยงตามบ้านมีต้นตระกูลมาจากเป็ดหัวเขียว ( Anas platyrhynchosLinn.) ในวงศ์ Anatidae. | เป็ดน้ำ | น. ชื่อนกน้ำขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่หลายชนิด ในวงศ์ Anatidae และ Dendrocygnidae ปากแบน มีพังผืดนิ้วแบบตีนพัด ว่ายน้ำเก่ง บางชนิดดำน้ำได้ บินได้เร็ว มักอยู่เป็นฝูง ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้มักมีขนสีสวยกว่าตัวเมีย แต่นอกฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้มีอาจสีสันเหมือนหรือคล้ายตัวเมีย กินพืชและสัตว์น้ำ, ในวงศ์ Anatidae เช่น เป็ดหอมหรือเป็ดหางแหลม ( Anas acutaLinn.) เป็ดแมนดาริน [ Aix galericulata (Linn.) ] เป็ดคับแค [ Nettapus coromandelianus (Gmelin) ] เป็ดดำหัวดำ [ Aythya baeri (Radde) ] และ ในวงศ์ Dendrocygnidae คือ เป็ดแดง [ Dendrocygna javanica (Horsfield) ]. | เป็นอันว่า | ก. รวมความว่า, แสดงว่า, เช่น เป็นอันว่ายุติ, เป็นอัน ก็ใช้. | โปโลน้ำ | น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่งที่เล่นในน้ำ โดยมีผู้เล่นซึ่งเป็นนักว่ายน้ำฝ่ายละ ๗ คน พาลูกบอลด้วยการโยนหรือขว้างลูกบอลให้เข้าประตูของฝ่ายตรงข้าม. | โป๊ะ ๑ | น. ที่สำหรับดักปลาทะเล ทำด้วยเสาไม้จริงปักเป็นวง ใช้ไม้ไผ่ทำเป็นเฝือกกรุข้างใน มีประตูตรงกลาง ข้างประตูโป๊ะใช้เสาไม้จริงปักยาวเหยียดออกไปทั้ง ๒ ข้าง เพื่อกั้นปลาให้ว่ายเลียบเลาะมาเข้าโป๊ะ เรียกว่า ปีกโป๊ะ, ลักษณนามว่า ปาก หรือ ลูก |
| | Bathing suits | ชุดว่ายน้ำ [TU Subject Heading] | Portunidae | ปูว่ายน้ำ [TU Subject Heading] | Swimmers | นักว่ายน้ำ [TU Subject Heading] | Swimming | การว่ายน้ำ [TU Subject Heading] | Swimming for infants | การว่ายน้ำสำหรับทารก [TU Subject Heading] | Swimming pools | สระว่ายน้ำ [TU Subject Heading] | Nekton | สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้ำเป็นอิสระ, Example: สัตว์น้ำที่สามารถว่ายน้ำด้วยกำลังของตนเองตาม หรือทวนกระแสน้ำได้ ส่วนใหญ่เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในทะเล ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พวกโลมา ปลาวาฬ สัตว์เลื้อยคลาน พวกงู และเต่าทะเล และสัตว์ในทะเล ส่วนใหญ่ คือ ปลา นอกจากนี้ หมึกซึ่งเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทีสามารถว่ายน้ำก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้ ด้วย [สิ่งแวดล้อม] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | instrument of acceptance | ตราสารรับรอง " เป็นหนังสือรับรองว่ายินยอมที่จะผูกพันทางสนธิสัญญาหลังจาก ลงนามในสนธิสัญญาแล้ว " [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] | Bound rubber | ยางส่วนที่ติดกับอนุภาคของสารตัวเติม (เช่น เขม่าดำ) ที่ไม่สามารถสกัดหรือละลายออกมาได้โดยใช้สารละลายที่ละลายยาง ถ้ามีปริมาณของยางบาวด์มาก แสดงว่ายางกับสารตัวเติมเกิดอันตรกิริยาต่อกันได้ดี [เทคโนโลยียาง] | Epoxidised or Epoxidized natural rubber | ยางธรรมชาติอิพ็อกซิไดซ์เป็นยางที่ได้จากการเติมออกซิเจนเข้าไปใน โมเลกุลของยางตรงบริเวณพันธะคู่เกิดเป็นวงแหวนอิพ็อกไซด์โดยผ่านปฏิกิริยาอิ พ็อกซิเดชัน (Epoxidation) โดยมีระดับของการเกิดอิพ็อกซิเดชันตั้งแต่ร้อยละ 10-50 ยาง ENR ที่ได้จึงมีความเป็นขั้วสูงกว่ายางธรรมชาติทั่วไป ทำให้ทนต่อความร้อนและน้ำมันได้ดีขึ้น โดยยาง ENR เกรดที่มีระดับอิพ็อกซิเดชันสูงถึงร้อยละ 50 จะมีความเป็นขั้วสูงเทียบเท่ากับยาง NBR ที่มีปริมาณอะไครโลไนไทรล์ปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่ายาง ENR ที่เสริมแรงด้วยซิลิกาจะมีสมบัติคล้ายกับยางธรรมชาติที่เสริมแรงด้วยเขม่าดำ อีกด้วย การเตรียมยาง ENR นี้สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง] | Fluorocarbon rubber | ยางฟลูออโรคาร์บอนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีฟลูออรีนเป็นองค์ ประกอบอยู่ในโมเลกุล ทำให้ยางมีความเป็นขั้วและมีความเสถียรสูงมาก ทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากสภาพอากาศ ความร้อน ปฏิกิริยาออกซิเดชัน เปลวไฟ และสารเคมีต่างๆ ได้ดีเยี่ยม ถึงแม้ว่ายางชนิดนี้จะทนสารเคมีต่างๆ ได้ดีแต่ไม่แนะนำให้นำไปผลิตผลิตภัณฑ์ที่สัมผัสกับตัวทำละลายที่มีขั้ว เช่น คีโตน อีเทอร์และเอสเทอร์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ สารประกอบเอมีน กรดไฮโดรฟลูออริกและกรดคลอโรซัลโฟนิคที่ร้อน น้ำร้อนและไอน้ำ เมทานอล และน้ำมันเบรกที่มีไกลคอลเป็นองค์ประกอบ ยางฟลูออโรคาร์บอนมีหลายเกรดแตกต่างกันตามโครงสร้างทางเคมีและปริมาณของ ฟลูออรีนในยาง การใช้งานค่อนข้างจำกัดเนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก มักนำไปผลิตปลอกหุ้มสายไฟหรือสายเคเบิล โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องการความทนทานต่อความร้อน โอโซน สารเคมี และเปลวไฟสูงเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องบิน จรวด เช่น ท่อน้ำมันเชื้อเพลิง ยางโอริง ปะเก็น ยางซีล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Halobutyl rubber | ยาง XIIR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการทำปฏิกิริยาฮาโลจิเนชัน (Halogenation) ของยาง IIR กับก๊าซคลอรีน (Cl 2) หรือก๊าซโบรมีน (Br 2) ได้เป็นยางคลอโรบิวไทล์ (CIIR) หรือยางโบรโมบิวไทล์ (BIIR) ตามลำดับ ยางฮาโลบิวไทล์นี้มีปริมาณฮาโลเจนอยู่น้อยมากจึงไม่จัดอยู่ในพวกยางที่มี ขั้ว แต่ยางชนิดนี้คงรูปได้เร็ว มีระดับการคงรูปสูง และมีความต้านทานต่อการเกิด reversion ในระหว่างการคงรูปได้ดี ดังนั้นยางฮาโลบิวไทล์จึงสามารถใช้ผสมกับยางที่ไม่อิ่มตัวชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติได้ดีและยังสามารถเกิดการคงรูปร่วมกับยางที่ไม่อิ่มตัวชนิดอื่นๆ ได้ สมบัติของยางชนิดนี้โดยทั่วไปดีกว่ายาง IIR เล็กน้อย คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำกว่า มีความทนทานต่อโอโซน ความร้อน สภาพอากาศ และสารเคมีต่างๆ ได้ดีกว่า แต่มี hysteresis สูงกว่า การใช้งานนิยมใช้ผลิตยางโอริงหรือปะเก็นยางชนิดที่ต้องทนต่อสารเคมี ท่อไอน้ำ ยางบุด้านในของยางล้อแบบไม่มียางใน สายพาน ยางบุต่างๆ และจุกปิดขวดยา เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Hydrogenated acrylonitrile-butadiene rubber | ยางไฮโดรจิเนตอะไครโลไนไทรล์บิวทาไดอีน หรือยาง HNBR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน (Hydrogenation) ของยาง NBR สมบัติของยาง HNBR มีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน รังสีที่มีพลังงานสูง และโอโซนสูงมาก ใกล้เคียงกับยาง EPDM และเนื่องจากมี CN อยู่ในโมเลกุลทำให้ยางชนิดนี้ทนต่อน้ำมันได้ดี ยาง HNBR มีสมบัติทั่วไปอยู่ระหว่างยาง NBR และยางฟลูออโรคาร์บอน เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูง จึงนิยมใช้ยาง HNBR แทนยาง NBR เฉพาะกรณีที่ต้องการใช้งานในสภาวะที่รุนแรงหรือที่อุณหภูมิสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีข้อดีเหนือกว่ายางฟลูออโรคาร์บอน คือ มีความทนทานต่อสารตัวเติมที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น สารประกอบเอมีน ได้ดี จึงนิยมใช้ในการผลิตชิ้นส่วนยางที่ใช้ในแท่นขุดเจาะน้ำมัน [เทคโนโลยียาง] | Isoprene rubber or Polyisoprene | ยางพอลิไอโซพรีนหรือยาง IR เป็นยางสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างทางเคมีเหมือนกับยางธรรมชาติ จึงมีสมบัติต่างๆ ใกล้เคียงกับยางธรรมชาติมาก และสามารถใช้แทนยางธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติแล้ว ยาง IR มีสมบัติเชิงกล เช่น ความทนต่อแรงดึง และความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายางธรรมชาติเล็กน้อย เนื่องจากยาง IR มีสัดส่วนของโครงสร้างแบบ cis- ที่ต่ำกว่ายางธรรมชาติจึงมีแนวโน้มที่จะตกผลึกได้น้อยกว่า แต่มีข้อดีคือ ยางมีคุณภาพสม่ำเสมอมากกว่ายางธรรมชาติ มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และมีสีขาวสวย [เทคโนโลยียาง] | Polynorbornene | ยางพอลินอร์บอนีนเป็นยางที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก สามารถเติมสารทำให้ยางนิ่มได้ถึง 150-300 phr ในขณะที่ยางยังคงรักษาสมบัติเชิงกลต่างๆ ได้ดี มีสมบัติเด่นคือ ทนต่อแรงดึงได้ดีแม้ว่ายางจะมีค่าความแข็งต่ำมาก เช่น 15 Shore A นิยมใช้ในการผลิตลูกกลิ้งป้อนกระดาษแบบอ่อนสำหรับเครื่องถ่ายเอกสาร เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] | Sulphur or Sulfur | กำมะถัน (หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่ายาสุก) เป็นสารเคมีที่รู้จักกันดีในอุตสาหกรรมยาง เนื่องจากใช้เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยาง ทำให้ยางเกิดการคงรูป มีลักษณะเป็นผลึกของแข็งสีเหลืองที่อุณหภูมิห้อง [เทคโนโลยียาง] | Crawl Stroke | ว่ายน้ำท่าวัดวา [การแพทย์] | vulcanized rubber | ยางวัลกาไนส์, ยางดิบที่ผสมกับผงกำมะถันโดยการนวดและใช้ความร้อน ยางนี้มีสมบัติดีกว่ายางดิบ ไม่เสียรูปที่อุณหภูมิสูงและไม่เปราะหักง่ายที่อุณหภูมิต่ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | flipper | ฟลิปเปอร์, รยางค์ชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายใบพาย ใช้สำหรับว่ายน้ำของสัตว์น้ำบางชนิด เช่น แมวน้ำ สิงโตทะเล เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| ชุดว่ายน้ำ | [chut wāinām] (n, exp) EN: swimsuit ; swimming costume ; bathing suite ; swimwear FR: maillot de bain [ m ] | กางเกงว่ายน้ำ | [kāngkēng wāinām] (n, exp) EN: swimming trunks | การต่อว่าย่างรุนแรง | [kān tøwā yāng runraēng] (n, exp) EN: strong complaint | การว่ายน้ำ | [kān wāinām] (n) EN: swimming FR: natation [ f ] ; nage [ f ] | เป็ดน้ำที่ว่ายหากินบนผิวน้ำ | [pet nām thī wāi hā kin bon phiu nām] (n, prop) EN: dabbling duck | สระว่ายน้ำ | [sawāinām] (n) EN: pool FR: piscine [ f ] | สระว่ายน้ำบนดาดฟ้า | [sawāinām bon dātfā] (n, exp) EN: rooftop pool FR: piscine sur terrasse [ f ] | สระว่ายน้ำขนาดมาตรฐานโอลิมปิก | [sawāinām khanāt māttrathān ōlimpik] (n, exp) FR: piscine olympique [ f ] ; bassin olympique [ m ] | สระว่ายน้ำกลางแจ้ง | [sawāinām klāngjaēng] (n, exp) EN: outdoor pool FR: piscine en plein air [ f ] ; piscine extérieure [ f ] | สระว่ายน้ำในร่ม | [sawāinām nai rom] (n, exp) EN: indoor swimming pool ; indoor pool FR: piscine couverte [ f ] | สระว่ายน้ำในสวน | [sawāinām nai sūan] (n, exp) EN: garden pool | แหวกว่าย | [waēkwāi] (v) EN: swim | แว่นตาว่ายน้ำ | [waentā wāi nām] (n) EN: goggles ; mask FR: lunettes de plongée [ fpl ] ; masque de plongée [ m ] | ว่าย | [wāi] (v) EN: swim FR: nager | ว๊าย | [wāi] (interj) EN: ? FR: ? | ว่ายข้าม | [wāi khām] (v, exp) FR: traverser à la nage | ว่ายน้ำ | [wāinām] (v) EN: swim FR: nager | ว่ายน้ำ | [wāinām] (n) EN: swimming FR: natation [ f ] | ว่ายท่ากรรเชียง | [wāi thā kanchīeng] (n, exp) EN: backstroke FR: dos crawlé [ m ] | ว่ายท่ากบ | [wāi thā kop] (n, exp) EN: breakstroke FR: brasse [ f ] | ว่ายท่าผีเสื้อ | [wāi thā phīseūa] (n, exp) EN: butterfly stroke FR: nage papillon [ f ] ; brasse papillon [ f ] | ว่ายังไง | [wā yang-ngai] (v, exp) FR: qu'en dites-vous ? | ยิ่งว่ายิ่งยุ | [ying wā ying yu] (v, exp) EN: the more warning the more daring ; be counterproductive |
| backstroke | (n) ท่าว่ายน้ำแบบตีกรรเชียง, See also: ท่าว่ายน้ำแบบหงายหลัง | backstroke | (vi) ว่ายน้ำท่ากรรเชียง | bathing | (n) ว่ายน้ำ, Syn. swimming | bathing cap | (n) หมวกว่ายน้ำ | bathing costume | (n) ชุดว่ายน้ำ (คำเก่า), Syn. swimsuit | bathing suit | (n) ชุดว่ายน้ำ (คำเก่า), Syn. swimsuit | baths | (n) สระว่ายน้ำ (คำเก่า), Syn. swimming pool | bikini | (n) ชุดว่ายน้ำแบบสองชิ้นของผู้หญิง | breaststroke | (n) การว่ายน้ำท่าผีเสื้อ | butterfly | (n) การว่ายน้ำท่าผีเสื้อ | bathe in | (phrv) อาบน้ำ, See also: ว่ายน้ำ | dip into | (phrv) ว่ายน้ำระยะสั้น | fin | (vt) ว่ายน้ำโดยการใช้ตีนกบ | get out of | (phrv) ไม่ว่ายลึกเกินไป, Syn. be out of, go outof | give best | (phrv) ยอมรับว่า (บางคน) เป็นผู้ชนะ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ยอมรับว่ายอดเยี่ยม | go for | (phrv) ออกไปเพื่อ (ทำกิจกรรม เช่น เดินเล่น ขับรถ ว่ายน้ำ), Syn. take for | go out of one's death | (idm) พยายามว่ายน้ำลึก (ขาหยั่งไม่ถึงก้นแม่น้ำ), Syn. be out of, get out of | preach to the converted | (idm) สอนจรเข้ให้ว่ายน้ำ, See also: สอบหรือบอกคนอื่นให้ทำในสิ่งที่เขาเป็นอยู่แล้ว | medley | (n) การแข่งขันว่ายน้ำแบบผสม, See also: การว่ายน้ำแบบผลัดผสม | mermaid | (n) ผู้หญิงว่ายน้ำเก่ง | plunge | (n) สถานที่ว่ายน้ำ | run | (vi) ว่ายทวนน้ำไปวางไข่, Syn. go upstream to spawn | stroke | (n) ท่าว่ายน้ำ | stubborn | (adj) รับมือยาก, See also: ว่ายาก, ควบคุมยาก, Syn. intractable, uncontrollable, unyielding | swim | (vi) ว่ายน้ำ, See also: ว่าย, Syn. dive, splash, bathe | swim | (n) การว่ายน้ำ, See also: การว่าย, Syn. dive, bath, dip | swimmer | (n) นักว่ายน้ำ, See also: ผู้ว่ายน้ำ, Syn. diver | swimming | (n) การว่ายน้ำ | swimming suit | (n) ชุดว่ายน้ำ, Syn. bathing suit | swimsuit | (n) ชุดว่ายน้ำ, See also: ชุดใส่ในน้ำ, Syn. swimwear, bathing suit | swimwear | (n) ชุดว่ายน้ำ, See also: ชุดใส่ในน้ำ, Syn. swimsuit | strike out | (phrv) ว่ายไปยัง | swim about | (phrv) ว่ายลอยตัว, Syn. swim around | swim around | (phrv) ว่ายลอยตัว, Syn. swim about | swim for | (phrv) ว่ายไปทาง, See also: ว่ายเข้าหา | swim in | (phrv) ว่ายอยู่ใน | trunks | (n) กางเกงว่ายน้ำ | two-piece | (adj) ซึ่งมีสองชิ้น, See also: ซึ่งมีสองส่วน, ซึ่งเป็นชุดว่ายน้ำทูพีซ | water wings | (n) ถุงลมลอยน้ำรูปปีกคู่ ใช้ในการฝึกว่ายน้ำ |
| anadromous | (อะแตด' โรมัส) adj. ซึ่งว่ายจากทะเลสู่แม่น้ำเพื่อวางไข่ (running upward) | aquacade | (แอด'วะเคด) n. การแสดงทางน้ำ (ว่ายน้ำ ดำน้ำและมักมีดนตรี) (aquatic exhibition) | backstroke | (แบค'สโทรค) { backstroked, backstroking, backstrokes } vt., n. พลิกมือตบหรือตี, ว่ายน้ำท่าหงายหลัง | bathe | (เบธ) { bathed, bathing, bathes } vt., vi. อาบน้ำ, จุ่มน้ำ, ชำระ, ทำให้เปียก, ว่ายน้ำ, อาบแดด, See also: bather n., Syn. dip | bathing cap | n. หมวกคลุมผมว่ายน้ำหรืออาบน้ำของสตรี | breaststroke | n. การว่ายน้ำท่าผีเสื้อ | buddy system | n. การว่ายน้ำเคียงคู่เพื่อมีโอกาสช่วยเหลือกันได้, การทำงานเป็นทีม, Syn. team work | butterfly | n. ผีเสื้อ, คนที่มีใจคอไม่แน่นอน, การว่ายน้ำแบบผีเสื้อ | computer architecture | หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้ | coot | (คูท) n. นกจำพวก Fulica ที่มีปีกและหางสั้น มันว่ายและดำน้ำได้, คนโง่, คนแก่ที่ใจไม่แน่นอน | duckbill | (ดัค'บิล, -แพลททิพัส) n. สัตว์น้ำตัวเล็ก ๆ เท้าที่เยื่อพังผืดสำหรับว่ายน้ำ มีปากคล้ายปากเป็ด, Syn. duckbilled platypus, platypus | duckbill platypus | (ดัค'บิล, -แพลททิพัส) n. สัตว์น้ำตัวเล็ก ๆ เท้าที่เยื่อพังผืดสำหรับว่ายน้ำ มีปากคล้ายปากเป็ด, Syn. duckbilled platypus, platypus | fourth generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่คอมพิวเตอร์ในยุคที่สี่นี้มีขนาดของหน่วยความจำเล็กกว่ายุคที่สามลงไปอีก มีการนำไอซี (IC หรือ integrated circuit) หรือวงจรเบ็ดเสร็จมารวมกันเป็นแผงใหญ่ ๆ เรียกว่าแผงวงจรรวมความจุสูง (large scale integrated circuit) หรือบางทีเรียกกันว่าชิป (chip) ทำให้สร้างคอมพิวเตอร์ได้เล็กลงมาก จึงทำให้เกิดมีไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซีขึ้น ราคาขายในท้องตลาดก็ลดลงได้มาก ทำให้เป็นที่นิยมอย่างรวดเร็วในหมู่คนทั่วไป ไม่เฉพาะแต่นักคอมพิวเตอร์ ต่อมาปลายยุคที่สี่นี้ มีการนำพีซีหลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (network) ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นไปอีกดู generation ประกอบ | free-swimming | adj. ซึ่งสามารถว่ายไปมาได้, ตรงไปตรงมา, อิสระ, ไม่ยึดมั่น | freestyle | n. การว่ายน้ำไม่จำกัดแบบหรือท่า | homeopathy | (โฮมีออพ'พะธี) n. ความเชื่อที่ว่ายาที่ใช้รักษาโรคสามารถทำให้เกิดอาการเดียวกันของโรคถ้าให้ในปริมาณน้อยที่สุดแก่ผู้ที่ไม่เป็นโรคนั้น, See also: homeopathic adj. | intractable | (อินแทรค'ทะเบิล) adj. ไม่เชื่อง, ดื้อ, หัวแข็ง, ว่ายาก, ควบคุมยาก, รักษาได้ยาก., See also: intractability n. intractably adv., Syn. stubborn, Ant. docile, compliant | jungle law | n. กฎความอยู่รวดในป่า, ผู้แข็งแรงกว่าย่อมเป็นผู้รอด ผู้อ่อนแอกว่าย่อมเป็นเหยื่อของผู้แข็งแรงกว่า | mackerel | (แมค'เคอเริล) n. ปลาว่ายเร็วชนิดหนึ่งที่มนุษย์นิยมกินเป็นอาหาร | million instructions per | ล้านคำสั่งต่อวินาทีใช้ตัวย่อว่า MIPS เป็นหน่วยวัดความเร็วของการทำงานตามโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งของตัวประมวลผลหรือของคอมพิวเตอร์แต่ละยี่ห้อว่า สามารถประมวลผลได้กี่ล้านคำสั่งต่อวินาที ยิ่งมาก แสดงว่ายิ่งทำงานได้เร็ว | mips | (มิปส์) ย่อมาจาก million instructions per second แปลว่า ล้านคำสั่งต่อวินาที เป็นหน่วยวัดความเร็วของการทำงานตามโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งของตัวประมวลผล หรือของคอมพิวเตอร์แต่ละยี่ห้อว่า สามารถประมวลผลได้กี่ล้านคำสั่งต่อวินาที ยิ่งมากแสดงว่ายิ่งทำงานได้เร็ว | mulish | (มิว'ลิช) adj. ดื้อ, หัวดื้อ, ดื้อรั้น, ว่ายาก., See also: mulishly adv. mulishness n. | olympic-size pool | n. สระว่ายน้ำขนาดที่ยาว 25 เมตร, Syn. olympic pool | parameter | พารามิเตอร์ตัวแปรเสริมหมายถึง ค่า ซึ่งอาจจะเป็นจำนวนเลข หรือตัวอักขระ ที่ใช้ในการสร้างสมการหรือคำสั่ง (statement) ข้อความที่จะเห็นบนจอภาพบ่อย ๆ เช่น "parameter missing" หมายความว่า ใส่ข้อความไม่ครบ เช่น ให้ย้ายแฟ้มข้อมูล A แต่ไม่บอกว่าย้ายไปที่หน่วยบันทึกใด (เช่น จะให้ไปที่ a : หรือ b:) | plunge | (พลันจฺ) vt., vi., n. (การ) จุ่ม, จุ้ม, จ้วง, โผ, พรวด, สอด, ทำให้ถลำเข้า, ผลัก, เป็นหนี้, สถานที่กระโดดน้ำ, สถานที่ว่ายน้ำ -Phr. (take the plunge ตัดสินใจกะทันหัน), Syn. immerse | restive | (เรส'ทิฟว) adj. ว่ายาก, ดื้อรั้น, ควบคุมยาก, หัวแข็ง, กระวนกระวาย, ร้อนใจ, มีจิตใจที่ไม่สงบ, See also: restiveness n., Syn. uneasy, restraint | second generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สองหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ราวทศวรรษ 1960 จนถึงต้น 1970 มีคุณสมบัติที่สำคัญคือ มีขนาดเล็กว่ายุคที่หนึ่งมาก ใช้กำลังไฟน้อยลง และให้ความร้อนน้อยลงด้วย เพราะหน่วยความจำที่ใช้เป็น วงจรที่ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) แทนที่จะเป็นหลอดสุญญากาศเหมือนยุคที่หนึ่ง ส่วนหน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) นิยมใช้เทปหรือแถบบันทึก และจานบันทึก การนำข้อมูลเข้าและการแสดงผล สามารถทำได้ควบคู่ไปกับการคำนวณ เริ่มรู้จักใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system) ควบคุมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ | smart card | บัตรเก่งหมายถึง บัตรที่มีข้อมูลซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถตรวจเช็ค หรือนำข้อมูลในบัตรนั้นไปประมวลผลได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ เช่น บัตรโทรศัพท์ ที่จะทำการคำนวณระยะเวลาที่พูด แล้วหักเงินแต่ละครั้งได้ บอกให้รู้ได้ว่ายังใช้ได้อีกเท่าใด ส่วนมากจะเป็นบัตรที่มีแถบแม่เหล็ก เช่น บัตรเอทีเอ็ม (ATM) ซึ่งจะมีชื่อและรหัสให้ตรวจสอบได้ เป็นต้น | stubborn | (สทับ'เบิร์น) adj. ดื้อดึง, ดื้อรั้น, หัวรั้น, แข็งกระด้าง, ควบคุมยาก, ว่ายาก, รับมือยาก, แน่วแน่, See also: stubbornly adv. stubbornness n., Syn. adamant, dogged, Ant. flexible | swim | (สวิม) { swam, swum, swimming, swims } vi., vt., n. (การ) ว่าย, ว่ายน้ำ, ลอยน้ำ, ลอยคว้าง, ล่องลอย, ท่วม, จุ่ม, แช่, วิงเวียนศรีษะ, ทำให้ว่ายน้ำ, ทำให้ลอยตัว. in the swim มีบทบาทมาก, See also: swimmer n. | swimmimg pool | n. สระว่ายน้ำ | swimming | (สวิม'มิง) n. การว่าย, การว่ายน้ำ | thrash | (แธรช) vt., n. (การ) เฆี่ยน, หวด, โบย, ฟาด, ทำให้ปราชัยอย่างสิ้นเชิง, ตีพ่ายแพ้, ยกขาขึ้นลงอย่างรวดเร็ว (ในการว่ายน้ำ) , แกว่งไปมาอย่างแรง, กวัดแกว่ง, เซไปมาอย่างแรง, นวดข้าว, See also: thrasher n., Syn. beat, flog, flail | title bar | แถบชื่อ (แฟ้มข้อมูล) หมายถึง แถบยาวที่ส่วนบนของวินโดว์ เป็นที่ใช้บอกชื่อแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในวินโดว์นั้นหรือชื่อของงานที่เราสร้างขึ้น ในกรณีที่ไม่ได้กำหนดชื่อให้ไว้ แถบชื่อเรื่องนั้นจะพิมพ์คำว่า Untitled เอาไว้ให้รู้ว่ายังไม่ได้กำหนดชื่อใด ๆ ให้ และจะต้องตั้งชื่อเมื่อต้องการบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลภายหลัง | water wings | n. ถุงลมลอยน้ำเป็นรูปปีกคู่ใช้ช่วยในการฝึกว่ายน้ำ | watercraft | (วอ'เทอะคราฟทฺ'-แครฟทฺ) n. ความชำนาญในการขับขี่เรือ, ความชำนาญในการว่ายหรือดำน้ำ, เรือ, ยานพาหนะที่แล่นบนหรือในน้ำ |
| backstroke | (n) การว่ายน้ำท่ากรรเชียง | bathe | (vi) อาบน้ำ, อาบแดด, ว่ายน้ำ | intractable | (adj) ดื้อดึง, ว่ายาก, หัวแข็ง, ไม่เชื่อง, รักษายาก | mulish | (adj) เหมือนล่อ, ดื้อดัน, ดื้อรั้น, ว่ายาก | natation | (n) การลอยน้ำ, การว่ายน้ำ | stubborn | (adj) ดันทุรัง, ดื้อดึง, ดื้อรั้น, ว่ายาก, ยืนหยัด | swim | (vi) ลอย, ว่ายน้ำ, ท่วม, จุ่ม, อาบ, แช่ | swimmer | (n) นักว่ายน้ำ | SWIMMING swimming pool | (n) สระว่ายน้ำ | swimming | (n) การว่ายน้ำ | swimsuit | (n) ชุดว่ายน้ำ |
| just in case | (phrase) วลี just in case แปลว่า เผื่อไว้ เผื่อๆไว้ ตัวอย่างเช่น แนนบอกนกว่า Do you want to go to the beach with me? เธออยากไปชายหาดกับฉันไหม นกตอบว่า Sure! Are we going to swim? ไปสิ! เรากำลังจะไปว่ายน้ำกันใช่ไหม แนนตอบว่า Nope, I just want to sunbathe not swim. ไม่ล่ะ ฉันแค่อยากไปนอนอาบแดดน่ะ ไม่ว่ายน้ำ นกทำหน้าหงอยนิดหนึ่งก่อนพยักหน้าและตอบว่า Okay, with me. ตกลง ฉันยังไงก็ได้ But I will take my swimsuit, just in case. แต่ฉันจะเตรียมชุดว่ายน้ำไปด้วยแล้วกัน เผื่อๆ ไว้ | breaststroke | (n) การว่ายน้ำท่ากบ | double-blind | (n) การศึกษาฤทธิ์ของยาซึ่งผู้ให้กับผู้รับตอนให้ยาไม่รู้ว่ายานั้นเป็นสารที่ active หรือ inert | lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver | lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard | lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ | natatory | เกี่ยวกับการว่ายน้ำ | Otitis externa | เป็นสภาพที่ทําให้เกิดการอักเสบ (แดงและบวม) ของช่องหูภายนอกซึ่งเป็นหลอดระหว่างหูด้านนอกและหู หูน้ําหนวกอักเสบมักจะเรียกว่า "หูของนักว่ายน้ํา" เพราะการสัมผัสน้ําซ้ําๆ สามารถทําให้ช่องหูเสี่ยงต่อการอักเสบ | speedo | (n) กางเกงว่ายน้ำผู้ชาย กางเกงชั้นในผู้ชาย | triathlon | (n) ไตรกีฬา, เป็นการเล่นกีฬาที่รวมเอา การว่ายน้ำ, ขี่จักรยาน, และวิ่งเข้าด้วยกัน |
| 水泳 | [すいえい, suiei] (n) การว่ายน้ำ | 競泳 | [きょうえい, kyouei] (n) กีฬาว่ายน้ำ |
| 泳ぐ | [およぐ, oyogu] (vi) ว่ายน้ำ เช่น プールで泳ぐ | 水浴び | [みずあび, mizuabi] อาบน้ำ, ว่ายน้ำ, เล่นน้ำ |
| aber | (konj) แต่ เช่น Das Gerät ist alt aber funktioniert noch gut. เครื่องมือนี้เก่าแต่ว่ายังใช้งานได้ดี, See also: jedoch | schwimmen | (vi) | schwamm, geschwommen | ว่ายน้ำ | Freibad | (n) |das, pl. Freibäder| สระว่ายน้ำแบบเปิดโล่งไม่ได้อยู่ในอาคาร | Luftkissen | (n) |das, pl. Luftkissen| เบาะหรือหมอนที่อัดลม ที่อาจใช้นอนหรือใช้ในสระว่ายน้ำ | Rutschbahn | (n) |die, pl. Rutschbahnen| บันไดลื่นในสระว่ายน้ำ | denkbar | (adj, adv) ที่เป็นไปได้, ที่น่าคิด, ที่จินตนาการได้ เช่น Es wäre denkbar, daß Sonja zur Insel geschwommen sein könnte. มันอาจเป็นไปได้ที่ซอนญ่าสามารถว่ายน้ำไปถึงเกาะได้, Syn. vorstellbar |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |