ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อชา, -อชา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ โอชา | (adj) delicious, See also: tasty, yummy, ambrosial, delectable, scrumptious, toothsome, Syn. โอชะ, อร่อย, Example: พระผู้เป็นเจ้าทรงประทานอาหารโอชา และอุดมสมบูรณ์ให้แก่เรา, Thai Definition: มีรสดี | ลือชา | (v) be well-known, See also: be celebrated, be renowned, be famous, Syn. ลือชาปรากฏ, ขึ้นชื่อลือชา, โด่งดัง, ระบือ, เลื่องชื่อ, เลื่องลือ, ลือเลื่อง, ลือนาม, ลือชื่อ, Example: กาญจนบุรีเป็นค่ายเชลยที่ลือชามากในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง | เชื้อชาติ | (n) race, See also: origin, nationality, extraction, Syn. เผ่าพันธุ์, Example: สังคมอเมริกันนั้นเป็นสังคมของคนหลายเชื้อชาติมาร่วมกัน, Thai Definition: ผู้ที่ร่วมเผ่าพันธุ์เดียวกัน | ขึ้นชื่อลือชา | (adj) be celebrated, See also: be famous, be renowned, be well known, Syn. เลื่องลือ, มีชื่อเสียง, Example: เมืองพัทยาเป็นเมืองท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อลือชาอันดับหนึ่งของเมืองไทย | ลูกเสือชาวบ้าน | (n) civil boy scout, Example: เขามาฝึกเป็นลูกเสือชาวบ้าน เพื่อไปทำประโยชน์แก่คนในท้องถิ่น, Thai Definition: ชาวบ้านที่ฝึกอบรมให้มีระเบียบวินัยแบบลูกเสือ |
|
| เชื้อชาติ | น. ผู้ที่ร่วมเผ่าพันธุ์เดียวกัน. | ต่อชะตา, ต่อชาตา | ก. ทำพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ, ต่ออายุ ก็ว่า. | เรือชา | น. เรือที่ขายเครื่องหอมต่าง ๆ มีแป้งและน้ำหอมเป็นต้น. | ลือชา, ลือชาปรากฏ | ก. มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้กันทั่วไป. | สละชีพเพื่อชาติ | ก. ยอมเสียชีวิตเพื่อปกป้องประเทศชาติ. | อชา | น. แพะตัวเมีย. | อชา | ดู อชะ. | โอชะ, โอชา | ว. มีรสดี, อร่อย. | โอชะ, โอชา | น. รสที่ซึมซาบ, เครื่องหรือสิ่งบำรุงเลี้ยงให้เกิดความเจริญงอกงาม. | กระทุงเหว | น. ชื่อปลาผิวนํ้าทุกชนิด ในวงศ์ Belonidae และ Hemiramphidae ลำตัวกลมยาวคล้ายปลาเข็ม กระดูกปากทั้งตอนบนและล่างหรือเฉพาะตอนล่างยื่นยาวแหลม หางเป็นแฉก บ้างก็ตัดเฉียงลงมากน้อยหรือกลมแล้วแต่ชนิดหรือสกุล ส่วนใหญ่พบในเขตนํ้ากร่อยหรือชายทะเล เช่น ชนิดในสกุล Hemiramphus, Hyporhamphus, Rhynchorhamphus, Tylosurus, Strongyluraและ Zenarchopterusชนิดที่พบในทะเลห่างฝั่งและบริเวณรอบเกาะ คือ กระทุงเหวบั้ง [ Ablennes hians (Valenciennes) ] ซึ่งมีชุกชุมที่สุด บางชนิดพบอาศัยอยู่ในนํ้าจืด เช่น กระทุงเหวเมือง [ Xenentodon cancila (Hamilton) ] ขนาดยาวได้ถึง ๑.๒๕ เมตร, เข็ม ก็เรียก. | กะต่อม | น. ชื่อกุ้งขนาดกลางชนิด Macrobrachium equidens (Dana) ในวงศ์ Palaemonidae ก้ามมีปื้นสีเข้ม อาศัยอยู่ในย่านน้ำกร่อย และพบบ้างในน้ำจืดหรือชายทะเล, กุ้งแห ก็เรียก. | กุ๊น | ก. ขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่น ๆ ใช้แถบผ้าย้วยหรือเฉลียงเย็บหุ้ม ๒ ข้างเม้มเข้าเป็นตะเข็บกลมบ้างแบนบ้าง มักใช้ที่คอเสื้อหรือชายเสื้อเป็นต้น. | เกียรติยศ | (เกียดติยด) น. เกียรติโดยฐานะตำแหน่งหน้าที่หรือชาติชั้นวรรณะ. | เขียวไข่กา | น. ชื่อชามสมัยก่อน สีเขียวปนครามอ่อน ๆ รูปก้นสอบ ปากผาย. | โคล ๑ | (โคน) น. ชนกลุ่มหนึ่งในประเทศอินเดียฝ่ายใต้ เช่น ผู้สืบสัมพันธ์โคตรเค้าโคลตระกูล ทิชาเชื้อชาติธชีชูชก (ม. ร่ายยาว ชูชก). | โฉม ๑ | น. รูปร่าง, ทรวดทรง, เค้า, เช่น เนื้อชาววังใช้ช้า โฉมใช่โฉมคนค้า หน้าใช่หน้ากริกกริว (ลอ). | ชนกลุ่มน้อย, ชนหมู่น้อย | น. ชนต่างเผ่าหรือต่างเชื้อชาติที่อยู่อาศัยรวมกันกับชนเผ่าอื่นหรือเชื้อชาติอื่นที่มีจำนวนมากกว่า. | ชา ๒ | ว. อาการที่รู้สึกได้น้อยกว่าปรกติ เนื่องจากเส้นประสาทรับความรู้สึกถูกกด ถูกตัดขาด หรือถูกสารพิษ เช่น มือชา เท้าชา | ชา ๔ | ก. หมายไว้, กำหนดไว้, เช่น เอามีดสับชาไว้ที่ประมาณส่วนกลางลำอ้อยในการเล่นค่องอ้อย, ใช้ประกอบกับคำ กฎ เป็น กำหนดกฎชา, สังกัด เช่น แบ่งปันแผนกหมู่ชา (พระอัยการบานแพนก), สรนุกนิเรียบเรือชา (สมุทรโฆษ). | ชา ๕ | สบาย, ดี, เช่น ลือชา. | ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน. | ชาตินิยม | (ชาดนิยม) น. ลัทธิที่ถือชาติเป็นใหญ่, ความรักชาติ. | ชาติพันธุ์ | (ชาดติพัน) น. กลุ่มที่มีพันธะเกี่ยวข้องกัน และที่แสดงเอกลักษณ์ออกมา โดยการผูกพันลักษณาการของเชื้อชาติและสัญชาติเข้าด้วยกัน. | ชาติพันธุ์วิทยา | (ชาดติพันวิดทะยา) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งเชื้อชาติของมนุษย์ กำเนิดของเชื้อชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อชาติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของเชื้อชาติต่าง ๆ. | ชาย ๔ | ว. เห็นจะ, ค่อนข้าง, เช่น ชายจะเบากว่าพ่อชาลี (ม. ร่ายยาว). | ชาว | น. กลุ่มชนที่มีเชื้อชาติเดียวกัน เช่น ชาวไทย ชาวจีน หรืออยู่ในถิ่นฐานเดียวกัน เช่น ชาวเมือง ชาวชนบท หรือมีอาชีพอย่างเดียวกัน เช่น ชาวไร่ ชาวนา ชาวประมง หรือนับถือศาสนาร่วมกัน เช่น ชาวพุทธ ชาวคริสต์ หรืออยู่ในแวดวงเดียวกัน เช่น ชาวอักษร ชาวค่าย. | เชิง ๑ | น. ตีนซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่งบางอย่าง เช่น เชิงสะพาน เชิงเขา เชิงกำแพง, ชายหรือปลายของบางสิ่งบางอย่างที่ยื่นออกมา เช่น เชิงตะพาบนํ้า เชิงปลากราย เชิงเลน เชิงกลอน, ริมหรือชายด้านล่างของผ้าที่มีลวดลายเช่น เชิงผ้า เชิงผ้าซิ่น. | ซิก ๒, ซิกข์ | ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาซิกข์ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย | ตกเขียว | น. วิธีการที่นายทุนทำสัญญาซื้อขายข้าวหรือผลไม้ตามที่ตกลงกันกับชาวนา ชาวสวน หรือชาวไร่เมื่อข้าวลัดใบหรือผลไม้ยังอ่อนอยู่ โดยตกลงกันว่านายทุนจะได้ข้าวเปลือกหรือผลไม้นั้นไปหลังจากนวดข้าวแล้วหรือเมื่อผลไม้นั้นแก่เต็มที่แล้ว เช่น ตกเขียวลำไย, โดยปริยายหมายถึงการที่พ่อแม่รับเงินจากนายทุนซึ่งจ่ายให้เป็นค่าตัวเด็กผู้หญิงไว้ล่วงหน้า แล้วนายทุนจะมารับตัวเด็กไปเพื่อค้าประเวณีเป็นการใช้หนี้คืนให้แก่นายทุน. | ต่อ ๒ | ก. เพิ่มให้ยาวหรือขยายออกไป เช่น ต่อเชือก เอาตู้รถไฟมาต่อกัน ต่อชานบ้าน, เพิ่มให้ยืดออกไป เช่น ต่อเวลาออกไป ต่อหนังสือสัญญา | ต่ออายุ | ก. ทำพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ, ต่อชะตา หรือ ต่อชาตา ก็ว่า. | ไท ๓ | น. ชนเชื้อชาติไท มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทใหญ่ ไทดำ ไทขาว | นาย | น. คำนำหน้าชื่อชายที่มีอายุตั้งแต่ ๑๕ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป | นิบาต | (-บาด) น. เรียกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดหรือชาดกต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน เช่น สุตตนิบาต = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน นิบาตชาดก = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมชาดกต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกไว้ด้วยกัน โดยแบ่งย่อยเป็นหมวดต่าง ๆ | บอกยี่ห้อ | ก. แสดงกิริยาท่าทีหรือคำพูดให้รู้ว่ามีลักษณะนิสัยใจคอหรือชาติตระกูลเป็นอย่างไรเป็นต้น. | ปฐมเทศนา | ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง เป็นพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิบ้าง นั่งห้อยพระบาทอย่างนั่งเก้าอี้บ้าง เครื่องหมายสำคัญอยู่ที่พระหัตถ์ขวา ทำนิ้วพระหัตถ์กรีดเป็นวงกลม ส่วนพระหัตถ์ซ้ายวางหงายอยู่บนพระเพลาบ้าง ถือชายจีวรบ้าง ทำท่าทางประคองพระหัตถ์ขวาบ้าง. | ปากไปล่ | น. ชื่อชามชนิดหนึ่ง ก้นเล็กปากบานอย่างรูปงอบหงาย. | ปาด ๒ | น. ชื่อสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Rhacophoridae รูปร่างใกล้เคียงกับกบหรือเขียด ขายาว ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้ามาก ปลายนิ้วเป็นปุ่มแบนสามารถยึดเกาะติดกับพื้นผิวหน้าเรียบได้ มักพบอาศัยอยู่ตามต้นไม้ ตัวผู้ทำกองฟองสำหรับตัวเมียวางไข่ไว้ตามกิ่งไม้เหนือชายนํ้า กินแมลง เช่น ปาดบ้านหรือเขียดตะปาด [ Polypedates leucomystax (Gravenhorst) ] ซึ่งพบทั่วไป, ปาดบินหรือปาดเขียวตีนดำ ( Rhacophorus nigropalmatus Boulenger), ปาดตะปุ่มจันทบุรี ( Theloderma stellatum Taylor), เขียดตะปาด ก็เรียก. | ปู่ | น. พ่อของพ่อ, ผัวของย่า, ญาติผู้ชายหรือชายที่นับถือชั้นปู่. | ปูเล ๒ | น. วิธีการจับสัตว์น้ำอย่างหนึ่ง โดยใช้ผ้าหนา ๆ ห่อทรายม้วนเป็นลำยาวแล้วใช้คนประมาณ ๑๐ คนดันผ้าไปตามหาดทรายหรือชายตลิ่งตื้น ๆ เพื่อต้อนปลาขึ้นไปบนฝั่ง. | เผ่า | น. เหล่ากอ, กลุ่มชนเชื้อชาติเดียวกัน (มักใช้แก่ชนกลุ่มน้อยของประเทศ) เช่น ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ. | พลี ๒ | (พฺลี) ก. เสียสละ เช่น พลีชีพเพื่อชาติ, บวงสรวงเชิญเอามา (ใช้แก่ยาสมุนไพร) เช่น ไปพลียาที่ต้นเทียน คือ ไปบวงสรวงเก็บต้นเทียนหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นเทียนมาทำยารักษาโรค. | พ่อเล้า | น. ผู้ชายผู้เป็นหัวหน้าเลี้ยงหญิงสาวไว้บำเรอชาย. | เพศ | น. รูปที่แสดงให้รู้ว่าหญิงหรือชาย | ภาชนะ | (พาชะนะ, พาดชะนะ) น. เครื่องใช้จำพวกถ้วยโถโอชามหม้อไหเป็นต้น สำหรับใส่สิ่งของ. | ภาษา | คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา (พงศ. ร. ๓) | แม่เล้า | น. หญิงผู้เป็นหัวหน้าซ่องโสเภณี, ผู้หญิงผู้เป็นหัวหน้าควบคุมดูแลเลี้ยงหญิงสาวไว้บำเรอชาย. | ริ้น | น. ชื่อแมลงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Ceratopogonidae ขนาดเล็กเท่าแมลงหวี่ มีปีกคู่เดียว มักพบบินอยู่ตามริมแม่น้ำ ลำคลอง หรือชายทะเล ดูดกินเลือดคนและสัตว์ ทำให้เกิดอาการระคายเคือง ที่พบมากอยู่ในสกุล Culicoides และ Leptoconops ถ้าพบมากตามเขตติดต่อกับทะเล เรียก ริ้นน้ำเค็ม. | ลุง ๑ | น. พี่ชายของพ่อหรือแม่ หรือชายที่มีวัยไล่เลี่ยแต่แก่กว่าพ่อหรือแม่, คำเรียกชายที่ไม่รู้จักแต่มักจะมีอายุแก่กว่าพ่อหรือแม่. | ฦๅชา | ก. ลือชา. |
| | Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] | Art and race | ศิลปะกับเชื้อชาติ [TU Subject Heading] | Carpal tunnel syndrome | กลุ่มอาการประสาทมือชา [TU Subject Heading] | Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination (1965) | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ค.ศ. 1965) [TU Subject Heading] | Occupations and race | อาชีพกับเชื้อชาติ [TU Subject Heading] | Race | เชื้อชาติ [TU Subject Heading] | Race discrimination | การกีดกันทางเชื้อชาติ [TU Subject Heading] | Race identity | เอกลักษณ์เชื้อชาติ [TU Subject Heading] | Race relations | ปัญหาเชื้อชาติ [TU Subject Heading] | Racism | คตินิยมเชื้อชาติ [TU Subject Heading] | Shore Line | ชายฝั่งหรือชายทะเล, Example: เส้นแนวขอบติดหน้าดิน ณ ที่น้ำทะเลลงเต็มที่ ส่วนพื้นที่ที่อยู่นอกเส้น แนวฝั่งออกไปในทะเลเรียกว่า นอกฝั่ง (Off Shore) [สิ่งแวดล้อม] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | racial discrimination | การเลือกประติบัติทางเชื้อชาติ [การทูต] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | Australoid Race | เชื้อชาติออสตราลอยด์; ออสเตรลอยด์, เชื้อชาติ [การแพทย์] | Caucasoid Race | คอเคซอยด์, เชื้อชาติ;เชื้อชาติคอเคซอยด์ [การแพทย์] | Le Chatelier's principle | หลักของเลอชาเตอลิเอ, หลักการซึ่งกล่าวว่า เมื่อรบกวนระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล ระบบจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่จะลดผลของการรบกวนนั้นโดยการเข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่ การรบกวนภาวะสมดุลได้แก่ การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อุณหภูมิหรือความดัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | race | เชื้อชาติ, กลุ่มย่อยของมนุษย์ที่จำแนกโดยกำหนดความแตกต่างในด้านสีผิว สีของนัยน์ตา ลักษณะของเส้นผม ตลอดจนสัดส่วนของร่างกาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Genitalia, Ambiguous | อวัยวะเพศผิดปกติไม่บ่งว่าเป็นหญิงหรือชาย, [การแพทย์] | Healers, Indigenous | หมอชาวบ้าน [การแพทย์] | Immunity, Racial | ภูมิคุ้มกันโดยเชื้อชาติ [การแพทย์] | Mongoloid Race | เชื้อชาติมองโกลอยด์; มองโกลอยด์, เชื้อชาติ [การแพทย์] |
| Though Heathcliff became Mr. Earnshaw's favorite child, his protection was limited by the length of the old man's life. | ถึงแม้ฮีธคลิฟฟ์จะเป็น ลูกชายคนโปรดของนายเอิร์นชอว์ สิ่งปกป้องรักษาเขาก็หมดลง เมื่อชายชรา จากไป Wuthering Heights (1992) | We must'vejust said good night to Charlie Burke when the bomb went off. | เราต้องมีเพียงกล่าวว่านอนหลับฝันดี เพื่อชาร์ลี Burke เม In the Name of the Father (1993) | It was straight out of some awtul racist movie, like The World of Suzie Wong. | มันเหมือนกับหลุดมาจากหนังเหยียดเชื้อชาติแย่ๆ อย่างในเรื่อง The Wor1d of Suzie Wong The Joy Luck Club (1993) | I have seen grown men give out a shriek | ฉันเคยเจอชายที่กรีดร้องใส่เหมือนหญิง The Nightmare Before Christmas (1993) | Hopefully... you'll never have to experience this yourself, but when two men are in a situation like me and your dad were... for as long as we were, you take on certain responsibilities of the other. | หวังว่า ... คุณจะไม่เคยมีประสบการณ์นี้ด้วยตัวเอง แต่เมื่อชายสองคนที่อยู่ในสถานการณ์เช่นฉันและพ่อของคุณได้ ... Pulp Fiction (1994) | This is a national emergency. | นี่เป็นเหตุฉุกเฉินเพื่อชาติ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | Where's your family from originally? | ครอบครัวคุณเชื้อชาติอะไรนะ Heat (1995) | The creases did not show so much when the old man was asleep. | รอยยับที่รีดไม่ได้แสดงมาก เมื่อชายชราคนหนึ่งกำลังนอน หลับ The Old Man and the Sea (1958) | When the old man saw him coming, he knew this shark had no fear at all... ... and would do exactly what he pleased. | เมื่อชายชราคนหนึ่งเห็นเขามา เขารู้ว่านี่คือปลาฉลาม ที่มีความกลัวไม่ได้ทั้งหมด The Old Man and the Sea (1958) | '# I know that she's no peasant... # | ฉันรู้ว่าเธอคือชาวนาไม่มี Help! (1965) | And what is more, they're yours, young man | และอะไรคือสิ่งที่มันกำลัง แสดงความนับถือชายหนุ่มคนหนึ่ง เห็นคุณทำดีโดยพวกเขา How I Won the War (1967) | It's a local inhabitant. | มันคือชาวบ้านในท้องถิ่น Yellow Submarine (1968) | - Must be one of them angry young men. | ต้องคือหนึ่งในคนคือชายหนุ่มโกรธ Yellow Submarine (1968) | Ladies and gentlemen, brothers and sisters this is the young man who has used so much energy to convince everyone that he has seen God. | ท่านสุภาพสตรีสุภาพบุรุษ พี่ชายน้องสาวครับ นี่คือชายหนุ่มที่มีความกล้าหาญมาก Oh, God! (1977) | My name is Charlie Andrews, sir. | ผมชื่อชาร์ลี แอนดรูครับ Gandhi (1982) | How do we treat men who defy an unjust law who will not fight but will not comply? | เราจะปฏิบัติต่อชายที่ฝ่าฝืน กฎหมายอยุติธรรม โดยไม่ต่อสู้ แต่ไม่ยอมรับอย่างไร Gandhi (1982) | And let no one question that Mr. Jinnah speaks not just for the Muslims but for all India! | ไม่ต้องสงสัยเลย ว่าคุณจินนาห์ ไม่ได้พูด เพื่อชาวมุสลิมเท่านั้น Gandhi (1982) | Well, I thought archaeologists were always funny little men searching for their mommies. | ดีฉันคิดว่านักโบราณคดีได้เสมอชายน้อยตลก ค้นหา mommies ของพวกเขา Indiana Jones and the Temple of Doom (1984) | My father told me that this girl is unusually beautiful, ... for a human in this village, and her blood is extremely tasty and mild. | พ่อของข้าบอกว่า นังเด็กนั่น งามอย่างไร้ที่ติ เกินกว่าใครในหมู่บ้าน และโลหิตก็แสนโอชา Vampire Hunter D (1985) | There's only one man left who'll have you: | นี่ก็เหลือชายเพียงคนเดียวให้ลูกเลือกแล้วล่ะ: Mannequin (1987) | In a few minutes, the man in black will come running around the bend. | พอชายชุดดำวิ่งมาหลังหินนั้น The Princess Bride (1987) | - My best sport's video hockey. - It's not a sport. | เรือชานตา คริสติน่า Big (1988) | Son of a gun. A Jewish doctor. | หมอชาวยิว Punchline (1988) | Across the valley is the border. | ข้ามหุบเขานี่ไปก็จะเจอชายแดน Rambo III (1988) | You forgot to give her the tea. | คุณลืมที่จะให้เธอชา The Russia House (1990) | Die, you motherfucker! Look at me! | ตายซะมึง ไอชาติชั่ว Goodfellas (1990) | Ralph, I need three teas, a root beer, and two lemonades. | ราล์ฟ ขอชา 3 รูทเบียร์ 1 น้ำมะนาว 2. The Young Indiana Jones Chronicles (1992) | Their only contact with the outside is this man, Victor Politovsky. | การติดต่อกับโลกภายนอกทางเดียว คือชายคนนี้ วิคเตอร์ โพลิโทฟสกี้ The Jackal (1997) | You're gonna forget about Charlie Murdock and what takes back to his plans. | แล้วขอให้ลืมชื่อชาร์ลี เมอร์ด็อค แล้วก็แบบนี่ซะด้วย The Jackal (1997) | In a past life, this innocent worm could have been your mother. | ไส้เดือนที่บริสุทธิ์ตัวนี้อาจจะเป็น แม่ของคุณเมื่อชาติที่แล้วก็ได้ Seven Years in Tibet (1997) | But you see, Tibetans believe... all living creatures were their mothers in a past life. | คุณก็รู้ คนทิเบตเชื่อว่า สิ่งมีชีวิตทุกอย่างอาจจะเป็น แม่ของพวกเขาเมื่อชาติที่แล้ว Seven Years in Tibet (1997) | Solid as a rock. Big Irish hands. | แข็งแกร่งยังกะหิน ฝีมือชาวไอริช Titanic (1997) | This poor guy who attacked four cops... and those cops end up on the stand... defending themselves for using standard textbook procedures. | ก็ไอชายน่าสงสารคนนี้แหละ / ที่มันซ้อมตำรวจสี่นาย... และตำรวจพวกนี้ / ต้องหยุดอยู่นิ่งๆ แบบนั้น... ต้องป้องกันตัวเองโดยใช้ / ตำราระเบียบการบ้าๆ American History X (1998) | When rioting citizens of France destroyed the Bastille... they discovered within its records this mysterious entry: | เมื่อชาวฝรั่งเศสบุกทลายคุกบาสตีย์ พวกเขาพบชื่อลึกลับในทะเบียน... The Man in the Iron Mask (1998) | For my country... for my king... | เพื่อชาติ และราชบัลลังก์ The Man in the Iron Mask (1998) | All I know is the guy bought my ticket to HK. | ที่ฉันรู้คือชายคนหนึ่งซื้อตั๋วไปฮ่องกงให้ฉัน Brokedown Palace (1999) | I'll wait for Charlie to bring your wake-up dose and snitch you both off to the Chinese. | ผมจะอยู่รอชาร์ลีเอายาตื่นนอนมาให้คุณ... ...และรายงานเรื่องพวกคุณกลับไปยังจีน Brokedown Palace (1999) | I hope he doesn't know there is only one man against him... an old man. | ฉันคาดว่าเขาจะไม่รู้ว่า \ เขาคือชายที่ฝืนสังขาร... ชายแก่ The Old Man and the Sea (1999) | I convinced everybody else, that time in the tavern in Casablanca... when I played the hand game with that great black who was the strongest man on the docks. | ฉันเชื่อมั่นเขาเหมือนทุกคน \ ช่วงเวลาหนึ่ง ในโรงเหล้า ใน Casablanca... ในตอนที่เราเล่นงัดข้อกัน \ กับคนผิวดำตัวใหญ่ ใครคือชายที่แข็งแรงที่สุด \ ณ ท่าเรือนี้ The Old Man and the Sea (1999) | After your husband, the only man in your life is me. | นอกจากสามีคุณผมคือชายคนเดียวของคุณ Malèna (2000) | Just tea, thank you. | ขอชาดีกว่า ขอบใจ The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | It has come to my attention that the maintenance staff... is switching our toilet paper from Charmin... to generic. | ดิฉันให้ความสนใจเมื่อภารโรง.. เปลี่ยนกระดาษชำระจากยี่ห้อชาร์มมิ่ง.. เป็นของไม่มียี่ห้อ Legally Blonde (2001) | This is her own homemade herb tea. | นี่คือชาสมุนไพรที่เธอทำด้วยตนเองล่ะ. Millennium Actress (2001) | Miss! I'll never forget... | ช่างกรุณาต่อชายที่ต่ำต้อย เช่นผมจริงๆ ! Millennium Actress (2001) | It's herb tea from my garden. | มันคือชาสมุนไพรจากสวนของฉัน. Millennium Actress (2001) | Man or woman? | หญิงหรือชาย Ken Park (2002) | Can I please have some more iced tea? | รบกวน ขอชาเย็นเพิ่มได้มั้ยคะ Ken Park (2002) | He's been collecting money on your behalf all over Warsaw. | คนชื่อชาลาซคงถูกยิงน่ะ The Pianist (2002) | Sorceress, I am an Akkadian, hired to kill you. | ผู้พยากรณ์ ข้าคือชาวอัคเคเดีย ที่ถูกจ้างมาฆ่าเจ้า The Scorpion King (2002) | My name is charlene. What's your name? | เป็นไง"โรมีโอ"ฉันชื่อชาลีน แล้วเธอล่ะ Bringing Down the House (2003) |
| อำเภอชายแดน | [amphoē chāidaēn] (n, exp) FR: ville frontalière [ f ] | เชื้อชาติ | [cheūachāt] (n) EN: race ; origin ; nationality ; extraction FR: race [ f ] ; espèce [ f ] ; origine [ f ] | โดยถือชาติพันธุ์ | [dōi theū chattiphan] (adv) EN: racially FR: de manière raciste | การเลือกปฏิบัติตามเชื้อชาติ | [kān leūak patibat tām cheūachāt] (n, exp) EN: racial discrimination FR: discrimination raciale [ f ] | คอชา | [khø chā] (n, exp) EN: person who likes tea FR: amateur de thé [ m ] | ลือชา | [leūchā] (v) EN: be well-known ; be celebrated ; be renowned ; be famous FR: être célèbre | ลูกเสือชาวบ้าน | [lūkseūa chāobān] (n, exp) EN: civil boy scout | หม้อชา | [mø chā] (n, exp) EN: teapot FR: théière [ f ] | โอชา | [ōchā] (adj) EN: delicious ; tasty ; yummy ; ambrosial ; delectable ; scrumptious ; toothsome FR: savoureux ; succulent ; délectable (litt.) |
| ethnocentrism | (n) ความเชื่อที่ว่าชนชาติ ประชาชน ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ เชื้อชาติของตนนั้น ดีเลิศกว่าชนชาติอื่น | Steve Irwin | (name) ชื่อชาวออสเตรเลีย (1962 - 2006) เป็นผู้ชำนาญด้านสัตว์ป่าและมีผลงานรายการโทรทัศน์, มีสมญานามว่า นักล่าจระเข้, ชอบแสดงแบบเสี่ยงอันตรายกับสัตว์ Image: |
| all walks of life | (idm) ทุกชนชั้นทางสังคม เศรษฐกิจ และเชื้อชาติ, See also: ทุกประเภท | baboo | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr.ในภาษาอังกฤษ), Syn. babu | babu | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr ในภาษาอังกฤษ), Syn. baboo | boy scout | (n) ลูกเสือชาวบ้าน, Ant. girl scout | caff | (n) ร้านกาแฟ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ร้านขายเครื่องดื่มจำพวกกาแฟหรือชาและอาจมีอาหารง่ายๆ เช่น ขนมปัง, Syn. caf? | chauvinism | (n) การเชื่อว่าประเทศหรือเชื้อชาติของตนสำคัญที่สุด | delicious | (adj) อร่อย, See also: โอชะ, โอชา, น่ารับประทาน, ถูกปาก, น่าทาน, มีรสกลมกล่อม, Syn. tasty, appetizing, yummy, Ant. disqusting, tasteless | discriminate | (vi) แบ่งแยกเชื้อชาติ, See also: แบ่งแยกสีผิวหรือเผ่าพันธุ์, Syn. exclude, isolate, Ant. unite, integrate | enclave | (n) ประเทศหรือดินแดนเล็กๆ ที่มีวัฒนธรรมและเชื้อชาติแตกต่างจากดินแดนอื่นที่ล้อมรอบอยู่ | ethnic | (adj) เกี่ยวกับชาติพันธุ์, See also: เกี่ยวกับเชื้อชาติ, เกี่ยวกับเผ่าพันธุ์ | ethnicity | (n) ลักษณะของเชื้อชาติหรือกลุ่มชนที่เหมือนกันหรือต่างกัน | genocide | (n) การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์, See also: การทำลายล้างเชื้อชาติ | Germanic | (adj) เกี่ยวกับเชื้อชาติ วัฒนธรรม และภาษาเยอรมัน | Goth | (n) ชาวกอธหรือชาวเยอรมันโบราณ | intermarriage | (n) การแต่งงานระหว่างผู้มีเชื้อชาติ ศาสนาหรือสังคมต่างกัน | intermarry | (vi) แต่งงานระหว่างผู้มีเชื้อชาติ ศาสนาหรือสังคมต่างกัน | interracial | (adj) ระหว่างเชื้อชาติ, See also: เกี่ยวกับกลุ่มคนที่มีเชื้อชาติแตกต่างกัน | Ku Klux Klan | (n) องค์การลับของสหรัฐอเมริกา, See also: องค์การลับของชนผิวขาวทางภาคใต้ของสหรัฐอเมริกาที่มุ่งต่อต้านผู้ที่มีเชื้อชาติแตกต่าง | Magyar | (n) เชื้อชาติส่วนใหญ่ในประเทศฮังการี | miscegenation | (n) การแต่งงานต่างเชื้อชาติ | mixed marraige | (n) การแต่งงานของคนต่างเชื้อชาติหรือศาสนากัน | multiracial | (adj) ซึ่งมีหลายเชื้อชาติ, Syn. integrated | nationality | (n) สัญชาติ, See also: ชนชาติ, สัญชาติ, เชื้อชาติ, ประเทศ | Pakistani | (adj) เกี่ยวกับปากีสถานหรือชาวปากีสถาน | persecute | (vt) ก่อกวน (ทางเชื้อชาติ, ศาสนา, การเมือง, พวกรักร่วมเพศ), See also: กลั่นแกล้ง, ก่อกวน, ตามรังควาน, Syn. spite, victimize | phylogeny | (adj) ระบบเชื้อชาติ | pluralism | (n) สังคมที่มีกลุ่มชนที่แตกต่างกัน (เช่น ศาสนา เชื้อชาติหรืออื่นๆ) | race relations | (n) ความสัมพันธ์ระหว่างคนต่างเชื้อชาติที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน | race riot | (n) พฤติกรรมรุนแรงระหว่างคนต่างเชื้อชาติที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน | race | (n) เชื้อชาติ, See also: กลุ่มชาติพันธุ์, เผ่าพันธุ์, Syn. nationality | racial | (adj) ซึ่งคงอยู่ระหว่างเชื้อชาติที่ต่างกัน | racial | (adj) เกี่ยวกับเชื้อชาติ, Syn. ethnographical | racism | (n) การเหยียดเชื้อชาติ | rouge | (n) ผงสีแดงละเอียดหรือชาดสำหรับทาแก้ม, Syn. blusher | brew | (sl) กาแฟหรือชา | cuppa | (sl) กาแฟหรือชาหนึ่งถ้วย | Samaritan | (n) ภาษาหรือชาวเมืองซาแมเรีย | segregate | (vt) แบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม, See also: ใช้นโยบายแบ่งแยกตามเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม, Syn. classify, discriminate, ghettoize, separate | segregation | (n) การแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม, See also: การกีดกัน, การแบ่งแยกสีผิว, การแบ่งตามพันธุกรรม, Syn. discrimination, isolation, separation, seclusion | segregational | (adj) เกี่ยวกับการแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม | segregative | (adj) ซึ่งแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม | segregator | (n) ผู้แบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม | sail before the mast | (idm) เป็นชาวเรือหรือชาวทะเล | tribe | (n) เชื้อชาติ, See also: ชนชาติ | Vietnamese | (adj) เกี่ยวกับเวียดนามหรือชาวเวียดนาม | visitant | (n) ผู้มาเยือน, See also: แขกผู้มาเยือน โดยเฉพาะคนแปลกหน้าหรือชาวต่างชาติ, Syn. visitor, guest |
| alemanni | (แอลลิแมน' ไน) n., pl. หมาพันธุ์เชื้อชาติเยอรมันที่ตั้งรกรากบนฝั่งแม่น้ำไรน์ แม่น้ำดานูบและแม่น้ำ Main, Syn. Alamani | anesthesiologist | (แอนเนสธีซิออล' โลจิสทฺ) n. แพทย์ผู้ชำนาญการวางยาสลบหรือชา, วิสัญญีแพทย์, Syn. anaesthe- siologist | caffeine | (คาฟิน) n. แอลคาลอยด์ขมชนิดหนึ่งที่ได้จากกาแฟหรือชา | clochard | (คลอชาด') n. ชายพเนจร | compatriot | (คัมเพ'ทรีเอิท) n. คนร่วมชาติ, คนชาติเดียวกัน. adj. เกี่ยวกับประเทศหรือชาติเดียวกัน., See also: compatriotic adj. ดูcompatriot compatriotism n. ดู compatriotic adj. ดูcompatriot, Syn. fellow countryman | country | (คัน'ทรี) n. ประเทศ, แผ่นดินของประเทศ, รัฐ, ประชากรของท้องถิ่น, รัฐหรือชาติ, ถิ่นบ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่ adj. ชนบท, บ้านนอก, เกี่ยวกับประเทศ, เกี่ยวกับบ้านเกิดเมืองนอน. --Phr. (across the country ข้ามทุ่งนาทุ่งไร่.) --Phr. (go to the country ยุบรัฐสภาเพื่อเลือกต | lebanese | (เลบบะนีซ') adj., n. (เกี่ยวกับ) เลบานอนหรือชาวเลบานอน pl. Labanese | miscegenation | (-ซิจะเน'เชิน) n.การสมรสระหว่างหญิงชายที่มีเชื้อชาติต่างกัน, การผสมพันธุ์ระหว่างเชื้อชาติ, See also: miscegenetic adj. | nigger | (นิก'เกอะ) n. นิโกร, คนผิวดำที่เนื่องจากเชื้อชาติ, See also: niggerish adj. niggery adj. | perchance | (เพอชานซฺ') adv. อาจจะ, บางที, โดยบังเอิญ, Syn. perhaps | race | (เรส) vi., vt., n. (การ) วิ่งแข่ง, วิ่งอย่างรวดเร็ว, แข่งม้า., แข่งขันความเร็ว, การแข่งขัน, ความเชี่ยว, เชื้อชาติ, ชนชาติ, เผ่าพันธุ์, วงศ์ตระกูล, เชื้อสาย, พันธุ์, ชนชั้น, รสนิยม | racial | (เร'เชิล) adj. เกี่ยวกับเชื้อชาติ (ชนชาติ, มนุษยชาติ, เผ่าพันธุ์, วรรณะ, เชื้อสาย) | racism | (เร'ซิสซึม) n. ลัทธิชนชาติ, ลัทธิเชื้อชาติ, ลัทธิเผ่าพันธุ์, ลัทธิเหยียดผิว, ลัทธิเหยียดหยามชนชาติ, See also: racist n. | segregate | (เซก'ระเกท) vt. แยกออกจากกัน, แบ่งแยก (เชื้อชาติ, ผิว, กลุ่ม) vi. แยกออก, แบ่งออก, ถอนตัวออก, หันไปเกาะ, (พันธุศาสตร์) แยกออกระหว่างการแบ่งเซลล์แบบmeiosis (ดู) , หันไปรวม., See also: segregable adj. segregative adv. segregator n. คำที่มีความหมายเหมื | segregated | (เซก'ระเกทิด) adj. แยกตัวออก, แบ่งแยกผิว, แบ่งแยกเชื้อชาติ, เฉพาะกลุ่ม, สำหรับให้เฉพาะกลุ่มใช้., See also: segregatedly adv. segregatedness n. | segregation | (เซกระเก'เชิน) n. การแยกตัวออก, การแบ่งแยก (เชื้อชาติ, ผิว, กลุ่ม), See also: segregational adj., Syn. exclusion, discrimination, separation | spoliation | (สโพลิเอ'เชิน) n. การปล้น, การชิงทรัพย์, การทำลาย, การปล้นเรือชาติเป็นกลางในยามสงคราม, การทำลายเอกสาร, การทำให้เสื่อมเสีย, การทำลาย, See also: spoliative adj. | strain | (สเทรน) vt., vi., n. (การ) ทำให้ตึง, ขึงให้แน่น, ทำให้เครียด, ทำให้เคล็ด, ทำให้ตึงเครียด, ขยายเกินไป, ต้องการมากเกินไป, เทของเหลวผ่านที่กรอง, กรองออก, ใช้อำนาจหน้าที่ไปในทางที่ผิด, กอดรัด, ยับยั้ง, รูปงอคดเนื่องจากถูกดึง, ความตึงเครียด, พันธุ์, ชนิด, เชื้อชาติ, วงศ์, สกุล, บรรพบุรุษ | teapot | (ทีพอท') n. การชงชา, หม้อชา | vampire | (แวม'ไพเออะ) n. ผีดูดเลือดมนุษย์, นักต้มมนุษย์, หญิงล่อชายให้ประสบความหายนะ, ค้างคาวจำพวก Desmodusdiphylla และ Diaemus มันดูดเลือดคนและสัตว์อื่นเป็นอาหาร, See also: vampiric adj. vampirish adj., Syn. vampire bat | venetian | (วะนี'เชิยน) adj. เกี่ยวกับกรุงเวนิสหรือชาวเวนิส. n. ชาวเวนิส | vietnamese | (เวียตนะมีซ') n. ชาวเวียดนาม, ภาษาเวียดนาม (เป็นภาษาAustroasiaticภาษาหนึ่ง) . adj. เกี่ยวกับเวียดนาม หรือชาวเวียดนาม pl. Vietnamese |
| gusto | (n) โอชารส, ความอร่อย, ความโอชะ, ความเอร็ดอร่อย, ความชอบ | national | (adj) เพื่อชาติ, เกี่ยวกับประชาชาติ, ของชาติ | racial | (adj) เกี่ยวกับผิว, เกี่ยวกับเชื้อชาติ, เกี่ยวกับเผ่าพันธุ์ | segregate | (vt) แบ่งแยกเชื้อชาติ, แยก | segregation | (n) การแบ่งแยกเชื้อชาติ, การแยก |
| Adam | [อาดัม] (n) อาดัม เป็นชื่อชายคนแรกของโลกที่พระเจ้าทรงสร้างมาตามความเชื่อของศาสนาคริสต | prejudice | (n) ความรู้สึกไม่ชอบโดยไม่มีเหตุผล (โดยมากมักเกี่ยวข้องกับ เชื้อชาติ, ศาสนา, สีผิว ฯลฯ), อคติ |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |