ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เป็นไอ, -เป็นไอ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กลั่น | (กฺลั่น) ก. คัดเอาแต่ส่วนหรือสิ่งที่สำคัญหรือที่เป็นเนื้อแท้ด้วยวิธีต้มให้ออกเป็นไอ แล้วใช้ความเย็นบังคับให้เป็นของเหลว เช่น กลั่นนํ้า เรียกน้ำที่ได้จากกรรมวิธีเช่นนั้น ว่า น้ำกลั่น, โดยปริยายหมายความว่า คัดเอา เลือกเอา. | ก๊าซน้ำตา, แก๊สน้ำตา | น. สารที่อยู่ในสภาพที่แพร่กระจายเป็นไอหรือควัน ทำให้ระคายเคืองนัยน์ตาอย่างรุนแรง นํ้าตาไหล และมองไม่เห็นชั่วขณะหนึ่ง. | เกลือกรด | น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรด ถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่ไม่หมด เช่น โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต (NaHSO4). | เกลือปรกติ | น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรดถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่จนหมดสิ้น เช่น โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4). | จุดเดือด | น. อุณหภูมิขณะที่ความดันสูงสุดของไอของของเหลวเท่ากับความกดของบรรยากาศ ณ อุณหภูมินี้ ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอได้ทั่วทั้งหมด. | เจ้าพายุ | น. ชื่อตะเกียงชนิดหนึ่งเมื่อเผาไส้แล้วสูบลมให้ดันนํ้ามันเป็นไอขึ้นไปเลี้ยงไส้ทำให้เกิดแสงสว่างนวลจ้า. | ตะเกียงเจ้าพายุ | น. ตะเกียงชนิดหนึ่ง เมื่อเผาไส้แล้วสูบลมให้ดันน้ำมันเป็นไอขึ้นไปเลี้ยงไส้ทำให้เกิดแสงสว่างนวลจ้า. | บ่อน้ำร้อน | น. บ่อที่มีนํ้าผุดขึ้นมาจากใต้ดิน และมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของร่างกายมนุษย์ เกิดจากนํ้าไหลซึมซาบลงไปใต้ดินลึกมาก เมื่อไปกระทบอุณหภูมิสูง ทำให้นํ้าร้อนจัดขึ้น และขยายตัวหรือกลายเป็นไอเกิดแรงดันตัวเองขึ้นมาตามรอยแยกของชั้นหินและดินขึ้นมาสู่ผิวดิน ทั้งละลายเอาแก๊ส แร่ธาตุ และสารเคมีที่มีอยู่ตามชั้นดินต่าง ๆ ติดมาด้วย ที่พบเสมอมักจะเป็นธาตุกำมะถันและแก๊สไข่เน่า นํ้าในบ่อนํ้าร้อนบางแห่งจึงอาจมีสมบัติทางยาได้. | โบรมีน | น. ธาตุลำดับที่ ๓๕ สัญลักษณ์ Br เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของเหลว สีแดงเข้ม ระเหยเป็นไอได้ง่าย มีกลิ่นฉุนจัด เป็นพิษ ระคายเยื่อจมูก เดือดที่ ๕๘.๘ °ซ. สารประกอบของโบรมีนใช้เป็นยาและใช้ในการถ่ายรูป. | ผงขาว | น. ยาเสพติดร้ายแรงชนิดหนึ่ง มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประเภทแอลคาลอยด์ คือ มอร์ฟีน เฮโรอีน และแอลคาลอยด์อื่น ๆ ที่ได้จากฝิ่น ลักษณะเป็นของแข็ง เมื่อทำให้ร้อนจะแปรสภาพเป็นไอ. | ระเบิดไอพิษ | น. ลูกระเบิดที่บรรจุสารพิษซึ่งเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นแล้ว จะกลายเป็นไอหรือควันที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายและอาจทำให้ถึงแก่ความตายได้. | ระเหย | ก. อาการที่ของเหลวกลายเป็นไอ. | ระเหิด | อาการที่ของแข็งกลายเป็นไอ เช่น การบูรระเหิด ลูกเหม็นระเหิด. | โลห-, โลหะ | ธาตุซึ่งมีสมบัติสำคัญ คือ เป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่ดี มีขีดหลอมเหลวสูง ขัดให้เป็นเงาได้ ตีแผ่เป็นแผ่นหรือดึงให้เป็นเส้นลวดได้ เมื่อนำมาเคาะมีเสียงดังกังวาน เมื่ออยู่ในสภาพไอออนจะเป็นไอออนบวก. | อโลหะ | น. ธาตุซึ่งมีสมบัติไม่เป็นโลหะ เช่น ถ่าน ออกซิเจน กำมะถัน ฟอสฟอรัส พวกอโลหะเมื่ออยู่ในสภาพไอออนจะเป็นไอออนลบ. | ไอโอดีน | น. ธาตุลำดับที่ ๕๓ สัญลักษณ์ I เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเทาดำเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔ ํซ. เมื่อระเหิดเป็นไอให้ไอสีม่วง เป็นธาตุสำคัญมากสำหรับต่อมไทรอยด์ หากขาดธาตุนี้จะทำให้เป็นโรคคอพอก. |
|
| Counter | เครื่องนับรังสี, อุปกรณ์ตรวจหาการแผ่รังสี หรือเครื่องสำรวจรังสี ซึ่งตรวจหาและวัดการแผ่รังสี จากการแตกตัวเป็นไอออน โดยแสดงเป็นผลรวมสะสม หรืออัตราการแผ่รังสี [นิวเคลียร์] | PWR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำอัดความดัน, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ออกแบบให้น้ำภายใต้ความดันสูงในแกนเครื่อง ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ มีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยไม่เปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำ แล้วถ่ายโอนความร้อนไปให้น้ำอีกระบบหนึ่งกลายเป็นไอไปหมุนกังหันเพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้า [นิวเคลียร์] | Pressurized water reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำอัดความดัน, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ออกแบบให้น้ำภายใต้ความดันสูงในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ มีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยไม่เปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำ แล้วถ่ายโอนความร้อนไปให้น้ำอีกระบบหนึ่งกลายเป็นไอไปหมุนกังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า, Example: [นิวเคลียร์] | Pressurized water cooled moderated reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำอัดความดัน, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ออกแบบให้น้ำภายใต้ความดันสูงในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ มีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยไม่เปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำ แล้วถ่ายโอนความร้อนไปให้น้ำอีกระบบหนึ่งกลายเป็นไอไปหมุนกังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า [นิวเคลียร์] | Nuclear power plant | โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์, โรงไฟฟ้านิวเคลียร์, โรงไฟฟ้าพลังความร้อนรูปแบบหนึ่งที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์จากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เป็นแหล่งผลิตความร้อน และถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ จนเดือดเป็นไอร้อนไปหมุนกังหันไอน้ำซึ่งจะขับเคลื่อนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ให้ผลิตไฟฟ้าออกมาเช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนทั่วไป, Example: [นิวเคลียร์] | Isomer | ไอโซเมอร์, นิวไคลด์ที่มีจำนวนนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสเท่ากัน แต่มีสถานะพลังงานต่างกัน เช่น Tc-99m เป็นไอโซเมอร์กับ Tc-99 [นิวเคลียร์] | Ionizing radiation | รังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Ion pair | คู่ไอออน, ไอออนบวกและไอออนลบที่มีขนาดประจุเท่ากัน เกิดจากการแตกตัวของอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางเมื่อได้รับรังสี โดยอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลจะเป็นไอออนลบ ส่วนอะตอมหรือโมเลกุลที่อิเล็กตรอนหลุดออกไปนั้นจะเป็นไอออนบวก [นิวเคลียร์] | Ion | ไอออน, อะตอมหรือโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้าจากการสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอนหนึ่งอนุภาคหรือมากกว่า อะตอมหรือโมเลกุลที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะเป็นไอออนบวก ถ้าได้รับอิเล็กตรอนเข้ามาจะเป็นไอออนลบ [นิวเคลียร์] | Hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุที่เบาที่สุดและเป็นธาตุลำดับที่ 1 ในตารางพีริออดิก ประกอบด้วยไอโซโทป 3 ชนิด โดย 2 ชนิด พบในธรรมชาติ ได้แก่ ไฮโดรเจนหรือไฮโดรเจนมวลเบาซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 1 และดิวเทอเรียมหรือไฮโดรเจนมวลหนักซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 2 ส่วนชนิดที่ 3 ได้แก่ ทริเทียม มีเลขมวลเท่ากับ 3 เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น [นิวเคลียร์] | Plasma (Ionized gases) | พลาสมา (ก๊าซที่เป็นไอออน) [TU Subject Heading] | ionisingradiation | รังสีชนิดก่อไอออน, คือ พลังงานในรูปแม่เหล็กไฟฟ้า หรืออนุภาครังสีใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตรอนที่มีความเร็วสูง รังสีชนิดนี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต [พลังงาน] | Positron Emission Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ [พลังงาน] | กากกลั่น | ส่วนที่หนักที่สุด ไม่ระเหยเป็นไอในหอกลั่น ได้แก่น้ำมันเตาและยางมะตอย [ปิโตรเลี่ยม] | distillation | การกลั่น, กระบวนการแยกสารละลายหรือของผสมที่เป็นของเหลว โดยทำให้ของเหลวนั้นกลายเป็นไอ แล้วทำให้ไอกลั่นตัวเป็นของเหลวอีกครั้งหนึ่ง เป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ของเหลวบริสุทธิ์ขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | tritium | ทริเทียม, ไอโซโทปหนึ่งของธาตุไฮโดรเจน เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่ไม่มีในธรรมชาติแต่สร้างขึ้นได้ในห้องทดลอง มีเลขอะตอม 1 เลขมวล 3 สัญลักษณ์ 3 H 1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | freon | ฟรีออน, สารประกอบอินทรีย์พวกคลอโรฟลูออโรคาร์บอนสลายตัวยาก ไม่มีสี และไม่ติดไฟ ทำให้เป็นของเหลวหรือเป็นไอได้ง่าย ใช้เป็นสารทำให้เกิดความเย็นในเครื่องทำความเย็นหรือทำให้เกิดแรงดันในกระป๋องสเปรย์ต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | mass spectrometer | แมสสเปกโทรมิเตอร์, อุปกรณ์ที่ใช้วิเคราะห์มวลของอะตอมหรือโมเลกุล โดยทำให้อะตอมหรือโมเลกุลเกิดเป็นไอออน แล้วส่งผ่านเข้าไปในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ทำให้ทิศทางของไอออนเหล่านั้นหักเหไปตามมวลของไอออนที่แตกต่างกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | non-electrolyte | สารที่ไม่เป็นอิเล็กโทรไลต์, สารที่ไม่แตกตัวเป็นไอออนเมื่อหลอมเหลวหรือเป็นสารละลาย กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไม่ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | complex compound | สารประกอบเชิงซ้อน, สารประกอบที่มีองค์ประกอบส่วนหนึ่งเป็นไอออนเชิงซ้อน เช่น K4Fe(CN)6 , Cu(NH3)4SO4 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | electron affinity | อิเล็กตรอนอัฟฟินิตี, พลังงานที่ปล่อยออกมาหรือรับเข้าไปเนื่องจากอะตอมที่อยู่ในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอนเข้าไปแล้วเกิดเป็นไอออน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | electrolyte | อิเล็กโทรไลต์, สารละลายหรือของเหลวที่แตกตัวเป็นไออนได้บางส่วน หรือทั้งหมด และยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | isotope | ไอโซโทป, ธาตุหนึ่งในกลุ่มของธาตุเดียวกันที่มีเลขอะตอมเท่ากัน แต่เลขมวลต่างกัน เช่น ดิวเทอเรียมเป็นไอโซโทปหนึ่งของธาตุไฮโดรเจน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | refrigeration | การทำความเย็น, การทำให้สารทำความเย็นเปลี่ยนสถานะเป็นไอ และดูดความร้อนจากบริเวณใกล้เคียง ทำให้อุณหภูมิบริเวณนั้นเย็นลง ใช้ในการถนอมอาหาร การปรับอากาศ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | evaporation | การระเหย, การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารจากสถานะของเหลวเป็นไอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | sublimation | การระเหิด, การเปลี่ยนสถานะของสารที่เป็นของแข็งไปเป็นไอ โดยไม่ผ่านสถานะของเหลว และเมื่อไอของสารเย็นลงจะเปลี่ยนกลับมาเป็นของแข็งโดยไม่ผ่านสถานะของเหลว เช่น การระเหิดของการบูร ลูกเหม็น เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | latent heat of vapourisation | ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ, ความร้อนแฝงที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวเป็นแก๊สหรือไอ เช่น ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำมีค่าเท่ากับ 2, 256 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 100 ํC ความดันปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | boiling point | จุดเดือด, อุณหภูมิซึ่งของเหลว มีความดันไอเท่ากับความดันของบรรยากาศรอบ ๆ และของเหลวกำลังเปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอ เช่น น้ำบริสุทธิ์ มีจุดเดือด 100 ํ C ที่ความดันปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nuclear power plant | โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์, โรงผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้พลังงานนิวเคลียร์ที่ได้จากเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูมาทำให้น้ำเดือดเป็นไอ แล้วให้ไอน้ำไปหมุนกังหันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | stable isotope | ไอโซโทปเสถียร, ไอโซโทปที่ไม่มีการแผ่รังสีและสลายตัวไปเป็นไอโซโทปอื่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Intelligence Quotient | ระดับสติปัญญา, ระดับเชาว์ปัญญาที่จัดออกมาเป็นไอคิว, เกณฑ์ภาคเชาวน์ [การแพทย์] | Ionization | ไออ้อนไนเซชั่น, การแตกตัวเป็นอิออน, การแตกตัว, ไอออนไนเซชั่น, การแยกตัวเป็นไอออน, การแตกตัวให้ไอออน [การแพทย์] | Ionization Potentials | ศักย์อิออนไนเซซัน, ศักย์แห่งการแตกตัวเป็นไอออน, ศักยะของการแตกตัวให้ไอออน [การแพทย์] |
| | vaporization | (n) การกลายเป็นไอ, การทำให้เป็นไอ, สถานะที่เป็นไอ เช่น Understanding the equilibrium between liquid and vapor phases is very important for such practical applications as distillation and vaporization. |
| ether | (n) อีเธอร์, See also: ธาตุที่กลายเป็นไอได้อย่างรวดเร็ว, Syn. diethy ether | evaporate | (vt) ทำให้ระเหย, See also: ทำให้กลายเป็นไอ, Syn. vaporize | evaporate | (vi) ระเหย, See also: กลายเป็นไอ, Syn. vaporize | superheat | (vt) ทำให้ร้อนเกินจุดเดือดโดยไม่เกิดเป็นไอ | vaporescence | (n) การทำให้เป็นไอ, See also: การกลายเป็นไอ, Syn. evaporation | vaporize | (vi) กลายเป็นไอ, See also: กลายเป็นไอน้ำ, Syn. distill, evaporate, gastify | vaporous | (adj) เต็มไปด้วยไอ, See also: เป็นไอ, Syn. vapory | vaporousness | (n) การเป็นไอ | vapory | (adj) ซึ่งเป็นไอ, See also: เต็มไปด้วยไอ, คล้ายไอ, Syn. gaseous, steamy, vaporous | vapourish | (adj) ซึ่งกลายเป็นไอน้ำ | vapourishness | (n) การกลายเป็นไอน้ำ | vapourize | (vi) ระเหย, See also: กลายเป็นไอน้ำ, Syn. exhale, evaporate, volatize | vapourize | (vt) ทำให้ระเหย, See also: ทำให้กลายเป็นไอน้ำ, Syn. exhale, evaporate, volatize | vapourousness | (n) การระเหย, See also: การกลายเป็นไอน้ำ | volatile | (adj) ที่ระเหยเป็นไอได้รวดเร็ว, See also: ปะทุง่าย, ระเบิดง่าย, Syn. evaporative;vaporing | volatileness | (n) การระเหยเป็นไอได้รวดเร็ว | volatility | (n) การระเหยกลายเป็นไอ | volatilizable | (adj) ซึ่งระเหยกลายเป็นไอ | volatilization | (n) การระเหยกลายเป็นไอ | volatilize | (vi) กลายเป็นไอ, See also: ระเหย, Syn. evaporate | volatilize | (vt) ทำให้กลายเป็นไอ, Syn. evaporate | volatilizer | (n) สิ่งที่การระเหยกลายเป็นไอ |
| boil | (บอยลฺ) { boiled, boiling, boils } vi. เดือด, เป็นไอน้ำ, เดือดดาล vt. ต้มเดือด, ทำให้อุณหภูมิจุดเดือด -Phr. (boil over ระเบิด, โกรธ) -n. การต้มให้เดือด, ผี, สิว, หัวสิว | electrolyte | (อีเลค'โทรไลทฺ) n. สารประกอบในสารละลายที่เป็นตัวนำไฟฟ้าและแตกตัวเป็นไอออน, See also: electytic adj. | evaporate | (อีแวพ'พะเรท) vi., vt. (ทำให้) ระเหยเป็นไอ, ระเหย, หายไป, สูญหายไป, จางหายไป, See also: evaporation n ดูevaporate evaporative adj. ดูevaporate evaporator n. ดูevaporate | fume | (ฟิวมฺ) { fumed, fuming, fumes } n. ควัน, ไอ, ไอน้ำ, สิ่งที่ระเหยออก, อารมณ์โกรธเป็นควัน. vt. หายใจออกเป็นไอ, ปล่อยออกเป็นไอ, ใช้ควันรม. vi. พ่นควัน, แสดงอารมณ์โกรธเป็นควัน., See also: fumeless adj. fumer n. fumingly adv. | ionise | (ไอ'อะไนซ) vt. แยกออกหรือเปลี่ยนเป็นไอออน, ทำให้เกิดไอออน. vi. กลายเป็นไอออน., See also: ionisableมioniszable adj. ionisationมionization n. | ionize | (ไอ'อะไนซ) vt. แยกออกหรือเปลี่ยนเป็นไอออน, ทำให้เกิดไอออน. vi. กลายเป็นไอออน., See also: ionisableมioniszable adj. ionisationมionization n. | steam | (สทีม) n. ไอน้ำ, ไอ, หมอก, กำลัง, พลังงาน, อำนาจvi. ปล่อยไอน้ำ, พ่นไอ, เป็นไอ, เคลื่อนที่ด้วยพลังไอน้ำ, โกรธ, แสดงความโกรธ vt. นึ่ง, อบ, ต้ม. adj. ด้วยไอน้ำ, ใช้ไอน้ำ, ทำไอน้ำ, เกี่ยวกับไอน้ำ. | steam boiler | n. หม้อต้มน้ำให้เป็นไอ, หม้อไอน้ำ | vapo | (u) rization, vapo (u) risation (เว'เพอะริเซ'เชิน, -ไรเซ'เชิน) n. การกลายเป็นไอ, การทำให้เป็นไอ, สถานะที่เป็นไอ | vapor | (เว'เพอะ) n., vi., vt. ไอหมอกหนา, ไอน้ำ, ควัน, กลายเป็นไอ, กลายเป็นควัน, Syn. visible exhalation | vaporise | (เว'เพอไรซ) vt., vi. กลายเป็นไอ., See also: vaporisable adj. vapourisable adj. vaporizer n. vapourizer n. | vaporiser | (เว'เพอไรเซอะ) n. ผู้คุยโม้, ผู้คุยโต, สิ่งที่ทำให้เป็นไอ, เครื่องทำไอน้ำ | vaporous | (เว'เพอะเริส) adj. เป็นไอ, เต็มไปด้วยไอ, มีไอมาก, มีหมอกมาก, คลุมเครือไปด้วยหมอก, ไม่สำคัญ., See also: vaporousness n. vapourousness n. vaporosity n. vapourosity n. | vapory | (เว'เพอรี) adj. เป็นไอ, เต็มไปด้วยไอ, เหมือนไอ, คล้ายไอ, Syn. vaporous | vapour | (เว'เพอะ) n., vi., vt. ไอหมอกหนา, ไอน้ำ, ควัน, กลายเป็นไอ, กลายเป็นควัน, Syn. visible exhalation | vapourise | (เว'เพอไรซ) vt., vi. กลายเป็นไอ., See also: vaporisable adj. vapourisable adj. vaporizer n. vapourizer n. | vapouriser | (เว'เพอไรเซอะ) n. ผู้คุยโม้, ผู้คุยโต, สิ่งที่ทำให้เป็นไอ, เครื่องทำไอน้ำ | vapourous | (เว'เพอะเริส) adj. เป็นไอ, เต็มไปด้วยไอ, มีไอมาก, มีหมอกมาก, คลุมเครือไปด้วยหมอก, ไม่สำคัญ., See also: vaporousness n. vapourousness n. vaporosity n. vapourosity n. | vapoury | (เว'เพอรี) adj. เป็นไอ, เต็มไปด้วยไอ, เหมือนไอ, คล้ายไอ, Syn. vaporous | volatile | (วอล'ละไทลฺ) adj. ระเหยเป็นไอได้รวดเร็ว, ปะทุง่าย, ระเบิดง่าย, เปลี่ยนแปลงได้ง่าย, ชั่วคราว, ขึ้น ๆ ลง ๆ , บินได้. n. สารระเหย, สัตว์มีปีก., See also: volatileness n. volatility n. | volatise | (วอล'ละไทซ) vi. ระเหยเป็นไอ, กลายเป็นไอ. vt. ทำให้เป็นไอ, ทำให้กลายเป็นไอ., See also: volatilization n. | volatize | (วอล'ละไทซ) vi. ระเหยเป็นไอ, กลายเป็นไอ. vt. ทำให้เป็นไอ, ทำให้กลายเป็นไอ., See also: volatilization n. |
| evaporate | (vi) สูญสิ้นไป, กลายเป็นไอ, ระเหยเป็นไอ | evaporation | (n) การกลายเป็นไอ, การทำให้เป็นไอ, การระเหย | evaporator | (n) สิ่งที่ทำให้ระเหิด, สิ่งที่ทำให้กลายเป็นไอ | fume | (vi) เป็นไอ, เป็นควัน, มีควัน, พ่นควัน | steam | (vi) พ่นไอ, เป็นไอ, แล่น, อบ, นึ่ง | transpire | (vi) รั่วไหล, ระเหย, กลายเป็นไอ, เกิดขึ้น | vaporize | (vi) เกิดไอ, กลายเป็นไอ | vaporous | (adj) เหมือนไอ, เป็นไอ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |