ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*หนังสือ*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: หนังสือ, -หนังสือ-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
let's see(phrase, (spoken)) Let’s + V1 แปลประมาณว่า …..กันเถอะ มาดูกันว่า, เดี๋ยวนะ, คอยดูสิว่า, I am thinking about this, you are not sure what to say next OK. Let's see where we are.มาดูกันว่าถึงไหนแล้้ว Do you know a shop that sells dictionaries?” (ขอโทษครับ) พี่รู้จักร้านหนังสือที่ขายพวกพจนานุกรมไหมครับ? “Let me see” เดี๋ยวนะ ให้ผมคิดก่อน Let’s see what you will get for the New Year. คอยดูสิว่าเธอจะได้อะไรเป็นของขวัญวันปีใหม่ let's see (spoken) I am thinking about this “Do you have any idea how many people will be there?” “Well, let's see – I don't think I could put a number on it.” Let's see how much you want to win this event. Now that we know what your interests are, let's see if we can match you to a job that you'd like.

Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ด่วนที่สุดURGENT ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น
หนังสือรับรองการทำประโยชน์(n) Certificate of Utilization

Longdo Dictionary ภาษา พม่า (MM) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
စာအုပ္။(n) หนังสือ

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
หนังสือ(n) letter, Syn. จดหมาย, รายงาน, บันทึก, Example: โรงเรียนมีหนังสือไปถึงผู้ปกครองนักเรียน เพื่อให้มาร่วมประชุม, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: จดหมายที่มีไปมา
หนังสือ(์n) book, Syn. ์งานเขียน, สิ่งพิมพ์, Example: ระดับไวยากรณ์วิธีนี้มีผู้พยายามทำขึ้นและเขียนเป็นหนังสือออกมา, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด, ลายลักษณ์อักษร, เอกสาร, บทประพันธ์, ข้อความที่พิมพ์หรือเขียนเป็นต้นแล้วรวมเป็นเล่ม
ทำหนังสือ(v) make a book, See also: publish, Example: ทางสมาคมทำหนังสือเพื่อเป็นที่ระลึก ในงานครบรอบ 30 ปี
งานหนังสือ(n) desk work, Example: ทางสำนักพิมพ์กำลังต้องการบุคลากรมาช่วยงานหนังสือเป็นจำนวนมาก, Count Unit: งาน
ตัวหนังสือ(n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เขาสายตาสั้นจึงอ่านตัวหนังสือไกลๆ ไม่ชัด, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด
ตัวหนังสือ(n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เวลาที่เราอ่านเราไม่ต้องอ่านหรือมองตัวหนังสือทีละตัวทุกๆ ตัวจะทำให้อ่านไวขึ้น, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด
ตู้หนังสือ(n) bookcase, Example: ภาพของชายหนุ่มในกรอบรูปแขวนอยู่ข้างตู้หนังสือ, Count Unit: ใบ, หลัง, Thai Definition: ตู้ที่เก็บหนังสือ
รู้หนังสือ(v) be literate, See also: be educated, Syn. อ่านออกเขียนได้, Example: ในสมัยก่อน เด็กชายเท่านั้นที่มีโอกาสได้รู้หนังสือโดยการเล่าเรียนที่วัด
สวนหนังสือ(v) answer the letter, See also: reply the letter
สอนหนังสือ(v) teach, See also: instruct, Ant. เรียนหนังสือ, Example: มาลีจะใช้เวลาช่วงกลางวันสอนหนังสือเด็กด้อยโอกาสเหล่านั้น, Thai Definition: ทำให้ผู้อื่นได้รับความรู้โดยใช้หนังสือเป็นสื่อในการเรียน
สันหนังสือ(n) spine, Syn. สันปก, สัน, Example: เขาเขียนชื่อหนังสือย่อๆ ไว้ที่สันหนังสือ เพื่อความสะดวกในการหาโดยไม่ต้องรื้อออกมา, Count Unit: สัน, Thai Definition: ส่วนที่เป็นแนวยาวบริเวณด้านข้างที่ยึดปกกับเนื้อหาของหนังสือไว้
หนังสือโป๊(n) pornographic book, See also: porno book, obscene book, Syn. หนังสือลามก, Example: รัฐบาลตั้งท่าขึงขังที่จะเอาโทษคนขายหนังสือโป๊, Count Unit: เล่ม
แทงหนังสือ(v) write a letter, Example: อธิบดีแทงหนังสือการโยกย้ายมายังผู้ใต้บังคับบัญชาการ, Thai Definition: บันทึกสั่งการ
ท่องหนังสือ(v) learn, See also: study, memorize, Syn. ท่องจำ, ท่อง, Example: เวลาใกล้สอบอย่างนี้จะเห็นแต่นักศึกษาท่องหนังสือกัน, Thai Definition: อ่านซ้ำหลายๆ ครั้งเพื่อให้จำได้
ภาษาหนังสือ(n) written language, See also: literary language, Syn. ภาษาเขียน, Ant. ภาษาพูด, Example: คำว่า อ้าย อี เป็นคำไม่สุภาพ ไม่ควรใช้ในภาษาหนังสือ ส่วนในภาษาพูดยังมีตกค้างใช้พูดกันบ้าง
ร้านหนังสือ(n) bookstore, Example: ใครก็ตามที่เป็นนักอ่านได้เดินเข้าร้านหนังสือ แค่ได้ก้าวเข้าไปในร้านก็มีความสุขแล้ว, Count Unit: ร้าน, Thai Definition: สถานที่ขายหนังสือ
หนอนหนังสือ(n) bookworm, Syn. นักอ่าน, Example: ในงานเปิดตัวหนังสือใหม่คราวนี้ เหมือนเป็นที่ชุมนุมของพวกหนอนหนังสือทั้งนั้น, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับหนังสือ, Notes: (สำนวน)
อ่านหนังสือ(v) read, See also: study, Example: ผู้ที่เป็นนักเขียนส่วนใหญ่จะชอบอ่านหนังสือมาตั้งแต่เด็ก
เดินหนังสือ(v) deliver a message or a letters, See also: deliver a document, Example: หัวหน้าใช้เสมียนเดินหนังสือไปตึกโน้น, Thai Definition: เอาหนังสือไปส่ง
แต่งหนังสือ(v) write a book, See also: compose, Syn. เขียนหนังสือ, Example: ผมอยากจะเป็นหนุ่มอีกครั้งจะได้มีเวลาศึกษา และแต่งหนังสือได้มากๆ, Thai Definition: ประพันธ์เรื่อง
แต่งหนังสือ(v) write a book, See also: author a text, write a letter, Syn. เขียนจดหมาย
คนขายหนังสือ(n) bookseller, Example: เรื่องหนังสือออกใหม่ต้องถามคนขายหนังสือถึงจะถูก
พิมพ์หนังสือ(v) print, See also: publish, Example: อาทิตย์นี้คงต้องพิมพ์หนังสือเพิ่มอีกตามความต้องการของลูกค้า, Thai Definition: ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้น ให้เกิดเป็นสิ่งพิมพ์หนังสือขึ้นหลายสำเนา
หนังสือพิมพ์(n) newspaper, See also: paper, press, Example: ข่าวของเขาขึ้นหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์มาหลายวันแล้ว, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: สิ่งที่พิมพ์ข่าวและความเห็นเป็นต้นเสนอประชาชน ตามปกติออกเป็นรายวัน
หนังสือสัญญา(n) contract, See also: agreement, Syn. ข้อสัญญา, ข้อผูกพัน, สัญญา, ข้อตกลง, Example: การกู้ยืมเงินทุกกรณีจะต้องมีหนังสือสัญญากู้เงินพร้อมระบุหลักทรัพย์ค้ำประกันด้วย, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: สัญญาหลักฐานการตกลงร่วมกันทำนิติกรรม ที่เป็นลายลักษณ์อักษร, Notes: (กฎหมาย)
หนังสือสำคัญ(n) credentials, See also: papers, document
หนังสือเรียน(n) textbook, See also: coursebook, Syn. ตำรา, ตำรับตำรา, Example: เด็กๆ มักชอบอ่านการ์ตูนมากกว่าหนังสือเรียน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เอกสารที่ใช้ในการเรียน
หนังสือเวียน(n) circular notice, See also: circular letter, Syn. จดหมายเวียน, Example: นายมารวยให้สัมภาษณ์ว่าจะส่งหนังสือเวียนไปยังทุกบริษัทเพื่อชักซ้อมความเข้าใจในข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หนังสือที่มีข้อความเหมือนกัน ส่งไปถึงคนจำนวนมากในคราวเดียวกัน
หนังสือแนะนำ(n) guide book, Syn. คู่มือ, Example: กระทรวงศึกษาธิการควรจัดทำหนังสือคู่มือครูที่ใช้ได้จริง และหนังสือแนะนำในด้านหลักสูตรการเรียนการสอน, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: หนังสือที่ชี้แจงแนวทางหรือวิธีให้ทำหรือปฏิบัติ
เขียนหนังสือ(v) write, See also: compose, Syn. แต่งหนังสือ, Example: ทมยันตีเขียนหนังสือที่เกี่ยวกับความรักได้ลึกซึ้งกินใจมาก, Thai Definition: เรียบเรียงหรือแต่งให้เป็นเรื่องราว
เขียนหนังสือ(v) author, See also: compose, scribe, write, Syn. แต่งหนังสือ, Ant. อ่านหนังสือ, Example: ทมยันตีเขียนหนังสือที่เกี่ยวกับความรักได้ลึกซึ้งกินใจมาก, Thai Definition: เรียบเรียงหรือแต่งให้เป็นเรื่องราว
เรียนหนังสือ(v) study, See also: learn, be in school, be educated, Example: ผู้ใหญ่ไม่ควรคาดหวังอย่างสูงจากเด็ก เช่น ต้องเรียนหนังสือให้เก่ง เพราะการคาดหวังทำให้ผู้เลี้ยงมีอารมณ์รุนแรงเมื่อไม่สมความปรารถนา
หนังสือคู่มือ(n) manual, See also: manuscript, Syn. คู่มือ, เอกสารแนะนำ, Example: เขาไปหาซื้อหนังสือคู่มือประกอบการเรียนคอมพิวเตอร์, Count Unit: เล่ม
หนังสือปกอ่อน(n) paperback, See also: pocketbook, papercover, softcover book, Ant. หนังสือปกแข็ง, Example: นักอ่านส่วนใหญ่นิยมซื้อนิยายที่เป็นหนังสือปกอ่อน เนื่องจากมีราคาไม่แพงจนเกินไป, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่มีปกที่ทำด้วยกระดาษอย่างอ่อน
หนังสือปกอ่อน(n) softcover book, See also: pocketbook, papercover, Ant. หนังสือปกแข็ง, Example: นักอ่านส่วนใหญ่นิยมซื้อนิยายที่เป็นหนังสือปกอ่อน เนื่องจากมีราคาไม่แพงจนเกินไป, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่มีปกที่ทำด้วยกระดาษอย่างอ่อน
หนังสือปกแข็ง(n) hardback, See also: hardcover, Ant. หนังสือปกอ่อน, Example: สำนักพิมพ์จัดทำเรื่องสั้นชุดนี้รวมเล่มเป็นหนังสือปกแข็งมาล่อใจท่านผู้ซื้อกันแล้ว, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่มีปกหุ้มทำมาจากกระดาษแข็ง
หนังสือรับรอง(n) certificate, See also: letter of recommendation, Syn. ใบรับรอง, Example: งานทะเบียนประวัตินักศึกษารับผิดชอบการจัดทำทะเบียนประวัตินักศึกษา และออกหนังสือรับรองการเป็นนักศึกษา, Count Unit: เล่ม, ใบ
หนังสือราชการ(n) official letter, See also: official document
ชั้นวางหนังสือ(n) bookshelf
ร้านขายหนังสือ(n) bookshop
ร้านขายหนังสือ(n) bookstore, Syn. ร้านหนังสือ, Example: เมื่ออายุ 19 ปี ผมชอบไปเดินเที่ยวตามร้านขายหนังสือแถววังบูรพา, Count Unit: ร้าน
หนังสืออ้างอิง(n) reference, See also: documentation, Syn. เอกสารอ้างอิง, Example: นักวิจัยจำเป็นต้องใช้หนังสืออ้างอิงจำนวนมากในการทำวิจัย, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เอกสารที่ใช้ในการอ้างอิง
หนังสือเดินทาง(n) passport, Example: ข้อมูลที่ปรากฏในหนังสือเดินทาง จะประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล อายุ สีผิว ความสูง เป็นต้น, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: หนังสือสำคัญประจำตัวซึ่งทางราชการของประเทศหนึ่งออกให้แก่พลเมืองของประเทศนั้น เพื่อให้ความคุ้มครองในการเดินทางไปในดินแดนต่างประเทศ
หนังสือเบิกทาง(n) passport, Syn. ใบเบิกทาง, Thai Definition: หนังสืออนุญาตให้โดยสาร หรือให้ผ่าน, Notes: (ปาก)
การเรียนหนังสือ(n) study, See also: learning, Syn. การเรียน, การศึกษาเล่าเรียน, การเล่าเรียน, Example: การเรียนหนังสือช่วยให้คนมีความคิดเป็นระบบมากขึ้น
นักหนังสือพิมพ์(n) journalist, See also: newspaper man, pressman, pressmen, Syn. คนทำข่าว, คนเขียนข่าว, Example: พ่อเขาเป็นนักหนังสือพิมพ์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่เขียนข่าวให้กับหนังสือพิมพ์
หนังสือนำเที่ยว(n) guide book, Example: สถานที่อีกแห่งหนึ่งซึ่งมีในหนังสือนำเที่ยวคือเจดีย์ม้าขาวที่ตุนฮวง, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: คู่มือแนะนำเกี่ยวกับข้อมูลการท่องเที่ยว
หนังสือมอบฉันทะ(n) proxy, See also: (letter of) power of attorney, Syn. หนังสือมอบอำนาจ, ใบมอบฉันทะ, Example: ผู้ใดต้องการจะถอนเงินแทนผู้อื่น ก็ต้องนำหนังสือมอบฉันทะมาด้วย, Thai Definition: หนังสือซึ่งบุคคลหนึ่งให้อำนาจแก่บุคคลอีกคนหนึ่งให้ทำหน้าที่แทนตน
หนังสือมอบฉันทะ(n) proxy, See also: (letter of) power of attorney, Syn. หนังสือมอบอำนาจ, ใบมอบฉันทะ, Example: ผู้ใดต้องการจะถอนเงินแทนผู้อื่น ก็ต้องนำหนังสือมอบฉันทะมาด้วย, Thai Definition: หนังสือซึ่งบุคคลหนึ่งให้อำนาจแก่บุคคลอีกคนหนึ่งให้ทำหน้าที่แทนตน
หนังสือมอบอำนาจ(n) power of attorney, See also: proxy, Syn. หนังสือมอบฉันทะ, ใบมอบฉันทะ, Example: รัฐที่จะเจรจาทำสนธิสัญญานั้นจะต้องมีการออกหนังสือมอบอำนาจให้แก่ผู้ที่จะทำการเจรจานั้นก่อน

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ดูหนังสือก. อ่านเพื่อทบทวนสำหรับการสอบ.
ตกหนังสือก. เขียนคำที่ขาดเติมลง.
ตัวหนังสือน. สัญลักษณ์แทนเสียงหรือคำพูด.
บอกหนังสือสังฆราชก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว, สอนหนังสือสังฆราช ก็ว่า.
พิมพ์หนังสือก. ใช้เครื่องพิมพ์กดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนกระดาษหรือผ้าเป็นต้น.
ไล่หนังสือก. สอบไล่.
แววหัวตัวหนังสือน. หัวของพยัญชนะไทยบางตัวที่มีลักษณะเป็นวงกลม เช่นหัวตัว ค ด ง ถ.
สอนหนังสือสังฆราช, บอกหนังสือสังฆราชก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว.
หนอนหนังสือน. คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับการอ่านหนังสือ.
หนังสือน. เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด เช่น อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ, ลายลักษณ์อักษร เช่น ขอให้เขียนเป็นหนังสือไว้ด้วย, จดหมายที่มีไปมา เช่น หนังสือราชการ, เอกสาร, บทประพันธ์
หนังสือข้อความที่พิมพ์หรือเขียนเป็นต้นแล้วรวมเป็นเล่ม.
หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุดน. หนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง.
หนังสือชี้ชวนน. เอกสารใด ๆ ที่ออกโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อโฆษณาชี้ชวนให้บุคคลอื่นจองซื้อหรือซื้อหุ้น หุ้นกู้ หรือหลักทรัพย์อื่นที่มีผู้ออกหรือเสนอขาย.
หนังสือเดินทางน. หนังสือสำคัญประจำตัวซึ่งทางราชการของประเทศหนึ่ง ออกให้แก่พลเมืองของประเทศนั้น เพื่อเป็นหลักฐานในการเดินทางไปต่างประเทศ.
หนังสือพิมพ์น. สิ่งพิมพ์ข่าวและความเห็นเป็นต้นเสนอประชาชน ตามปรกติออกเป็นรายวัน.
หนังสือรับรองการทำประโยชน์น. หนังสือแสดงการรับรองของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ว่าผู้ครอบครองที่ดินได้ทำประโยชน์ในที่ดินนั้นแล้ว, น.ส. ๓ ก็เรียก.
หนังสือราชการน. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการ หนังสือที่หน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการหรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐาน และเอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ.
หนังสือเวียนน. หนังสือราชการที่มีข้อความเหมือนกัน ส่งไปถึงหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีรหัสตัวพยัญชนะ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง, ภาษาปากใช้ว่า จดหมายเวียน
หนังสือเวียนหนังสือที่ผู้บังคับบัญชาเวียนแจ้งให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบหรือถือปฏิบัติ.
หนังสือสุทธิน. หนังสือที่พระอุปัชฌาย์ออกให้พระภิกษุหรือสามเณรเพื่อรับรองสถานภาพความเป็นภิกษุหรือสามเณร.
หลักฐานเป็นหนังสือน. เอกสารที่ลงลายมือชื่อของฝ่ายที่ต้องรับผิด และมีข้อความแสดงว่าได้มีการทำนิติกรรมไว้.
ก ข ไม่กระดิกหู(กอข้อ-) น. ผู้ที่เรียนหนังสือแล้วไม่รู้ อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้.
ก หันน. อักษร ก คู่ ในหนังสือโบราณใช้แทนไม้หันอากาศตัวหนึ่ง เป็นตัวสะกดตัวหนึ่ง เช่น จกก = จัก หลกก = หลัก.
กฎหมายก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้ (พงศ. อยุธยา), ทำหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทำหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…(พระราชกำหนดเก่า)
กติกาหนังสือสัญญา, ข้อตกลง.
กรรตุวาจก(กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ).
กรรมวาจก(กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก.
กระชอกก. กระฉอก เช่น กระชอกชอกชล กระมลมลมาลย์ (ประชุมหนังสือเก่า ภาค ๒).
กระดานชนวนน. แผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน.
กระดาษน. วัตถุเป็นแผ่นบาง ๆ โดยมากทำจากใยเปลือกไม้ ฟาง หญ้า หรือ เศษผ้า เป็นต้น ใช้เขียนหรือพิมพ์หนังสือหรือห่อของและอื่น ๆ.
กระดาษเพลา(-เพฺลา) น. กระดาษสาชนิดบาง โบราณใช้ร่างหนังสือด้วยดินสอดำหรือใช้ประโยชน์อย่างอื่น เช่น ใช้ปิดหุ่นหัวโขนและหุ่นอื่น ๆ.
กระทู้ถามน. คำถามในข้อเท็จจริงหรือนโยบายที่สมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติตั้งถามฝ่ายบริหารให้ตอบในที่ประชุมแห่งสภานั้น ๆ หรือตอบเป็นหนังสือ.
กระบวนน. หมู่คนหรือพาหนะเป็นต้นที่จัดเป็นแถวเป็นแนวหรือเป็นหมวดเป็นหมู่ตามแบบแผน เช่น กระบวนพยุหยาตรา กระบวนทัพ, แบบแผน เช่น กระบวนหนังสือไทย, ชั้นเชิง เช่น ทำกระบวน งามกระบวนเนตรเงาเสน่ห์งำ
กระหม่อมคำสำหรับใช้ควบกับคำที่ขึ้นต้นว่า “เกล้า” เช่น ทราบเกล้าทราบกระหม่อม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ในการเขียนหนังสือใช้ไปยาลน้อยแทนก็ได้ เช่น ทราบเกล้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวาย.
ก๊อบปี้ลักษณนามเรียกสำเนาหนังสือ เช่น ก๊อบปี้หนึ่ง สำเนา ๒ ก๊อบปี้. ก. ทำสำเนา, คัดลอก, เช่น คุณก๊อบปี้งานในเอกสารนี้ด้วย, ลอก, เลียน, เช่น อย่าก๊อบปี้งานของคนอื่น.
กับ ๔ลักษณนามเรียกใบลานประมาณ ๘๐๐ ใบ ซึ่งจัดเข้าแบบสำหรับไว้จารหนังสือ.
กากะเยียน. เครื่องสำหรับวางหนังสือใบลาน ทำด้วยไม้๘ อันร้อยเชือกไขว้กัน.
กาง ๑ก. ถ่างออก เช่น กางขา, คลี่ เช่น กางปีก, เหยียดออกไป เช่น กางแขน, ขึงออกไป เช่น กางใบ กางมุ้ง, แบะออก เช่น กางหนังสือ.
การสื่อสารน. วิธีการนำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง.
การ์ตูน ๑น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย.
กำกับควบ ในความเช่น มีหนังสือกำกับมาด้วย.
กำเนิด(กำเหฺนิด) น. การเกิด เช่น บิดามารดาเป็นผู้ให้กำเนิดแก่บุตร, มูลเหตุดั้งเดิม เช่น ตัวหนังสือไทยมีกำเนิดมาอย่างไร.
เก็บ ๑ก. เอาไปหรือเอามาจากที่ เช่น เก็บผ้า เก็บผลไม้, เอาเข้าที่ เช่น เอาหนังสือไปเก็บ เอารถไปเก็บ, เอาสิ่งของที่ตกหล่นอยู่ขึ้นมา เช่น เก็บของตก, รวบรวมไว้ เช่น เก็บคะแนน, เรียกเอา เช่น เก็บค่าเช่า เก็บค่านํ้า, รักษาไว้ เช่น ห้องเก็บของ.
เก็บเล่มก. รวบรวมหนังสือหรือแผ่นภาพที่พิมพ์ไว้แล้ว เรียงตามลำดับเลขหน้าเข้าเป็นเล่ม (ใช้แก่การพิมพ์).
เกลา(เกฺลา) ก. ทำสิ่งที่ยังขรุขระอยู่ให้เกลี้ยงหรือได้รูปทรงดีขึ้น เช่น เกลาไม้ไผ่, ทำให้ดีขึ้นหรือเรียบร้อยขึ้น เช่น เกลาสำนวนหนังสือ เกลานิสัย.
เกลี้ยงเกลาว. หมดจดหรือเรียบร้อย เช่น หน้าตาเกลี้ยงเกลา หนังสือเล่มนี้สำนวนเกลี้ยงเกลา.
เกษียน(กะเสียน) น. ข้อความที่เขียนแทรกไว้เช่นในใบลาน, ข้อความที่เขียนไว้บนหัวกระดาษคำสั่ง หรือหนังสือราชการ เรียกว่า หัวเกษียน.
ใกล้เคียงไม่แตกต่างกันมากนัก, พอ ๆ กัน เช่น รอ กับ คอย มีความหมายใกล้เคียงกัน หนังสือสองเล่มนี้มีขนาดใกล้เคียงกัน.
ข่าวพาดหัวน. ข่าวสำคัญที่นำมาพิมพ์เป็นหัวเรื่องในหน้าแรกของหนังสือพิมพ์ด้วยอักษรขนาดใหญ่เพื่อให้เกิดความสนใจ.
ขีดคั่นก. ขีดกั้นไว้, กำหนดไว้โดยเฉพาะ เช่น อ่านหนังสือไปถึงไหนแล้ว ให้ทำเครื่องหมายขีดคั่นไว้.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
power of attorneyหนังสือมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
powers, fullหนังสือมอบอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
permitใบอนุญาต, หนังสืออนุญาต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
passportหนังสือเดินทาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
prospectusหนังสือชี้ชวน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
licence๑. หนังสืออนุญาต, ใบอนุญาต๒. การอนุญาต (เป็นลายลักษณ์อักษร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter๑. ผู้ให้เช่า๒. หนังสือ๓. ตัวอักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of allotmentหนังสือแจ้งการแบ่งสรรหุ้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of attorneyหนังสือมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of giftหนังสือยกให้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
legal leaseการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์โดยมีกำหนดเวลา, หนังสือสัญญาให้เช่าอสังหาริมทรัพย์โดยมีกำหนดเวลา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
literacyการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
literacy ratioอัตราส่วนการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
literacy statisticsสถิติการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
loanland; laenlandที่ดินที่ให้ครอบครองโดยไม่มีหนังสือสัญญาเช่า (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of hypothecationหนังสือประกันการส่งสินค้า, ตราสารจำนอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of indemnityหนังสือค้ำประกันการชดใช้ค่าเสียหาย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of intentหนังสือแสดงเจตนารมณ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of licenceหนังสือขยายเวลาชำระหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of recall๑. หนังสือเรียกทูตกลับ๒. พระราชสาสน์ถอน, สาสน์ถอน (ทูต) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter of requestหนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ) [ ดู rogatory letter ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
letter patentหนังสือตราตั้ง, ตราตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
land certificateหนังสือสำคัญแสดงสิทธิในที่ดิน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
land certificateหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
literacy testการทดสอบการรู้หนังสือ (เกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
literateผู้รู้หนังสือ, รู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
lie in grantโอนให้กันได้โดยทำเป็นหนังสือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
laenland; loanlandที่ดินที่ให้ครอบครองโดยไม่มีหนังสือสัญญาเช่า (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
laissez-passer (Fr.)๑. ปล่อยให้ผ่านไป (นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม)๒. หนังสือผ่านแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
representation๑. การเป็นผู้แทน๒. หนังสือแสดงความไม่พอใจ (เบากว่าประท้วง)๓. การแถลงในนามของรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
rogatory letterหนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ)[ ดู letter of request ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
requisition๑. การเรียกเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก, หนังสือร้องขอ๓. การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามมลรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
service by publicationการส่งหมายหรือคำคู่ความโดยวิธีประกาศในหนังสือพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
secretaryโต๊ะเขียนหนังสือส่วนตัว [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
statue of fraudsบัญญัติหนังสือสัญญา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
assumption certificateหนังสือรับรองการชำระเงิน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
acknowledgment of right to production of documentsหนังสือรับรองสิทธิในที่ดินแทนโฉนด (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
attorney, power ofหนังสือมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
argument, writtenคำแถลงการณ์เป็นหนังสือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
acquittance๑. ใบเสร็จรับเงิน๒. หนังสือปลดหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
association, memorandum ofหนังสือบริคณห์สนธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
atlas๑. กระดูกคอชิ้นที่หนึ่ง๒. หนังสือภาพ (การแพทย์) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
allotment, letter ofหนังสือแจ้งการแบ่งสรรหุ้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
annalsหนังสือรายปี [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
judgment by confessionหนังสือรับสภาพหนี้ของจำเลย [ ดู cognovit actionem และ confession of judgment ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
journal๑. บันทึกการประชุมสภา๒. หนังสือพิมพ์รายวัน, วารสาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
journalismการหนังสือพิมพ์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
jest bookหนังสือชวนหัว [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
quit, notice to๑. หนังสือบอกกล่าวให้ออกจากสถานที่๒. หนังสือบอกกล่าวว่าจะออกจากสถานที่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
binder๑. หนังสือคุ้มครองชั่วคราว๒. หนังสือมอบอำนาจผู้รับประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Subject reference booksหนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
General reference booksหนังสืออ้างอิงทั่วไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book-wormหนอนหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bookหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Classificationการวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Reference bookหนังสืออ้างอิง [เทคโนโลยีการศึกษา]
International Standard Book Numberเลขมาตรฐานหนังสือสากล, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN"> [เทคโนโลยีการศึกษา]
Rare bookหนังสือหายาก [เทคโนโลยีการศึกษา]
Annalหนังสือรายปี [เทคโนโลยีการศึกษา]
Annualหนังสือรายปี [เทคโนโลยีการศึกษา]
Atlasหนังสือแผนที่ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Banned bookหนังสือต้องห้าม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Book exhibitionนิทรรศการหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Call numberเลขเรียกหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Weedingการคัดหนังสือออก [เทคโนโลยีการศึกษา]
Travel guideหนังสือนำเที่ยว [เทคโนโลยีการศึกษา]
Textbookหนังสือตำรา [เทคโนโลยีการศึกษา]
Nonfiction bookหนังสือสารคดี [เทคโนโลยีการศึกษา]
Newspaperหนังสือพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Comic bookหนังสือการ์ตูน [เทคโนโลยีการศึกษา]
Annalหนังสือรายปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Annualหนังสือรายปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Atlasหนังสือแผนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Authorshipการเขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Banned bookหนังสือต้องห้าม, Example: Banned book หมายถึง หนังสือต้องห้าม เป็นหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ที่ถูกห้ามหรือถูกระงับโดยสถาบันทางศาสนาหรือโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง เนื่องจากมีเนื้อหาที่ต้องคัดค้านหรือเป็นอันตราย โดยทั่วไปเป็นด้วยเหตุผลทางศาสนา ทางการเมือง หรือทางสังคม (เช่น The Grapes of Wrath, Leaves of Grass การปฏิวัติของจีน หลักลัทธิเลนิน) หนังสือต้องห้ามเป็นหนังสือที่ถูกห้ามนำเข้าไปไว้ในห้องสมุด ร้านหนังสือ หรือห้องเรียน เนื่องจากมีเนื้อหาที่ก่อให้เกิดการโต้แย้ง การท้าทายในทางการเมือง ทางศาสนา หรือทางสังคม ในอดีตหนังสือต้องห้ามหลาย ๆ เล่มถูกเผาหรือถูกปฏิเสธการพิมพ์ การครอบครองหนังสือต้องห้ามถูกมองว่าเป็นการกระทำที่เป็นกบฏ หรือเป็นผู้มีความคิดเห็นนอกรีต ซึ่งบางครั้งอาจมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด อย่างไรก็ตาม บางครั้งการห้ามก็อาจได้รับการยกเลิกได้เมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้าม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Best sellersหนังสือขายดี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Call numberเลขเรียกหนังสือ, เลขเรียกหนังสือ, Example: หมายถึง รหัส หรือ สัญลักษณ์ที่บรรณารักษ์กำหนดขึ้นสำหรับระบุถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง หรือวัสดุห้องสมุดแต่ละชิ้น เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดใช้เป็นจุดเข้าถึงวัสดุของห้องสมุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นเหมือนบ้านเลขที่ หรือตำแหน่งของหนังสือแต่ละชื่อเรื่องที่มีอยู่ในห้องสมุดนั่นเอง เมื่อต้องการหาหนังสือชื่อเรื่องนั้น โดยสืบค้นจากบัตรรายการ หรือสืบค้นจากฐานข้อมูลห้องสมุด ได้ทราบถึงเลขเรียกหนังสือ จึงใช้เลขเรียกหนังสือนั้น หาหนังสือที่ต้องการว่าอยู่ที่ชั้นหนังสือใดของห้องสมุด นอกจากนี้ ใช้ในการสื่อสารกับบรรณารักษ์ในงานบริการจ่ายรับหนังสือ บริการตอบคำถาม ฯลฯ และให้บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์ในการจัดหา การให้บริการ การจัดเก็บ และการสำรวจวัสดุห้องสมุด เนื่องจากใช้เลขเรียกหนังสือเป็นการอ้างถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่องนั่นเอง <p>เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ เลขหมู่ และเลขผู้แต่ง <p>1. เลขหมู่ (Classification number) เป็นรหัสหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ ได้มาจากระบบการจัดหมวดหมู่ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเป็นระบบการจัดหมวดหมู่ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง <p> ตัวอย่าง H (ระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน) หมายถึง เนื้อหาในสาขาสังคมศาสตร์ <p> 025.433 (ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้) หมายถึง เลขที่ใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> วพ หมายถึง รหัสเพื่อใช้แทนประเภทของหนังสือที่เป็นวิทยานิพนธ์ <p> สวทช. สก. 8 หมายถึง รหัสและเลขที่ใช้หนังสือที่ออกโดยสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเภทหนังสือทั่วไป <p> 2. เลขผู้แต่ง (Author number) หรือเลขหนังสือ (Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น แทนชื่อเต็มของผู้แต่งหรือรายการหลักในการลงรายการหนังสือ มักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรผสมกับตัวเลข โดยใช้อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุลของผู้แต่ง (กรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ) ที่เป็นรายการหลัก ผสมกับตัวเลขที่กำหนดให้สำหรับผู้แต่งแต่ละคนตามคู่มือสำหรับกำหนดเลขประจำผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง 025.433 อ555ค <p> เลขเรียกหนังสือนี้ มาจากหนังสือชื่อ "คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน" เขียนโดย อัมพร ทีขะระ จึงได้เลขหมู่เป็น 025.433 ส่วน อ555 คือ หมายเลขผู้แต่งสำหรับ อัมพร ส่วน ค หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง คือ คู่มือ <p> การกำหนดเลขผู้แต่ง ช่วยให้หนังสือแต่ละเล่มมีเลขเรียกหนังสือที่ไม่ซ้ำกัน กรณีที่หนังสือมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน และมีการกำหนดเลขหมู่ออกมาเหมือนกัน จากตัวอย่าง ข้างต้น ถ้าห้องสมุดมีการจัดซื้อหนังสือเกี่ยวกับการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เข้ามาโดยผู้แต่งที่เขียนหลายๆ คน เลขผู้แต่งจะเป็นตัวแสดงให้เห็นความแตกต่างของผู้เขียนแต่ละคน <p> ตัวอย่าง ห้องสมุดมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยมีการกำหนดชื่อเรื่องที่เหมือนกัน หรือคล้ายกัน ได้แก่ <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย กมลา รุ่งอุทัย จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ก138 <p> การจัดหมู่หนังสือระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย บุญถาวร หงสกุล จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 บ455 <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย ระเบียบ สุภวิรี จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ร235 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย วิลัย อัคคอิชยา จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ว716 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย อัมพร ทีขะระ จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 อ555 <p> ดังนั้น เมื่อเรียงเลขเรียกหนังสือ จะเห็นความแตกต่างของเลขผู้แต่ง ภายใต้เลขหมู่หนังสือเดียวกัน <p> 025.433 ก138 <p> 025.433 บ455 <p> 025.433 ร235 <p> 025.433 ว716 <p> 025.433 อ555 <p> 3. สัญลักษณ์อื่นๆ ที่ประกอบอยู่ในเลขเรียกหนังสือ <p> 3.1 อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง กรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน แต่ใช้ชื่อเรื่องต่างกัน กรณี จะมีเลขหมู่ เหมือนกัน เลขผู้แต่ง เหมือนกัน จะทำให้เกิดความซ้ำของเลขเรียกหนังสือได้ จึงได้มีการกำหนดให้ใช้อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องใส่ไว้หลังเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> โฆษณาไทยสมัยแรก โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> โฆษณาคลาสลิค โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ 893 <p> โฆษณาไทย โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> 659.1 ในระบบการจัดหมู่ทศนิยมดิวอี้ หมายถึง การโฆษณา แต่เผอิญ เอนก นาวิกมูล แต่งหนังสือโดยใช้ชื่อว่า โฆษณา ขึ้นต้นอยู่หลายเรื่อง ถ้าจะให้เลขเรียกหนังสือ เป็น 659.1 อ893ฆ ก็จะซ้ำกันทั้งหมด ทั้งๆ ที่เป็นคนละชื่อเรื่องกัน จึงใส่ตัวอักษรอีกตัวหนึ่งเพื่อให้เกิดความแตกต่าง เช่น <p> 659.1 อ893ฆ โฆษณาไทยสมัยแรก <p> 659.1 อ893ฆค โฆษณาคลาสลิค <p> 659.1 อ893ฆษ โฆษณาไทย <p> 3.2 กำหนดสัญลักษณ์แทนประเภทของหนังสือ ส่วนมากใส่ไว้เหนือเลขหมู่ เช่น หมวดหนังสืออ้างอิง ใช้ตัว อ (คือ อ้างอิง สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาไทย) และ R หรือ Ref (คือ Reference สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ) <p> อ 495.913 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> อ PL4185 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> 3.3 สัญลักษณ์ระบุแทนปีที่พิมพ์ของหนังสือ ในกรณีที่หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่งคนเดียวกัน จัดพิมพ์ออกจำหน่ายมากกว่า 1 ครั้ง มักจะใส่ปีที่พิมพ์เพื่อให้ความแตกต่างและให้ทราบว่าเล่มใดมีความทันสมัยมากกว่ากัน โดยใส่ถัดจากเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2498 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2498 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2502 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2502 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2512 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2512 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2523 <p> 3.4 การกำหนดสัญลักษณ์บอกจำนวนซ้ำ กรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียว ปีพิมพ์เดียวกัน มากกว่า ๑ ฉบับ จะมีการกำหนดลำดับของจำนวนหนังสือแต่ละเล่มไว้ด้วย เป็น ฉ หมายถึง ฉบับ (สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ C หมายถึง Copy (สำหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) เช่น <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีจำนวน ๕ ฉบับ มีเลขหมู่ เป็น <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.1 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.2 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.3 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.4 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.5 <p> 3.5 สัญลักษณ์บอกลำดับเล่มที่ของหนังสือ กรณีที่เป็นหนังสือชุด หรือมีหลายเล่มจบ ใช้อักษร ล. (หมายถึง เล่มที่ สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ ใช้ v. (หมายถึง volume สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) และกำหนดตัวเลขบอกลำดับที่เล่มของหนังสือไว้ถัดจากเลขผู้แต่ง หรือเลขปีที่พิมพ์ <p> สารานุกรมไทย ของ อุทัย สินธุสาร <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 1 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 2 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 3 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 4 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 5 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 6 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110313-CallNumber.JPG" width="640" higth="200" alt="Call number"> <p> ตัวอย่าง เลขเรียกหนังสือที่มีทั้งเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สัญลักษณ์อื่นๆ ที่กำหนดขึ้นเป็นเลขเรียกหนังสือเฉพาะคอลเลคชั่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Fiction bookหนังสือบันเทิงคดี, Example: หนังสือบันเทิงคดี เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นจากจินตนาการของผู้เขียน ซึ่งต้องการให้ความบันเทิงและความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่านเป็นหลัก อาจสอดแทรกความรู้และความคิดต่างๆ ไว้ด้วย แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้ <p>1 นวนิยาย เป็นหนังสือที่ผู้เขียน เขียนขึ้นเพื่อให้เกิดความบันเทิงแก่ผู้อ่าน โดยไม่เน้นความเป็นจริงหรือเนื้อหาสาระ <p>2 เรื่องสั้น เป็นหนังสือที่ผู้เขียน เขียนขึ้นตามวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนวนิยาย แต่มีเนื้อหาน้อยกว่านวนิยาย มักรวมหลายเรื่อง อยู่ในเล่มเดียวกัน <p>3 หนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นสำหรับเด็กโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่มีเนื้อหาง่ายๆ หรือ เป็นหนังสือ ภาพการ์ตูน หนังสือประเภทนี้จะให้ความรู้ คติสอนใจ และสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็นของเด็ก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Rare bookหนังสือหายาก, Example: หนังสือหายาก Rarebook บทคัดย่อ หนังสือหายากกับการสืบค้น หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกหนังสือหายากคือ <p> <p> 1 เป็นเอกสารปฐมภูมิ <p> 2 มีประวัติการพิมพ์ที่สำคัญ เช่น ยุคสมัยของการพิมพ์ พิมพ์จำกัด ฉบับพิมพ์ครั้งแรก <p> 3 มีความโดดเด่นทางด้านเนื้อหา <p> 4 สภาพรูปเล่มสมบูรณ์หรือคงสภาพสวยงามตามต้นฉบับ <p> 5 เป็นหนังสือที่มีประวัติในการครอบครอง เช่นมีบุ๊คเพลตหรือบรรณสิทธิ์ มีลายมือของผู้เขียนหรือเจ้าของเดิม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Reference bookหนังสืออ้างอิง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-reference-book-1.jpg" Title="Reference book" alt="Reference book"> <p>หนังสืออ้างอิง คือ หนังสือที่มุ่งเสนอเรื่องราวความรู้พื้นฐาน ข้อเท็จจริงต่างๆ ในหลายสาขาวิชาอย่างกว้างขวาง แต่กระทัดรัด ผู้อ่านไม่จำเป็นต้องอ่านทั้งเล่มแต่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าเฉพาะเนื้อหาบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น โดยเป็นหนังสือที่เขียนและรวบรวมขึ้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ เนื้อหาจึงเป็นที่น่าเชื่อถือและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ ขณะที่รูปเล่มส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่ และหนากว่าหนังสือทั่วๆ ไป รวมถึงมีการพิมพ์ออกมาเป็นชุดๆ พร้อมทั้งมีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาของผู้อ่าน เช่น การเรียงตามลำดับอักษร เหตุการณ์ เขตภูมิศาสตร์ หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังมีลักษณะพิเศษเพื่อความสะดวกในการค้นหาเนื้อหา เช่น อักษรนำเล่ม คำนำนาง ดัชนีหัวแม่มือ สารบัญ ดัชนี ส่วนโยง <p>ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้ 2 ประเภทหลัก คือ เนื้อหาวิชา และ หน้าที่ <p>1. เนื้อหาวิชา คือ หนังสืออ้างอิงทั่วไป ที่ให้ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง ไม่จำกัดสาขาวิชา ซึ่งตรงข้ามกับหนังสืออ้างอิงเฉพาะสาขาวิชา ที่ให้ข้อเท็จจริงเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง <p>2. หน้าที่ คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้ข้อเท็จจริงภายในเล่ม และ หนังสืออ้างอิงที่เป็นเครื่องชี้โยงไปหาข้อเท็จจริงในเล่มอื่น เช่น ดัชนีวารสารและบรรณานุกรม <p>หนังสืออ้างอิงประเภทต่างๆ <p>พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ เช่น ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2549. <p>สารานุกรม เช่น โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โครงการ, 2548- <p>หนังสือรายปี เช่น สยามออลมาแนค : สารนิเทศและปูมปฎิทินการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และข้อมูลสำคัญ. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามบรรณ, 2527- <p>อักขรานุกรมชีวประวัติ เช่น คณะกรรมการรวบรวมและค้นคว้าเกี่ยวกับพระราชนิพนธ์ ฯลฯ ของพระบาทสม เด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. อักขรานุกรมนามสกุลพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์, 2534. <p>นามานุกรม เช่น สีดา สอนศรี. นามานุกรมหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การระหว่างประเทศในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2528- <p>หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ เช่น Britannica Altas. Chicago : Encyclopedia Britannica, 1987. <p>หนังสือคู่มือ เช่น ทวี แก้วมณี, ธนญา ตรึงตราจิตกุล, ชัยยา ศรีอำไพ. หนังสือคู่มือมาตรฐานและการทดสอบเครื่องเรือน. กรุงเทพฯ : ส่วนอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและคอมโพสิท สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2549. <p>ดัชนีวารสาร เช่น ธำรงค์ ชูทัพ, สุดาวรรณ เครือพานิช. ดัชนีวารสารการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2535. <p>บรรณานุกรม เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สำนักหอสมุด. บรรณานุกรม ดร.ป๋วย. [ กรุงเทพฯ ] : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529. <p>แหล่งข้อมูล: <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). <p>เพชรรัตน์ บริสุทธิ์. หนังสืออ้างอิง. สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo04/index.html (สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2554). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Weedingการคัดหนังสือออก, Example: หมายถึง การคัดหนังสือออก หรือการจำหน่ายหนังสือออก หรือการเคลื่อนย้ายทรัพยากรสารสนเทศออก เป็นกระบวนการพิจารณาการคัดเลือกหนังสือ ซึ่งอาจจะเป็นคัดออกอย่างถาวรโดยมีการจำหน่ายออกจากห้องสมุด หรือเพียงแต่การนำออกชั้นให้บริการ โดยจะมีการเก็บหนังสือที่ถูกคัดออกเหล่านี้ไว้ที่ห้องเก็บหรือพื้นที่เก็บหนังสือ แต่อาจจะยังคงมีการให้บริการอยู่ เมื่อมีการร้องขอ <p><b>ทำไมต้องมีการคัดหนังสือออก</b> <p>การคัดหนังสือออกเป็นหน้าที่ที่จำเป็นของห้องสมุดทุกแห่ง เนื่องจากเป็นการดูแลรักษาหนังสือเพื่อให้มีสภาพและเนื้อหาที่เหมาะสมกับการให้บริการในปัจจุบัน เพราะความต้องการของผู้ใช้ห้องสมุดเปลี่ยนไปตามกาลเวลา การคัดหนังสือออกเป็นเรื่องจำเป็น เพื่อหนังสือที่มีให้บริการอยู่นั้น ทันสมัยและมีเนื้อหาเหมาะการใช้งาน และเนื่องจากห้องสมุดมีพื้นที่จำกัด จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะเก็บหนังสือทุกเล่มไว้ <p><b>ประโยชน์ของการคัดหนังสือออก</b> <p>1. ประหยัดพื้นที่ เนื่องจากห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งหนังสือ วารสาร และสื่ออื่นๆ เป็นจำนวนมาก การที่ห้องสมุดมีแต่การสั่งซื้อทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทเข้ามา ทำให้ต้องหาพื้นที่ในการจัดวางทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี <p>2. ประหยัดเวลา ช่วยให้ประหยัดเวลาทั้งของผู้ใช้ เจ้าหน้าที่ เนื่องจากชั้นหนังสือที่หนาแน่นไปด้วยหนังสือที่ไม่จำเป็น จะทำให้เสียเวลาในการหาและหยิบหนังสือ และเป็นการประหยัดเวลาในการทำความสะอาดชั้นหนังสือ <p>3. ทำให้สามารถจัดหาหนังสือที่ดีกว่า ทันสมัยกว่า และเหมาะสมกว่าเข้ามาแทนที่ <p>4. เป็นการรักษาให้มีแต่หนังสือที่จำเป็นต้องใช้อย่างแท้จริง <p>5. เป็นการประเมินหาจุดแข็ง และจุดอ่อนในการจัดหาหนังสือ <p><b>เกณฑ์พื้นฐานของการคัดเลือกหนังสือออก</b> <p>1. ด้านเนื้อหา: มีเนื้อหาไม่ทันสมัย ไม่ได้รับความสนใจอีกต่อไป เนื่องจากอาจจะเคยเป็นเนื้อหาได้รับความนิยมในช่วงเวลาหนึ่ง ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือมีฉบับที่พิมพ์ปรับปรุงใหม่แล้ว หนังสือที่ได้รับไม่ครบชุด หนังสือที่พิมพ์ฉบับเก่าซึ่งมีการพิมพ์ฉบับที่ใหม่กว่า เนื้อหาที่มีความลำเอียง อคติหรือมีอันตรายแฝงอยู่ หรือเป็นหนังสือที่ไม่สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอนแล้ว <p>2. ด้านการใช้: หมายถึง จำนวนครั้งในการยืมหนังสือ ไม่มีการยืมภายใน 5 ปีล่าสุด <p>3. ด้านจำนวนฉบับซ้ำ: มีจำนวนฉบับซ้ำมากเกินไป สามารถคัดออกและมีเฉพาะเท่าที่จำเป็น <p>4. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ: เช่น ไม่ควรเก็บวารสารที่ไม่ได้จัดทำดรรชนีวารสาร วารสารที่สามารถหาได้ในฐานข้อมูลฉบับเต็ม หนังสือไม่ครบชุด หนังสือที่มีอายุเกิน 20 ปี สารานุกรมที่มีอายุกว่า 10 ปี หนังสือรายปีที่อายุเกินกว่า 2 ปีแต่ให้เก็บฉบับเก่าไว้อย่างน้อย 5 ปี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีคู่มือการใช้งานและมีอายุกว่า 7 ปี <p>5. ด้านสภาพของหนังสือ: หนังสือเล่มนั้นมีสภาพที่เสียหายเกินกว่าการซ่อมแซมหรือไม่ ขาด ปกชำรุด กระดาษเป็นสีเหลือง ขาดหายไปบางหน้า <p>6. เกณฑ์อื่นๆ: หนังสือเล่มนั้นสามารถใช้ผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุด หนังสือเล่มนั้นได้รับการประเมินว่าเป็นหนังสือคลาสสิคที่ยังต้องเก็บไว้ <p><b>หลังจากการคัดหนังสือออก</b> <p>หนังสือที่ได้รับการพิจารณาว่าควรคัดออก อาจถูกนำไปเก็บไว้ที่ห้องเก็บหนังสือ และยังคงมีกระบวนการการคัดเลือกหนังสือออกอย่างถาวรต่อไป ฐานข้อมูลที่เก็บรายการระเบียนบรรณานุกรมของหนังสือจะถูกเปลี่ยนสถานะเพื่อให้ทราบว่าหนังสือถูกนำไปอยู่ที่ห้องเก็บหนังสือ และสามารถขอใช้บริการได้ <p>หลังจากหนังสือที่ถูกเก็บเกิน 1 ปี ถ้ายังไม่มีการถูกยืมและไม่มีการแนะนำจากบรรณารักษ์ว่าควรจะเก็บไว้ หนังสือนั้นจะถูกคัดออกจากห้องสมุดอย่างถาวร หนังสือที่ถูกคัดออกอย่างถาวรอาจนำไปบริจาคให้กับห้องสมุดแห่งอื่นๆ ที่มีความต้องการหรือสามารถใช้หนังสือนั้นได้อย่างเหมาะสม หรือถูกส่งนำไปเข้าโครงการรีไซเคิล <p><b>บรรณานุกรม:</b> <p>Larson, Jeanette. 2008. CREW: a Weeding Manual for Modern Libraries. [ Online ] : Available: https://www.tsl.state.tx.us/sites/default/files/public/tslac/ld/pubs/crew/crewmethod08.pdf. Accessed: 11-08-2012. <p>Book Weeding. 2012. [ Online ]: Available: http://www.msoe.edu/library/services/weed/ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Yearbookหนังสือรายปี, Example: <p>หนังสือรายปี (Yearbooks, Annuals, Almanacs) คือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่มีกำหนดออกเป็นรายปี โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ <p> <p>1. หนังสือรายปีของสารานุกรม (Encyclopedia Yearbook) เป็นหนังสือรายปีที่จัดทำขึ้นเพื่อเติมเนื้อหาของสารานุกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอ เช่น American Annual, Britainnica Book of the Year <p>2. หนังสือรายปีที่สรุปข่าวและเหตุการณ์ในรอบปี ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม โดยเสนอในรูปของสรุปความเสนอเป็นรายสัปดาห์ เช่น World Almanac and Book of Facts, Siam Directory <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120828-Almanac.jpg" width="200" higth="100" alt="Almanac"> ภาพจาก http://www.worldalmanac.com/world-almanac.aspx <p>3. หนังสือรายปีที่สรุปผลงานของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นการสรุปผลงานประจำปีของหน่วยงานต่างๆ เช่น รายงานประจำปี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120828-NSTDA-Annual-Report.jpg" width="200" higth="100" alt="NSTDA-Annual-Report"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Aisleทางเดินระหว่างตู้หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Anonymous classicงานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง, หนังสือแบบฉบับที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book of quotationหนังสืออัญพจน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book cardบัตรหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book caseตู้หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book clothผ้าเย็บปกหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book displayการแสดงหนังสือ, นิทรรศการหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book endที่กั้นหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book exhibitionการแสดงหนังสือ, นิทรรศการหนังสือ, Example: <p>ตัวอย่างการจัดนิทรรศการอ่านงานเขียนเรื่องสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ : <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/20091003-lib-exhibition-01.jpg" alt="Book exhibition">&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/20091003-lib-exhibition-02_0.jpg" alt="Book exhibition"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book fairงานแสดงหนังสือ, งานนิทรรศการหนังสือ, Example: Book fair หมายถึง งานแสดงหนังสือ หรือ งานนิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง หรือในสถานที่ที่ทีประชาชนสามารถไปร่วมงานได้โดยสะดวก <p> ความมุ่งหมายของงานนิทรรศการหนังสือเพื่อแสดงหนังสือใหม่ เพื่อเร้าใจให้ผู้ชมเกิดความสนใจในหนังสือได้รู้จักหนังสือใหม่ และอยากอ่านหนังสือต่างๆ มากยิ่งขึ้น อันจะเป็นการสร้างนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ต่อเนื่องให้เกิดกับผู้ชมต่อไป นอกจากนั้นในงานอาจมีการจำหน่ายหนังสือใหม่ และมีกิจกรรมอื่น ๆ ประกอบ เช่น การสนทนา การอภิปราย การโต้วาที การสาธิต การแสดงละคร การเล่าเรื่องหนังสือ เกมและการแข่งขันต่าง ๆ การทายปัญหา ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีงานนิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีโดยสำนักพิมพ์ ผู้ผลิตหนังสือ และร้านหนังสือร่วมออกร้านเป็นจำนวนมาก เช่น งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ งานนิทรรศการหนังสือแฟรงค์เฟิร์ต ที่เป็นแหล่งตลาดสำคัญสำหรับสำนักพิมพ์ที่ต้องการซื้อและขายลิขสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิในการแปลและเอกสิทธิ์อื่น ๆ ให้กับต่างประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book listรายชื่อหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book markที่คั่นหนังสือ, Example: Book mark หมายถึง ที่คั่นหนังสือ ใช้เพื่อคั่นหน้าหนังสือที่กำลังอ่านอยู่ เพื่อจะได้กลับมาอ่านหนังสือนั้นในคราวต่อไปได้ต่อเนื่องกัน ที่คั่นหนังสืออาจทำด้วยกระดาษแข็งหรือด้วยวัสดุอื่น เช่น ผ้า หนัง ริบบิ้น พลาสติก เหล็ก เป็นต้น โดยทำเป็นแถบยาว ที่คั่นหนังสือบางอันประดิษฐ์ตกแต่งทำด้วยมือมีลวดลายสวยงาม บางอันอาจมีคำขวัญเกี่ยวกับการอ่านหนังสือหรือข้อความอื่น ๆ ประกอบ ในหนังสือฉบับพิมพ์ที่มีราคาแพงมาก ใช้แถบริบบิ้นยาวกว่าหน้ากระดาษติดกาวไว้กับส่วนบนสุดของสันหนังสือเพื่อเป็นที่คั่นหนังสือของหนังสือเล่มนั้น ที่คั่นหนังสือเริ่มมีการผลิตออกมาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงปัจจุบันด้วยจุดมุ่งหมายต่าง ๆ ทั้งในด้านการโฆษณาหนังสือ หรือเป็นของที่ระลึกในโอกาสต่าง ๆ เป็นสินค้า และเป็นของสะสม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book numberเลขหนังสือ, Example: <p> Book number หมายถึง เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่งหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเลขเรียกหนังสือ (Call number) ประกอบด้วยเลขหมู่หนังสือ (Class number) และเลขหนังสือ โดยเลขหนังสือจะเป็นส่วนท้ายของเลขเรียกหนังสือ เลขหนังสือนี้ประกอบด้วยตัวอักษรจากชื่อผู้แต่งกับตัวเลขจำนวนหนึ่ง และบางครั้งรวมทั้งตัวอักษรซึ่งได้มาจากชื่อหนังสือด้วย เลขหนังสือมีประโยชน์ คือ ทำให้เลขเรียกหนังสือของหนังสือแต่ละเล่มมีความแตกต่างกัน และสามารถจัดเรียงตามลำดับบนชั้นได้ไม่ซ้ำกัน <p> ในต่างประเทศได้จัดทำเลขผู้แต่งหนังสือมานานแล้ว โดยเริ่มจาก ชาร์ล เอ คัตเตอร์ (Charle A Cutter) ได้จัดทำ Cutter’s Two Figure Author Table ขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 ต่อมาเคท อี. แซนบอร์น (Kate E. Sanborn) ได้จัดทำ Three Figure Table ขึ้นจากคำแนะนำของคัตเตอร์ โดยใช้ชื่อว่า Cutter-Sanborn Three Figure Author Table ดังนั้น จึงนิยมเรียกตารางเลขผู้แต่งที่แซนบอร์น คิดขึ้นนี้ว่า Cutter-Sanborn Table และใช้เป็นพื้นฐานสำหรับเลขผู้แต่งสมัยปัจจุบัน <p> ในประเทศไทยหอสมุดแห่งชาติได้นำแนวคิดจากตารางเลขผู้แต่ง Cutter-Sanborn Three Figure Author Table มาพัฒนาตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูปของหอสมุดแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และเผยแพร่ไปยังห้องสมุดต่างๆ อย่างแพร่หลาย จนในปี พ.ศ. 2528 หอสมุดแห่งชาติ จึงได้จัดพิมพ์เผยแพร่อย่างเป็นทางการใช้ชื่อว่า ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูป (Thai Author Table) จากนั้นได้จัดพิมพ์เผยแพร่อีก 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2531, 2538 และ 2547 ตารางเลขผู้แต่งของหอสมุดแห่งชาติ ได้รับความนิยมแพร่หลาย เนื่องจากเป็นคู่มือที่มีการกำหนดเลขไว้แน่นอน เรียงชื่อผู้แต่งตามพจนานุกรม โดยกำหนดเลข 3 หลักควบคู่กับชื่อผู้แต่ง นับเป็นคู่มือที่ให้ความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงานมาก เมื่อเทียบกับการกำหนดเลขผู้แต่งโดยการบวกตัวเลขระหว่างตัวอักษรและสระประจำตัวผู้แต่ง <p> นอกจากนี้ยังมีเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยอื่น ๆ ที่ห้องสมุดหลายแห่งได้พัฒนาขึ้นใช้เอง ได้แก่ <p> 1) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของหอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p> 2) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของ หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p> 3) เลขผู้แต่งภาษาไทยของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม <p> เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยที่ห้องสมุดต่างๆ ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันคือ เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยของหอสมุดแห่งชาติ ซึ่งปัจจุบันจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 5 แล้ว <p> โดยทั่วไปเลขหนังสือประกอบด้วย เลขผู้แต่ง In general, book number = author number + title (or work) mark + edition mark + date of publication + volume number + copy number + anything else library policy dictates ตัวอย่างการให้เลขหนังสือ <p> หนังสือเล่มหนึ่ง เมื่อจัดหมวดหมู่ในระบบ LC (ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน) ได้เลขเรียกหนังสือ ดังนี้ <p> BF 408 เลขหมู่หนังสือ (Class Number) <p> ว716 เลขหนังสือ (Book number) <p> เมื่อหนังสือมีเลขหมู่หนังสือซ้ำกัน เลขหนังสือจะช่วยจัดลำดับหนังสือที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันบนชั้นได้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น มีหนังสือที่มีเลขหมู่เดียวกันบนชั้น 5 เล่ม แต่มีผู้แต่งต่างกัน เมื่อจัดวางหนังสือบนชั้น จะนำมาจัดเรียงได้ ดังนี้ <p> BF 408 BF 408 BF 408 BF 408 BF <p> ว 716 ว 447 ส 282 อ 113 อ 459 <p>ในกรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือของผู้แต่งคนเดียวกันที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันและมีอยู่บนชั้นหลายเล่ม เกิดปัญหาในการจัดวางหนังสือบนชั้น จะใช้วิธีเพิ่มตัวอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องต่อท้ายเลขหนังสือ เช่น <p> BF 408 BF 408 ดังนั้น จึงทำให้หนังสือสองเล่มนี้มีตำแหน่งที่วางโดยเฉพาะบนชั้นหนังสือ <p> อ 968 ค อ 968 จ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book reviewบรรณนิทัศน์, การวิจารณ์หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliotheraphyการรักษาด้วยหนังสือ, บรรณบำบัด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bookหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book and readingหนังสือและการอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book scoutพ่อค้าหนังสือเก่า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อ่านหนังสือ[ān nangseū] (v, exp) EN: read ; study  FR: lire ; étudier
อ่านหนังสือพิมพ์[ān nangseūphim] (v, exp) EN: read a newspaper  FR: lire un journal
ชั้นหนังสือ[chan nangseū] (n) EN: bookcase  FR: bibliothèque [ f ] (meuble) ; tablette [ f ]
ชื่อหนังสือ[cheū nangseū] (n, exp) EN: title  FR: titre [ m ] ; titre d'un livre [ m ] ; titre d'un ouvrage [ m ]
ดรรชนีชื่อหนังสือ[datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index  FR: bibliographie [ f ]
ห้องหนังสือ[hǿng nangseū] (n) EN: study room  FR: bureau [ m ] ; bibliothèque [ f ]
การอ่านหนังสือ[kān ān nangseū] (n, exp) EN: reading  FR: lecture [ f ]
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ[kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification  FR: classification des ouvrages [ f ]
การออกหนังสือ[kān øk nangseū] (n, exp) FR: publication d'un livre [ f ]
การเรียนหนังสือ[kān rīen nangseū] (n) EN: study ; learning  FR: apprentissage [ m ] ; formation (scolaire) [ f ]
การวิจารณ์หนังสือ[kān wijān nangseū] (n, exp) EN: book review  FR: critique littéraire [ f ]
เขียนหนังสือ[khīen nangseū] (n, exp) EN: write ; compose ; author (form.) ; scribe  FR: écrire ; rédiger ; s'adonner à l'écriture
คลี่หนังสือ[khlī nangseū] (v, exp) EN: open a book  FR: ouvrir un livre
คนขายหนังสือพิมพ์[khonkhāi nangseūphim] (n, exp) EN: news vendor
คนส่งหนังสือพิมพ์[khonsong nangseūphim] (n) EN: newspaper deliver  FR: livreur de journaux [ m ]
เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้[kīokap nangseū lem nī] (xp) EN: about this book  FR: au sujet de ce livre ; à propos de ce livre
กระดาษหนังสือพิมพ์[kradāt nangseūphim] (n, exp) EN: nenewsprint ; newspaper sheet  FR: papier journal [ m ]
กระเป๋าหนังสือ[krapao nangseū] (n, exp) EN: school bag
เลขที่หนังสือเดินทาง[lēkthī nangseūdoēnthāng] (n, exp) EN: passeport number  FR: numéro de passeport [ m ]
ไม่รู้หนังสือ[mai rū nangseū] (v, exp) EN: illiterate  FR: illettré ; analphabète
นักหนังสือพิมพ์[naknangseūphim] (n) EN: journalist  FR: journaliste [ m, f ]
หน้า หนังสือ[nā nangseū] (n) EN: page  FR: page
หนังสือ[nangseū] (n) EN: book ; textbook  FR: livre [ m ] ; bouquin [ m ] (fam.) ; ouvrage [ m ] ; manuel scolaire [ m ] ; livre scolaire [ m ]
หนังสือ[nangseū] (n) EN: letter ; document  FR: lettre [ f ] ; document [ m ]
หนังสืออ้างอิง[nangseū āng-ing] (n, exp) EN: reference ; documentation  FR: documentation [ f ]
หนังสืออ่านเล่น[nangseū ān len] (n, exp) EN: novel ; fiction  FR: roman [ m ]
หนังสือแบบเรียน[nangseū baēp rīen] (n, exp) EN: textbook ; school book ; course book  FR: livre scolaire [ m ] ; manuel scolaire [ m ]
หนังสือบอกกล่าว[nangseū bøkklāo] (n, exp) EN: notice
หนังสือโบราณ[nangseū bōrān] (n, exp) EN: ancient book  FR: livre ancien [ m ] ; vieux livre [ m ]
หนังสือบริคณห์สนธิ[nangseū børikhon sonthi] (n, exp) EN: memorandum of association
หนังสือชี้ชวน[nangseū chī chūan] (n, exp) EN: prospectus  FR: prospectus
หนังสือเชิญ[nangseū choēn] (n, exp) EN: letter of invitation  FR: lettre d'invitation [ f ]
หนังสือเดินทาง[nangseū doēnthāng] (n) EN: passport  FR: passeport [ m ]
หนังสือเดินทางต่างชาติ[nangseū doēnthāng tāngchāt] (n, exp) EN: foreign passport  FR: passeport étranger [ m ]
หนังสือเดินทางไทย[nangseū doēnthāng Thai] (n, exp) EN: Thai passport  FR: passeport thaï [ m ] ; passeport thaïlandais [ m ]
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์[nangseū ilekthrønik] (n, exp) EN: e-book  FR: livre électronique [ m ] ; e-book [ m ]
หนังสือแจก[nangseū jaēk] (n, exp) EN: free book
หนังสือแจ้งหนี้[nangseū jaēng nī] (n, exp) EN: letter requesting payment ; dunning letter ; reminder
หนังสือการ์ตูน[nangseū kātūn] (n, exp) FR: illustré [ m ] ; bande dessinée [ f ] ; bédé [ f ] (fam.)
หนังสือค้ำประกันธนาคาร[nangseū khamprakan thanākhān] (n, exp) EN: bank guarantee
หนังสือข้อตกลง[nangseū khøtoklong] (n, exp) EN: letter of agreement
หนังสือคู่มือ[nangseū khūmeū] (n) EN: manual ; handbook ; user's guide ; manuscript  FR: manuel [ m ] ; guide [ m ]
หนังสือคุ้มกัน[nangseū khumkan] (n, exp) EN: pass ; safe-conduct  FR: laissez-passer [ m ] ; sauf-conduit [ m ]
หนังสือเล่มนี้[nangseū lem nī] (n, exp) EN: this book  FR: ce livre
หนังสือลามก[nangseū lāmok] (n, exp) EN: pornographic book  FR: livre obscène [ m ] ; livre pornographique [ m ]
หนังสือมอบอำนาจ[nangseū møp amnāt] (n, exp) EN: power of attorney ; proxy
หนังสือมอบฉันทะ[nangseū møp chantha] (n, exp) EN: proxy ; letter of power of attorney
หนังสือแนะนำ[nangseū naenam] (n, exp) EN: letter of introduction ; letter of recommendation
หนังสือแนะนำ[nangseū naenam] (n, exp) EN: guide book  FR: guide [ m ]
หนังสือนำเที่ยว[nangseū namthīo] (n, exp) EN: guide book  FR: guide touristique [ m ]

English-Thai: Longdo Dictionary
phrase book(n) หนังสือรวมวลี
advance payment guarantee(n) หนังสือสัญญาค้ำประกันการรับเงินล่วงหน้า
get(vt) ได้รับ เช่น I got the book yesterday. ฉันได้รับหนังสือเมื่อวานนี้
bookstore(n) ร้านหนังสือ
sidebar(n) ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก
phrase bookหนังสือรวมบทสนทนาหรือสำนวนภาษาต่างประเทศ
genesis(n) หนังสือปฐมกาล หนังสือเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), Syn. The First Book of Moses
withholding tax(n) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย; เป็นภาษีที่ผู้จ่ายต้องหักไว้จากยอดเงินที่เรียกเก็บ แล้วนำส่งให้กับกรมสรรพากร โดยต้องหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้กับผู้รับเงิน; ข้อมูลเพิ่มเติม www.rd.go.th
Memorandum of Association(n) หนังสือบริคณห์สนธิ
MOA(abb) หนังสือบริคณห์สนธิ ย่อมาจาก Memorandum of Association
audiobook(n) หนังสือเสียง, หนังสือที่มีคนอ่านให้เราฟัง เช่น I’m a latecomer to this whole Harry Potter thing, but am no less enthusiastic about the recent release of the final volume of Harry Potter audiobooks., Syn. audio book
clipping(n) กฤตภาค, ข่าวในหนังสือพิมพ์ที่ตัดเป็นชิ้นๆ เช่น The company is a public relations supplier of media directories, media software, press clippings, Internet clipping, media lists and news.
exegete(n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator
midrash(n) หนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Talmud, Mikra, Masorah, Syn. Exegesis
halakhah(n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Aggadah, Syn. exegesis
aggadah(n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Halakhah, Syn. exegesis
exodus(n) หนังสืออพยพ หนังสือเล่มที่ 2 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament
leviticus(n) หนังสือเลวีนิติ หนังสือเล่มที่ 3 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament
numbers(n) หนังสือกันดารวิถี หนังสือเล่มที่ 4 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament
deuteronomy(n) หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ หนังสือเล่มที่ 5 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament
colophon(n) ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
addendum(n) ใบแทรก (โดยเฉพาะสำหรับหนังสือ), See also: ภาคผนวก, คำเพิ่มเติม
agreement(n) คำสัญญา, See also: สัญญา, หนังสือสัญญา
almanac(n) หนังสือที่บันทึกข้อมูลสถิติ, Syn. statistical almanac, record, register of the year
alphabet(n) ตัวอักษร, See also: ตัวหนังสือ, Syn. letters, syllabary, characters
Americana(n) หนังสือหรืองานเขียนที่เกี่ยวกับชนชาติอเมริกัน, Syn. American history, American materials
annual(n) หนังสือประจำปี, Syn. yearbook, yearly report book
atlas(n) หนังสือแผนที่, See also: สมุดแผนที่, Syn. book of maps
author(vt) ประพันธ์, See also: เขียนหนังสือ, แต่งหนังสือ, เขียน, Syn. compose, produce, pen
back issue(n) สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารจากอดีต, Syn. back copy, back member
back number(n) หนังสือพิมพ์/นิตยสารที่เคยตีพิมพแล้วแต่ยังมีค่าอยู่, See also: สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารฉบับที่ออกไปแล้ว, Syn. back issue
best-seller(n) หนังสือหรือสิ่งที่ขายดี
bibliography(n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog.
bibliophile(n) คนรักหรือสะสมหนังสือ
book(n) หนังสือ
bookbinder(n) คนเย็บเล่มหนังสือ
bookbinding(adj) การเย็บเล่มหรือปกหนังสือ
bookcase(n) ตู้หนังสือ, See also: ตู้หรือชั้นสำหรับใส่หนังสือ, Syn. bookshelf
bookend(n) ที่ตั้งหนังสือ (ทำให้หนังสือตรงเป็นแถว)
bookish(adj) ชอบอ่านหนังสือ
booklet(n) หนังสือเล่มเล็ก, Syn. pamphlet
bookmaker(n) คนทำหนังสือ
bookmark(n) ที่คั่นหนังสือ
bookplate(n) ป้ายชื่อในหนังสือ (ระบุผู้เป็นเจ้าของหนังสือ)
bookseller(n) คนขายหนังสือ
bookshelf(n) ชั้นหนังสือ, Syn. bookcase
bookstall(n) ร้านหนังสือเล็ก, Syn. news-stand
bookstore(n) ร้านหนังสือ, See also: ร้านขายหนังสือ, Syn. bookshop
bookworm(n) หนอนหนังสือ
braille(vt) พิมพ์ตัวหนังสือเบลล์, See also: พิมพ์ด้วยอักษรเบลล์
broadsheet(n) หนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่
brochure(n) แผ่นพับสำหรับโฆษณา, See also: สมุดหรือหนังสือที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า มีภาพประกอบ, Syn. booklet
byline(n) บรรทัดแรกหรือสุดท้ายในหนังสือพิมพ์/นิตยสารที่ลงชื่อผู้เขียน
call number(n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด
carrel(n) ช่องหรือโต๊ะอ่านหนังสือเล็กเฉพาะบุคคล, Syn. cubical, stall
carrier(n) คนส่งหนังสือพิมพ์
cartoon strip(n) การ์ตูนสั้นๆ ในหนังสือพิมพ์, Syn. comic strip, strip cartoon
centerfold(n) หน้ากระดาษคู่ที่อยู่ตรงกลางหนังสือ, Syn. centrefold
centrefold(n) หน้ากระดาษคู่ที่อยู่ตรงกลางหนังสือ, Syn. centerfold
certificate(vt) รับรองด้วยหนังสือรับรอง, See also: รับรองด้วยเอกสารรับรอง
certificate(n) หนังสือรับรอง, Syn. credential
certificate(vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร
certify(vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร
chapbook(n) หนังสือเล่มเล็กๆ, Syn. pamphlet
chapter(n) บท (ของหนังสือหรืองานเขียน), See also: เรื่อง, ตอน, ส่วนย่อย, Syn. section, episode
charge(vt) ยืม (หนังสือ), See also: ยืมหนังสือจากห้องสมุด, Syn. borrow
charge(vt) ลงบันทึกการยืม, See also: ลงบันทึกการยืมหนังสือ จากห้องสมุด
charter(n) ใบอนุญาต, See also: ตราตั้ง, ใบทะเบียน, หนังสืออนุญาต, Syn. license, grant
charter(n) สัญญาเช่า, See also: หนังสือสัญญา, สัญญารับเหมา
check(n) เช็ค, See also: หนังสือตราสาร, Syn. bank check, cheque
clipping(n) ข่าวสารที่ตัดจากหนังสือพิมพ์หรือนิตยาสาร

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
abc(เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด
act(แอคทฺ) n., vt., vi. การกระทำ, พฤติการณ์, ฉาก, องก์ (ละคร) , การเล่นละคร, ฤทธิ์, อำนาจ, การดำเนินคดี, การปฏิบัติหน้าที่, การบังเกิดผล, การแกล้งทำ, เหตุการณ์ในละครหรือหนังสือ, เครื่องจักร, การเคลื่อนไหว, การรบ, Syn. perform, do, pl abbr. activated clotting enzyme
acts of the apostlesหนังสือหรือบทหนึ่งของพระคัมภีร์ New Testament ของคริสเตียน
agenda(อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable
ambry(แอม' บรีป n. ตู้ใส่อาหาร, ตู้เสื้อผ้า, ตู้ใส่ภาชนะ, หนังสือ, เครื่องแต่งตัวและอื่น ๆ ของโบสถ์
americana(อะเมริแคน' นะ) n. หนังสือหรือแผนที่ที่เกี่ยวกับอเมริกา, สิ่งสะสมดังกล่าว
amos(เอ' มอส) n. ผู้เผยแพร่ศาสนา, บทหนังสือในพระคัมภีร์ (a minor Prophet)
annalist(แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events)
annals(แอน' นัลซฺ) บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events)
annual(แอน' นวล) adj. ประจำปี, ทุกปี, เกี่ยวกับปี, เกิดขึ้นระหว่างปี, มีชีวิตอยู่เพียงฤดูเดียวหรือปีเดียว. -n. พืชที่มีชีวิตอยู่เพียงฤดูเดียวหรือปีเดียว, หนังสือหรือรายได้ประจำปี. -annually adv., Syn. yearlong, yearly
antiphonary(แอนทิฟ' โพนารี) n. หนังสือเกี่ยวกับ antiphons (book of antiphons)
antiquarian(แอนทีแคว' เรียน) adj. เกี่ยวกับการศึกษาโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับหนังสือเก่า ๆ หรือที่หายาก. -antiquarianism n.
apocrypha(อะพอค'ระฟะ) n. กลุ่ม 14 บทหนังสือของพระคัมภีร์เก่า Old Testment ของคริสเตียน, บทหนังสือศาสนาที่หาแปล่งมาไม่แน่ชัดและไม่เป็นที่ยอมรับกันมาก (shorten)
apologia(แอพพะโล'เจีย) n. หนังสือแก้ต่างหรือแก้ข้อกล่าวหา, การแก้ข้อกล่าวหา (apology)
arithmetic(อะริธ'เมททิค) n. เลขคณิต, หนังสือเกี่ยวกับเลขคณิต. -adj. เกี่ยวกับเลขคณิต
armorial(อาร์มอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับ heraldry. -n. หนังสือที่เกี่ยวกับ heraldry
authorship(ออ'เธอชิพ) n. อาชีพการเขียนหนังสือหรือบทความ, แหล่งที่มาของผลงาน
balloon helpคำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ
best sellern. หนังสือหรือสินค้าที่ขายดีที่สุดในระยะหนึ่ง, See also: bestselling n.
bibliography(บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม
bibliophile(บิบ'ลีอะฟิล, -ไฟล์) n. ผู้ชอบหนังสือ, ผู้ชอบสะสมหนังสือ, See also: bibliophilist, bibliophilism n. bibliophilistic adj. ชอบหนังสือ bibliophilic adj. ชอบหนังสือ, Syn. book lover
bill(บิล) { billed, billing, bills } n. ตั๋วเงิน, พันธบัตร, ธนบัตร, บิล, ใบเสร็จ, ใบแสดงรายงานซื้อขาย, พระราชบัญญัติ, ญัตติ, ร่างญัตติ, คำโฆษณา, รายการ, หนังสือยื่นฟ้อง, จะงอยปาก, ปากนก -Phr. (a Bill of Oblivion พระราชบัญญัติอภัยโทษ) -Id. (bill the bill สนองความต้องการทั้งหมด
binder(ไบ'เดอะ) n. สิ่งที่ผูกมัด, ผู้ผูก, ผู้มัด, การเย็บปก, ยาเกาะติด, เชือก, สายมัด, แผ่นปะหน้าหนังสือ, เงินมัดจำ, เครื่องเย็บเล่ม, เครื่องเข้าปก, แฟ้ม
bindery(ไบ'เดอรี) n. ร้านหรือโรงเย็บเล่มหนังสือ, ร้านหรือโรงเข้าปกหนังสือ
binding(ไบน์'ดิง) n. การผูก, การมัด, สิ่งผูกมัด, การเข้าปกหนังสือ, การเย็บเล่มหนังสือ, การทำให้ท้องผูก, สายมัด, สายพัน, ยาเชื่อมติด adj. จำเป็น, ผูกพัน, Syn. compelling
boodrestที่ค้ำหนังสือที่เปิดอ้า
boohoo(บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช
book(บุค) n. หนังสือ v.จอง, การจอง
book jacketn. ปกหุ้มหนังสือ
bookbindery(บุค'ไบเดอรี) n. ร้านเข้าปกหนังสือ, ร้านทำปกหนังสือ
bookbinding(บุค'ไบดิง) n. การเข้าปกหนังสือ, การทำปกหนังสือ
bookcase(บุค'เคส) n. ตู้หรือชั้นสำหรับใส่หนังสือ
bookend(บุค'เอนดฺ) n. ที่หนีบค้ำแถวหนังสือให้ตั้งตรง, Syn. bookend
bookie(บุค'คี) n. คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า, Syn. bookmaker
bookish(บุค'คิช) adj. ชอบอ่านหนังสือ, ชอบศึกษา, หนอนหนังสือ, เกี่ยวกับหนังสือ, เกี่ยวกับอักษรศาสตร์, See also: bookishness n., Syn. erudite
booklearned(บุด'เลิร์นดฺ) adj. ซึ่งเชื่อถือความรู้ในหนังสือ, การศึกษา
bookletn. หนังสือเล่มเล็ก ๆ
bookmakern. คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า, See also: bookmaking n. การทำหนังสือ
bookmarkn. ที่คั่นหนังสือ, ริบบิ้นหรือกระดาษคั่นหนังสือ ที่คั่นหนังสือคั่นหน้า1. การใช้ที่คั่นหนังสือนั้นเพื่อประโยชน์ในการกลับมาหาที่เก่าได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาค้นหา ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ทำไว้ให้ง่ายในการกลับมาค้นหา 2. เป็นคำสั่งในโปรแกรมบางโปรแกรมที่ช่วยให้กลับมาค้นหาง่าย กล่าวคือนำข้อความหรือคำสั่งมารวมไว้ หากต้องการสั่งก็จะหาพบได้ง่าย เช่น ในโปรแกรมเน็ตสเคป (ใช้อินเตอร์เน็ต) การเลือกคำสั่ง bookmark หมายถึงการนำชื่อโฮมเพจที่จะใช้บ่อย ๆ ไปเก็บรวมไว้ เมื่อต้องการกลับไปใช้อีก จะได้สั่งได้สะดวก
bookplaten. ป้ายชื่อเจ้าของหนังสือหรือห้องสมุดที่ติดกับหนังสือ
bookrackที่ค้ำหนังสือที่เปิดอ้า
bookshelf(บุค'เชลฟฺ) n. หิ้งหนังสือ, ที่ตั้งหนังสือ
bookstall(บุค'สทอล) n. ที่สำหรับตั้งหนังสืออ่าน
bookstandร้านขายหนังสือเล็ก, แผงหนังสือ, หิ้งหนังสือ
bookstoren. ร้านขายหนังสือ
bookworm(บุค'เวิร์ม) n. ผู้ที่ชอบอ่านหนังสือมาก, คนที่ชอบเรียนหนังสือมาก, หนอนหนังสือ, หนอนกัดกินหนังสือ, ปลวกหนังสือ
braille(เบรล) n. ตัวหนังสือนูนสำหรับคนตาพิการ, ชื่อผู้สร้างตัวหนังสือดังกล่าว vt. เขียนตัวหนังสือเบรลล์
breviary(บรี'วิเออรี่) n. หนังสือบทสวดมนต์และอธิษฐานทุกวันของศาสนาคาทอลิก, ใจความสำคัญ
brochure(โบร?ัวร์') n. หนังสือเล่มเล็ก
brown studyn. อยู่ในภวังค์, หมกมุ่นอยู่กับการดูหนังสืออย่างมาก

English-Thai: Nontri Dictionary
annals(n) สมุดบันทึกเหตุการณ์ประจำปี, หนังสือประจำปี
annual(n) หนังสือประจำปี, หนังสือรายปี
archivist(n) ผู้เก็บเอกสารสำคัญ, พนักงานเก็บหนังสือ
bibliophile(n) ผู้สะสมหนังสือ
bibliopole(n) คนขายหนังสือ
bibliotheca(n) ห้องสมุด, รายชื่อหนังสือ
bimonthly(n) หนังสือพิมพ์ออกทุกๆสองเดือน
BLACK AND black and white(n) ข้อเขียน, สิ่งพิมพ์, ตัวหนังสือ
book(n) หนังสือ, ตำรา, สมุด, คัมภีร์
bookcase(n) ตู้หนังสือ
bookie(n) คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า
bookish(adj) เป็นหนอนหนังสือ
booklet(n) หนังสือเล่มเล็ก
bookmaker(n) คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า
bookmark(n) ที่คั่นหนังสือ
bookseller(n) คนขายหนังสือ
bookshop(n) ร้านขายหนังสือ
bookstall(n) แผงขายหนังสือ
bookstand(n) แผงหนังสือ, ร้านขายหนังสือ, หิ้งหนังสือ
bookstore(n) ร้านขายหนังสือ
bookworm(n) หนอนหนังสือ
brochure(n) แผ่นพับ, หนังสือเล่มเล็กๆ
bumf(n) หนังสือราชการ, กระดาษบันทึก
bureau(n) ที่ทำการ, โต๊ะทำงาน, โต๊ะเขียนหนังสือ
censor(n) ผู้ติชม, ผู้ตรวจหนังสือพิมพ์ฯลฯ, ผู้ควบคุมความประพฤติ
censor(vt) ติชม, ตรวจหนังสือพิมพ์, จับผิด, ตรวจสอบ, เซนเซอร์
censorship(n) การติชม, การตรวจหนังสือพิมพ์, การตรวจตรา, การตรวจสอบ, การเซนเซอร์
certificate(n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, ใบรับรอง, หนังสือรับรอง
Chinese(n) ชาวจีน, คนจีน, ภาษาจีน, หนังสือจีน
COMIC comic book(n) หนังสือการ์ตูน
communique(n) หนังสือแถลงการณ์
compendium(n) บทสรุป, หนังสือย่อเรื่อง
contract(n) สัญญา, ข้อตกลง, นิติกรรมสัญญา, หนังสือสัญญา, ไพ่
courier(n) ผู้สื่อข่าว, ผู้ส่งข่าว, คนเดินหนังสือ
credentials(n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, หนังสือรับรอง, หลักฐานอ้างอิง, สาสน์ตราตั้ง
daily(n) หนังสือพิมพ์รายวัน
davenport(n) เก้าอี้นวม, โต๊ะหนังสือ
despatch(vt) ส่ง, เดินหนังสือ, รีบทำ, จัดการ, ฆ่า
dictionary(n) พจนานุกรม, ปทานุกรม, หนังสือรวมคำศัพท์, อภิธานศัพท์
digest(n) เรื่องย่อ, หนังสือประมวลกฎหมาย
diploma(n) ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, อนุปริญญา, หนังสือสำคัญ
dispatch(n) ข่าวด่วน, การฆ่า, การส่งไป, การส่งหนังสือ, ความฉับไว, หนังสือราชการ
dispatch(vt) เดินหนังสือ, รีบทำ, ส่งไป, ฆ่า
draftsman(n) คนยกร่าง, การสเก็ตภาพ, คนร่างหนังสือ
express(n) รถด่วน, การส่งด่วน, คนเดินหนังสือพิเศษ
fillet(n) สันหนังสือ, ปลาแผ่น, มงคลสวมหัว, ริบบิ้น, โบผูกผม
folio(n) หนังสือหน้ายกใหญ่, เลขหน้าหนังสือ
frontispiece(n) ภาพตรงข้ามกับหน้าบอกชื่อหนังสือ
gazette(n) หนังสือพิมพ์, หนังสือราชกิจจานุเบกษา
gazetteer(n) นักหนังสือพิมพ์, อักขรานุกรมภูมิศาสตร์

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
show-cause notice(n) หนังสือชี้แจงข้อมูล
Abnahmebescheinigung { f }; Abnahmeprotokoll { n }(n) หนังสือรับรองการรับรอง, See also: A. ไม่ยอมรับ, เห้นด้วย, Syn. การยินยอม
act(n) หนังสือสัญญา (รัฐศาสตร์)
blockbusterภาพยนตร์หรือหนังสือที่ประสบความสำเร็จได้รับความนิยมจากผู้ชมหรือผู้อ่าน, หนังทำเงิน, หนังสือขายดี
book(n) หนังสือ
consent letter(n, law) หนังสือแสดงความยินยอม
Deed of Guarantee(n) หนังสือค้ำประกัน
Encyclopaedia Britannica(name) เป็นหนังสือที่มีลักษณะคล้ายกับ Dictionary ให้ข้อมูลต่างๆมากมาย
fomite(n) วัตถุที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค เช่น จานชาม หนังสือ ลูกบิดประตู เสื้อผ้า เป็นต้น
fools capหมวกชนิดหนึ่งมีลูกพรวน ซึ่งตลกหลวงในสมัยก่อนสวมใส่, กระดาษเขียนหนังสือมีบรรทัด พับสองทบได้
Graded Readersหนังสืออ่านนอกเวลา
i owe you(n) หนังสือรับสภาพหนี้, Syn. IOU
in addition to(prep) พร้อมด้วย, รวมทั้ง เช่น We'll need passports in addition to other documents. เราต้องการหนังสือเดินทางพร้อมทั้งเอกสารอื่นๆ อีกด้วย
interlibrary loanระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด
iou(n) หนังสือยอมรับสภาพหนี้
jacket(n) 1. เสื้อคลุม, เสื้อแจ็กเก็ต 2. ปกหนังสือ, แฟ้มเอกสาร, ซองสำหรับใส่แผ่นเสียง 3. เปลือก (ของมันฝรั่ง) 4. เสื้อชูชีพ
LANNA(n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน
letter of administration(n) หนังสือแต่งตั้งผู้จัดการมรดกโดยคำสั่งศาล
letter of orderหนังสือสั่งการ
lettered(adj) อ่านหนังสือออก
memorandum of association(n) หนังสือบริคณห์สนธิ
One Piece(n, name) มังงะ(หนังสือการ์ตูน) ชื่อดังของญี่ปุ่นซึ่งมียอดขายอยู่ในลำดับต้นๆของโลก เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการผจญภัยของลูฟี่ หนุ่มน้อยผู้อยากเป็นจ้าวแห่งโจรสลัด!
Pharmacopoeia[ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ
phrase book(n) หนังสือสอนภาษาฉบับย่อ
prequelคำเรียกหนังสือ/ภาพยนตร์ภาคต่อ ที่มีลำดับเนื้อเรื่องก่อนเนื้อเรื่องหลัก เช่น หนังภาคแรกที่จบไปแล้วเป็นเรื่องของตัวเอก และหนังภาค2ที่กำลังเข้าเป็นเรื่องของพ่อแม่ตัวเอก ในวงการหนังจะเรียกหนังภาค 2 ว่า "prequel" เป็นต้น
prospectus(n) (ธุรกิจ, การเงิน) หนังสือชี้ชวน
scarlet letter(n) หนังสือหรือจดหมายที่ผู้แต่งเขียนไว้สำหรับขอโทษในความผิดพลาดของตัวเอง, จดหมายลา
Schutzumschlag { m }(n) ปกสำหรับกันฝุ่นเกาะ, หนังสือปกแข็ง
scribble(n) ตัวหนังสือหยุกหยิก, การแต่งหนังสือเลว
slipcase(n) กล่องใส่หนังสือซึ่งมีที่เปิดออกด้านเดียว คือ ทางด้านสันหนังสือ
Image:
to study for the examอ่านหนังสือสอบ
Unless otherwise endorsed(phrase, colloq, passport) นอกจากจะเขียนบันทึกไว้เป็นอย่างอื่น (ปรากฎในหน้าหนังสือเดินทาง)
ซากอ้อย(n, slang) เศษซากของประโยชน์ ไม่ได้มีห่าอะไรเล้ย...ซากอ้อยว่ะ เดิมทีปรากฎอยู่ในเนื้อเพลงของวง so cool มีคนมาพูดผ่านๆ หูนายวิชัย นายวิชัยนำไปเขียนลงบล็อก จากบล็อกลงหนังสือ... ว่าแต่จะบอกที่มาทำซากอ้อยอะไรวะ
ิิฺBookหนังสือ

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
五書[ごしょ, gosho] (n) หนังสือเบญจบรรณ เป็นหนังสือห้าเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(ภาคพันธสัญญาเก่า) ซึ่งประกอบไปด้วย หนังสือปฐมกาล หนังสืออพยพ หนังสือเลวีนิติ หนังสือกันดารวิถี และหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ, See also: R. Old Testament, Genesis, Exodus, Leviticus, Numbers, Deuteronomy
創世記[そうせいき, souseiki] (n) หนังสือปฐมกาล หนังสือเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า)
文学[ぶんがく, bungaku] การประพันธ์, การเขียนหนังสือ, การแต่งหนังสือ
新聞[しんぶん, shinbun] (n) หนังสือพิมพ์
漫画[まんが, manga] (n) หนังสือการ์ตูน
申命記[しんめいき, shinmeiki] (n) หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ หนังสือเล่มที่ 5 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: R. The Old Testament
稟議書[りんぎしょ, ringisho] (n) หนังสือเวียนเพื่อขอการรับรอง
通知書[ツウチショ, tsuuchisho] (n) หนังสือแจ้งให้ทราบ
釈義[しゃくぎ, shakugi] หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ, Syn. 訢詁

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
訢詁[くアぢ, ku a ji] (n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ในศาสนาต่างๆ (exegesis), See also: S. 釈義
朝日新聞[あさひしんぶん, asahishinbun] (n, name, org, uniq) ชื่อของหนังสือพิมพ์ญี่ปุ่น
book[ฮิรากะนะ] (n) หนังสือ
[ふし, fushi] บทหรือเนื้อหาหรือตอนในบทความหรือในหนังสือ Section
手記[しゅき, shuki] หนังสือบริคณห์สนธิ, โน้ต, หมายเหตุ, จดหมายสั้นๆ
漫画[まんが, manga] (n) หนังสือการ์ตูนใช้เรียกเฉพาะในรูปแบบของประเทศญี่ปุ่น
あります[arimasu, arimasu] มี / อยู่ ใช้กับ สิ่งต่างๆ ที่ขยับด้วยตัวเองไม่ได้ [ สิ่งไม่มีชีวิต ] รวมถึงต้นไม้ ใช้ร่วมกับคำช่วย が[ ga ] เช่น 私は 本が あります ฉันมีหนังสือ
[ほん, hon, hon , hon] (n) หนังสือ
信用状[しんようじょう, shinyoujou] (n) หนังสือจากธนาคารหนึ่งไปยังอีกธนาคารหนึ่ง ให้จ่ายเงินในจำนวนที่ระบุไว้แก่บุคคลที่ระบุไว้
新聞記者[しんぶんきしゃ, shinbunkisha] (n) นักหนังสือพิมพ์
文書番号[ぶんしょばんごう, bunshobangou] (n) เลขที่หนังสือ

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
書き方[かきかた, kakikata] TH: วิธีเขียน ลายมือเขียนหนังสือ  EN: way of writing
前書き[まえがき, maegaki] TH: บทนำในบทความ หนังสือ เอกสาร  EN: preface
[か, ka] TH: บท(ในหนังสือ)  EN: counter for chapters (of a book)
単行本[たんこうぼん, tankoubon] TH: หนังสือที่ตีพิมพ์เป็นเล่มเล็กขนาดฝ่ามือ  EN: special book
単行本[たんこうぼん, tankoubon] TH: หนังสือที่แยกเป็นเล่ม ๆ  EN: separate volume
[ほん, hon] TH: หนังสือ  EN: book
投稿[とうこう, toukou] TH: การส่งเรื่องไปลงหนังสือพิมพ์หรือวารสาร  EN: submission

German-Thai: Longdo Dictionary
Buch(n) |das, pl. Bücher| หนังสือ
Medium(n) |das, pl. Medien| สื่อ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์
gleichzeitig(adj, adv) ในขณะเดียวกัน, ในเวลาเดียวกัน เช่น Er kann telefonieren und gleichzeitig auch lesen. เขาสามารถโทรศัพท์ในเวลาเดียวกันก็อ่านหนังสือไปด้วยได้, Syn. zur gleichen Zeit
Lehrbuch(n) |das, pl. Lehrbücher| หนังสือเรียน
Bücherregal(n) |das, pl. Bücherregale| ชั้นวางหนังสือ
Schreibtisch(n) |der, pl. Schreibtische| โต๊ะเขียนหนังสือ, โต๊ะทำงาน
Kapitel(n) |das, pl. Kapitel| บทในหนังสือ
Prospekt(n) |der, pl. Prospekte| เอกสารหรือหนังสือหรือแผ่นพับแสดงรายละเอียดของโครงการและความคืบหน้า, Syn. die Broschüre
leicht verdaulich(adj) ง่ายต่อการเข้าใจ เช่น Das Buch ist leicht verdaulich. หนังสือเล่มนี้ง่ายต่อการเข้าใจ
faulenzen(vi) |faulenzte, hat gefaulenzt| เกียจคร้าน ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ เช่น Am Wochenende habe ich oft gefaulenzt z.B. im Bett gelesen und ferngesehen. วันเสาร์อาทิตย์ฉันมักอยู่ว่างๆ เฉยๆ ตัวอย่างเช่น โดยการอ่านหนังสือบนเตียงและดูทีวี
Tabellenhandbuch(n) |das, pl. Tabellenhandbücher| หนังสือที่มีข้อมูลแสดงไว้ในรูปแบบของตาราง สำหรับเปิดดูค่าต่างๆ ที่ต้องการ
Gefallen(n) |der, nur Sg.| ความกรุณา, ความชอบ, การบริการที่ถูกใจ มักจะเป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ เช่น Schatz! Kannst du mir bitte einen Gefallen tun, mir eine Zeitung zu kaufen? = ที่รักจ๋า, คุณช่วยทำอะไรให้ผมหน่อยได้มั้ย แค่ไปซื้อหนังสือพิมพ์
Impfschein(n) |der, pl. Impfscheine| หนังสือบันทึกการรับวัคซีนป้องกันโรค
Zeitung(n) |die, pl. Zeitungen| หนังสือพิมพ์
abonnieren(vt) |abonnierte, hat abonniert| บอกรับเป็นสมาชิก, ลงนามเป็นสมาชิก เช่น eine Zeitung abonnieren รับหนังสือพิมพ์ประจำ
üblich(adj) ธรรมดา, สามัญ, ดาษดื่น, ทั่วไป เช่น Das Buch ist weit mehr als übliche Städteführer. หนังสือเล่มนี้มีอะไรมากกว่าหนังสือแนะนำท่องเที่ยวทั่วไปเป็นพิเศษ, Syn. ordinär
erscheinen(vi) |erschien, ist erschienen| ออกวางตลาด(หนังสือ) เช่น Das Magazin 'Spiegel' erscheint wöchentlich. นิตยสาร Spiegel ออกวางตลาดทุกอาทิตย์
reichen(vt) |reichte, hat gereicht| ส่งให้, มอบให้, ยื่น เช่น Kannst du bitte ein Buch meinem Freund in Thailand reichen? เธอช่วยมอบหนังสือเล่มหนึ่งให้แฟนฉันที่เมืองไทยได้ไหม, See also: Related: geben
Buchhandlung(n) |die, pl. Buchhandlungen| ร้านหนังสือ
je nachdemขึ้นอยู่กับว่า (มักตามด้วยวลีที่ขึ้นต้นด้วย wann / wie / wieviel / ob) เช่น Ich werde meiner Freundin ein Buch oder eine Handtasche zu ihrem Geburtstag schenken, je nachdem wieviel Geld ich in diesem Monat übrig habe. ผมจะให้หนังสือหนึ่งเล่มหรือกระเป๋าถือหนึ่งใบเป็นของขวัญวันเกิดแก่แฟนผม แต่มันขึ้นกับว่าผมมีเงินเหลืออยู่เท่าไหร่เดือนนี้
jedes|+ คำนามเพศกลาง หรือ เป็นคำแทนนามเพศกลาง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Hast du jedes Buch schon gelesen? เธออ่านหนังสือทุกเล่มหรือยังเอ่ย
stehen(vi) |stand, hat gestanden, + in/auf/an + D| มีเขียนไว้, ถูกเขียนไว้ เช่น In der Zeitung steht eine interessante Nachricht. ในหนังสือพิมพ์มีข่าวที่น่าสนใจอันหนึ่ง
Autor(n) |der, pl. Autoren| ผู้ประพันธ์, ผู้แต่งหนังสือ
Redaktion(n) |die, pl. Redaktionen| กองบรรณาธิการหนังสือ, คณะทำงานในกองถ่ายภาพยนตร์เกี่ยวกับสารคดี
englisch(adj) ที่เกี่ยวกับอังกฤษ เช่น englischer Tee ชาอังกฤษ, englische Bücher หนังสือภาษาอังกฤษ
wachen(vi) |wachte, hat gewacht, über + A| ไม่นอน, นอนไม่หลับ, คอยเฝ้าระวัง เช่น Er wachte die ganze Nacht am Schreibtisch. เขาอยู่ที่โต๊ะเขียนหนังสือไม่ยอมนอนทั้งคืน
neigen(vt) |neigte, hat geneigt| เอน, เอียง, งอ, ก้ม เช่น Ich habe den Kopf über das Buch geneigt. ฉันก้มหัวลงดูหนังสือ
Bücher(pl) หนังสือ, See also: Related: Buch
rollen(vt) |rollte, hat/ist gerollt, etw.(A)| ม้วน หมุน พัน เช่น das Fleisch in Zeitungspapier rollen ห่อพันเนื้อด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์, Syn. einwickeln
Presse(n) |die, pl. Pressen| สื่อมวลชน (โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์)
Tageszeitung|die, pl. Tageszeitungen| หนังสือพิมพ์รายวัน

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*ufgeben; verzichten (auf) | aufgebend; verzichtend*ลาออก, สละ, ยกให้, เลิก, ทิ้ง, หนังสือลาออก, ปล่อยตัว, มอบตัว
torah(n) หนังสือเบญจบรรณ หรือหนังสือโทราห์ เป็นชื่อเรียกหนังสือ 5 เล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางของหลักข้อเชื่อศาสนายิว, See also: The Old Testament, Syn. Pentateuch

French-Thai: Longdo Dictionary
journal(n) |m, pl. journaux| หนังสือพิมพ์
Image:
leçon(n) la, บทเรียน เช่น étudier une leçon = เรียนหนังสือหนึ่งบท
hebdomadaire(adj) รายสัปดาห์, ที่ออกทุกสัปดาห์ เช่น journal hebdomadaire หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์
hebdomadaire(n) |m| หนังสือหรือนิตยสารรายสัปดาห์

French-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
éxgèse(n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ อย่างเช่น พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หนังสือเบญจบรรณ พระคัมภีร์อัลกุรอ่าน พระไตรปิฏก หรือคัมภีร์พระเวท เป็นต้น

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top