ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เลข, -เลข- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ถถถถถ | (slang, ภาษาอินเทอร์เน็ต) หัวเราะ หรือ 55555 (hahahahaha) เนื่องจากบนคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ทั่วไป ปุ่มอักษร ถ จะตรงกับเลข 5 ในภาษาอังกฤษ และผู้พิมพ์มักลืมกดปุ่มเปลี่ยนภาษาจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก่อน ตั้งใจจะพิมพ์ 55555 เลยกลายเป็น ถถถถถ เมื่อมีการพิมพ์ผิดกันบ่อยครั้ง จึงถือกันว่าคำว่า ถถถถถ ก็ใช้แทนความหมายของ 55555 ไป |
|
| | เลข | (n) mathematics, See also: maths, Syn. คณิต, คณิตศาสตร์, วิชาเลข, วิชาคณิตศาสตร์, Example: เด็กผู้ชายส่วนใหญ่มักชอบเรียนเลขมากกว่าวิชาอื่นๆ, Thai Definition: วิชาเกี่ยวกับการคำนวณ | เลข | (n) number, See also: numeral, digit, figure, integer, Syn. ตัวเลข, Example: ชาวตะวันตกไม่ชอบเลข 13 เพราะเป็นเลขที่นำความโชคร้ายมาให้, Thai Definition: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง | เลขา | (n) writing, See also: drawing, design, pattern, Syn. ลาย, รอยเขียน, การเขียน, Example: พระองค์ทรงมีพระราชหัตถเลขาเพื่อชมเชยความเอาใจใส่ของนายกรัฐมนตรี | เลขา | (n) secretary, See also: lady secretary, Syn. เลขานุการ, เลขานุการิณี, Example: พวกนักธุรกิจดังๆ มักจะมีเลขาสาวสวยส่วนตัวกันทุกคน, Thai Definition: ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับหนังสือตามที่ผู้ใหญ่สั่ง | ชวเลข | (n) shorthand, See also: stenography | ทดเลข | (v) carry (a number), See also: add (a figure) to the next column, Example: เขาทดเลขโดยยกจำนวนเลขครบสิบไปบวกกับผลของเลขหลักข้างหน้า, Thai Definition: ยกจำนวนเลขครบสิบไปไว้ เพื่อบวกกับผลของหลักหน้า | เลขกล | (n) magic number | คิดเลข | (v) calculate, See also: compute | ตัวเลข | (n) number, See also: figure, digit, Syn. จำนวน, Example: ตัวเลขคนว่างงานมีจำนวนสูงมากขึ้น ประมาณว่าขณะนี้เลย 3 ล้านคนไปแล้ว, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง เช่น 12 53 VIII | ตัวเลข | (n) number, See also: figure, digit, Syn. จำนวน, Example: ตัวเลขคนว่างงานมีจำนวนสูงมากขึ้น ประมาณว่าขณะนี้เลย 3 ล้านคนไปแล้ว, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง เช่น 12 53 VIII | นขเลขา | (n) nail-tinting, Syn. การทาเล็บ, Notes: (สันสกฤต) | หางเลข | (n) symbols used for figures, Example: หางเลขยังมีใช้อยู่ในวิชาโหราศาสตร์, Thai Definition: เครื่องหมายย่อแทนตัวเลขสำหรับทำเลขอย่างเก่า | หางเลข | (n) last serial numbers on the government's lottery tickets, See also: last numbers of a lottery ticket, Example: เขาซื้อสลากมากมายแต่ไม่เคยเฉียดกระทั่งหางเลข, Thai Definition: เลขท้ายสลากกินแบ่งที่ได้รางวัล | เลขคี่ | (n) odd number, Ant. เลขคู่, Example: ในวันจันทร์รถที่มีทะเบียนเป็นเลขคี่เท่านั้นที่ออกวิ่งบนถนนได้, Thai Definition: จำนวนที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว | เลขคู่ | (n) even number, Ant. เลขคี่, Example: ในงานบุญจะนิยมนิมนต์พระสงฆ์เป็นเลขคู่มากกว่าเลขคี่, Thai Definition: จำนวนที่หารด้วย 2 ลงตัว | เลขโดด | (n) digit, Thai Definition: ตัวเลขหลักมูล | โทรเลข | (n) telegraph, See also: wire, cable, cablegram, telegram, Example: การสื่อสารด้วยโทรเลขและเทเล็กซ์สามารถเปลี่ยนขึ้นมาใช้ดำเนินการด้วยคอมพิวเตอร์ได้, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ | วิชาเลข | (n) arithmetic, See also: mathematics, Syn. เลข, Example: เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเลข ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ในขั้นต่ำ | หมายเลข | (n) number, Syn. เลข, เลขลำดับ, ลำดับที่, Example: นายเฉลิมพันธ์แอบสั่งหัวคะแนนหาเสียงให้หมายเลขของเขาเพียงคนเดียว, Count Unit: หมายเลข | เชิงเลข | (adj) numerical, Syn. เชิงตัวเลข | เลขคณิต | (n) arithmetic, Syn. วิชาเลขคณิต, Example: ตรองทำแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ขณะที่ดวงดอมทำเลขคณิต, Thai Definition: สาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับเซตจำนวนจริง ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์ | เลขท้าย | (n) end number, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ตัวเลขที่อยู่หลังสุด | เลขหน้า | (n) page number, Example: ตามระเบียบของการพิมพ์จะต้องพิมพ์เลขหน้าไว้ข้างบนด้านขวา, Thai Definition: ตัวเลขที่เขียนลำดับตามหน้าสมุดและหนังสือ | เลขหมาย | (n) number, Syn. หมายเลข, Example: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยได้จัดทำโครงการเพิ่มเลขหมายโทรศัพท์ทั่วประเทศ, Thai Definition: จำนวนตัวเลขที่กำหนดไว้ | เลขเด็ด | (n) lucky number, See also: cool number, Example: นางได้เลขเด็ดมาจากเจดีย์ในวัด, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เลขที่เก็งด้วยความมั่นใจว่าจะถูกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล หรือหวยใต้ดิน | จิตรเลขา | (n) picture, See also: portrait, Syn. รูปภาพ, Notes: (สันสกฤต) | อักษรเลข | (n) numerical code, Thai Definition: วิธีเขียนหนังสือลับโบราณ ใช้ตัวเลขแทนสระ | อักษรเลข | (n) secretary of the provincial governor, Thai Definition: ตำแหน่งในคณะกรมการปกครองท้องที่มีมาแต่โบราณ, ต่อมาใช้เรียกผู้ทำหน้าที่เลขานุการของผู้ว่าราชการจังหวัด | เลขจำนวน | (n) number, Syn. ตัวเลข, เลข, Count Unit: ตัว, Thai Definition: จำนวนเลขต่างๆ | เลขยันต์ | (n) occult number, See also: figures used in cabalistic signs, Example: ผ้าที่หัวเสานี้ลงเลขยันต์ไว้เพื่อเป็นเครื่องกันเสนียดจัญไร, Thai Definition: ตัวเลขที่ประกอบในแผ่นยันต์ | เลขลำดับ | (n) ordinal number, Example: หน้าปัดนาฬิกาโดยมากมีเลขลำดับบอกชั่วโมงจาก 1 ถึง 12, Thai Definition: จำนวนนับที่บอกรหัสหรือตำแหน่งที่ของสิ่งที่จัดเรียงกันอย่างมีระบบ | เลขโรมัน | (n) Roman numerals, Example: เสาหลักแต่ละหลักของคลองแห่งนี้มีเลขไทย เลขโรมัน และเลขจีน กำกับบอกลำดับที่ของหลักที่หัวเสา, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ตัวเลขแบบโรมัน | ค่าตัวเลข | (n) numeric value, Example: เราสามารถบรรจุค่าตัวเลขหรือสูตรต่างๆ ลงในแต่ละช่องของตารางได้เพื่อการเพื่อการใช้งานที่สะดวก | เลขฐานสอง | (n) binary digit, Example: ภาษาเครื่องเป็นภาษาที่ประกอบด้วยเลขฐานสอง, Thai Definition: ระบบตัวเลขที่เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เพียง 2 ตัวคือ 0 กับ 1 แล้วเขียนจำนวนที่ต้องการห้อยด้วย 2 | เลขฐานสิบ | (n) digit, Example: ตัวเลขที่เราใช้กันอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวันนั้นเป็นเลขฐานสิบ, Thai Definition: ตัวเลขสัญลักษณ์ 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, และ 9 โดยแต่ละตัวของเลขนี้เรียกว่า เลขโดด | เลขอนุกรม | (n) alphabetical order, Example: ในการสอบเข้าทำงาน ผู้สมัครจำเป็นต้องสอบเลขอนุกรมด้วย | เลขอนุกรม | (n) alphabetical order, Example: ในการสอบเข้าทำงาน ผู้สมัครจำเป็นต้องสอบเลขอนุกรมด้วย | เลขอารบิค | (n) Arabic numerals, Syn. เลขฝรั่ง, Example: ผู้แต่งคนนี้จะไม่ใช้เลขอารบิคในงานเขียนของเขาเลย, Thai Definition: ตัวเลขแบบอาหรับ ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ชาวอาหรับคิดค้นขึ้นใช้แทนจำนวนจริง | เลขานุการ | (n) secretary, Syn. ผู้ช่วย, Example: ในฐานะที่ผมเองเป็นเลขานุการของท่านก็เลยต้องดูแลงานบางส่วนที่ท่านมอบหมาย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีหน้าที่ทำงานแบ่งเบาภาระของผู้บังคับบัญชา | เชิงตัวเลข | (adj) numerical, Syn. เชิงเลข | เลขยกกำลัง | (n) logarithm, Example: ครูสอนให้นักเรียนฝึกคำนวณเลขยกกำลัง, Thai Definition: เลขชี้กำลังที่เขียนลงบนจำนวนจริง | เลขยกกำลัง | (n) logarithm, Example: ครูสอนให้นักเรียนฝึกคำนวณเลขยกกำลัง, Thai Definition: เลขชี้กำลังที่เขียนลงบนจำนวนจริง | วิทยุโทรเลข | (n) radio telegraph, See also: radiogram, wireless telegraph, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: โทรเลขไม่มีสาย | เลขชี้กำลัง | (n) exponent, Thai Definition: จำนวนเต็มหรือจำนวนตรรกยะที่ใช้ยกกำลังจำนวนจริง, Notes: (คณิตศาสตร์) | เลขประจำตัว | (n) identification number, See also: number, Example: เขาเรียงข้อมูลเกี่ยวกับการจ่ายเงินค่าแรงของพนักงานโดยเรียงตามเลขประจำตัวของพนักงาน, Thai Definition: เลขลำดับของคนสำหรับตรวจหาได้สะดวก | รองเลขาธิการ | (n) deputy secretary general | เลขจำนวนเต็ม | (n) integer, Syn. จำนวนเต็ม, Example: การออกแบบวงจรบวกเลขฐานสองในระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปจะแทนเลขจำนวนเต็มด้วยเลขฐานสอง, Thai Definition: จำนวนที่เป็นจำนวนนับ | เลขานุการิณี | (n) secretary, See also: lady secretary, Count Unit: คน, Thai Definition: เลขานุการที่เป็นผู้หญิง | เครื่องคิดเลข | (n) calculator, See also: calculating machine, Example: เขาบวกลบคูณหารได้อย่างคล่องและรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้เครื่องคิดเลขเลย, Count Unit: เครื่อง | เลขาผู้บริหาร | (n) excutive secretary, Example: เจ้านายเอาใจเลขาผู้บริหารคนนี้มาก เพราะเป็นผู้ที่มีความสามารถมาก |
| จิตรเลขา | น. รูปภาพลายเส้น. | ตัวเลข | น. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง เช่น ๑๒ 53 VIII. | ทดเลข | ก. ยกจำนวนเลขครบสิบไปบวกกับผลของหลักหน้า. | โทรเลข | น. ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ. (อ. telegraph). | โทรเลข | ก. ส่งข้อความไปยังอีกบุคคลหนึ่งทางโทรเลข. | นขเลขา | น. การขีดด้วยเล็บ. | รจเรข, รจเลข | (รดจะเรก, รดจะเลก) น. การขีดเขียน. | รจเรข, รจเลข | (รดจะเรก, รดจะเลก) ว. งาม. | รจเรข, รจเลข | (รดจะเรก, รดจะเลก) ก. แต่ง. | ราชเลขาธิการ | น. ตำแหน่งเลขานุการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. | ราชเลขานุการ | น. ตำแหน่งเลขานุการในพระองค์ของพระบรมวงศ์ เป็นตำแหน่งตามกฎหมาย, ตำแหน่งเลขานุการในพระองค์ของพระบรมวงศ์ ทรงแต่งตั้งเป็นการส่วนพระองค์. | ราชหัตถเลขา | (ราดชะหัดถะเลขา) น. จดหมาย (ใช้แก่พระมหากษัตริย์), ใช้ว่า พระราช-หัตถเลขา. | ลงเลขลงยันต์ | ก. เขียน สัก หรือแกะสลักตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระ หรือรูปภาพลงบนแผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น พร้อมกับร่ายเวทมนตร์คาถากำกับ ถือว่าเป็นของขลัง. | ล็อกเลข | ก. หยุดตัวเลขตามที่ต้องการ. | เลข | (เลก) น. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง | เลข | วิชาคำนวณ. | เลขคณิต | น. วิชาเกี่ยวกับเซตจำนวนจริงทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์. | เลขจำนวน | น. ตัวเลข. (ดู ตัวเลข ที่ ตัว ๒). | เลขชี้กำลัง | น. จำนวนเต็มหรือจำนวนตรรกยะที่ใช้ยกกำลังจำนวนจริง เช่น ๗๓ มี ๓ เป็นเลขชี้กำลัง. | เลขโดด | น. ตัวเลขหลักมูล. | เลขผา, เลขผานาที | น. เลข (โดยมากใช้ในทางโหราศาสตร์). | เลขยันต์ | น. ตัวเลขที่ประกอบในแผ่นยันต์. | เลขลำดับ | น. จำนวนนับที่บอกรหัสหรือตำแหน่งที่ของสิ่งที่จัดเรียงกันอย่างมีระบบ เช่น บ้านเลขที่ ๑๕๐ รถประจำทางสาย ๖๒. | เลขหมาย | น. จำนวนตัวเลขที่กำหนดไว้. | เลขกะ | (เลขะกะ) น. ผู้เขียน, เสมียน. | เลขนะ | (เลขะนะ) น. รอยเขียน, ตัวอักษร, ลวดลาย. | เลขยะ | (เลขะยะ) น. การเขียน. | เลขา | น. ลาย, รอยเขียน, ตัวอักษร, การเขียน. | เลขา | ว. งามดังเขียน. | เลขาธิการ | น. ผู้ดำรงตำแหน่งบริหารระดับสูงตำแหน่งหนึ่ง เช่น เลขาธิการสหประชาชาติ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน เลขาธิการรัฐสภา เลขาธิการสมาคม. | เลขานุการ | น. ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับหนังสือหรืออื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาสั่ง. | วิทยุโทรเลข | น. การรับส่งโทรเลขโดยใช้คลื่นวิทยุ. | สรเลข | (สอระ-) น. ตำแหน่งข้าราชการหัวเมืองในสมัยโบราณ. | สัลเลข- | (สันเลขะ-) น. การขัดเกลากิเลส. | หมายเลข | น. เลขลำดับ เช่น หมายเลขโทรศัพท์, ลำดับที่ เช่น ผู้ประกวดหมายเลข ๑. | หางเลข | น. เครื่องหมายย่อแทนตัวเลขสำหรับทำเลขอย่างเก่า | หางเลข | เลขท้ายสลากกินแบ่งที่ได้รางวัล, โดยปริยายหมายถึงพลอยถูกผู้ใหญ่ดุหรือตำหนิไปด้วย เช่น หัวหน้าถูกผู้ใหญ่ดุ ลูกน้องก็เลยพลอยถูกหางเลขไปด้วย. | อนงคเลข, อนงคเลขา | น. จดหมายรัก, เพลงยาว. | อักษรเลข | (อักสอระเลก, อักสอนเลก) น. วิธีเขียนหนังสือลับโบราณ ใช้ตัวเลขแทนสระ | อักษรเลข | ตำแหน่งในคณะกรมการปกครองท้องที่มีมาแต่โบราณ, ต่อมาใช้เรียกผู้ทำหน้าที่เลขานุการของผู้ว่าราชการจังหวัด. | กด ๕ | น. คำกำกับชื่อปีในวิธีนับศักราชแบบโบราณของไทย ตรงกับเลข ๗ และตรงกับเลข ๒ ของจุลศักราช. | กรมการในทำเนียบ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งข้าราชการที่มีเงินเดือน ซึ่งจัดเป็น ๒ พวก กรมการชั้นผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ปลัด ยกกระบัตร และผู้ช่วยราชการ กับกรมการชั้นผู้น้อย ประกอบด้วย จ่าเมือง สัสดี แพ่ง ศุภมาตรา และสารเลข. | กรอก ๑ | ลงข้อความหรือจำนวนเลข เช่น กรอกบัญชี. | กระ ๑ | น. ชื่อเต่าทะเลขนาดใหญ่ชนิด Eretmochelys imbricata Rüppell ในวงศ์ Cheloniidae ปากยาวงุ้มคล้ายปากเหยี่ยว หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ ซ้อนเหลื่อมกันอย่างกระเบื้องมุงหลังคา สีนํ้าตาลลายเหลือง ขาแบนเป็นพาย มีไข่กลมเปลือกนิ่มเหนียว เรียก ไข่จะละเม็ด ไข่ตามหาดทรายครั้งละ ๑๕๐-๒๕๐ ฟอง. | กระพุ่ม | น. ลักษณะของสิ่งที่เป็นพุ่มยอดแหลมอย่างดอกบัวตูม, (กลอน) พุ่ม เช่น ดอกพวงเผล็ดช่อ กระพุ่มห่อเกสร สลอนบุษบาบาน (ลอ), สองถันกระพุ่มกาญ- จนแมนมาเลขา (อนิรุทธ์). | กหังปายา | (กะ-) น. เกณฑ์สำหรับลบพุทธศักราชเป็นจุลศักราช และบวกจุลศักราชเป็นพุทธศักราช ตรงกับเลข ๑๑๘๑. | กะตรุด | (-ตฺรุด) น. ตะกรุด เช่น พระกะตรุดเลศเลขลง เลิศแล้ว (พยุหยาตรา), กะตุด หรือ กระตรุด ก็ว่า. | กะตัก | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Encrasicholina และ Stolephorus วงศ์ Engraulidae รูปร่างยาว กลม หรือแบนข้างเล็กน้อยแล้วแต่ชนิด ปากกว้าง ที่สันท้องระหว่างครีบท้องและครีบก้นมีหนามแหลมขนาดเล็กมาก ๒-๗ อัน ข้างลำตัวมีสีเด่นเป็นเพียงแถบสีเงินพาดตลอดตามยาว มักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ใกล้ฝั่ง อาจคละกันหลายชนิด, หัวอ่อน ชินชัง ไส้ตัน เส้นขนมจีน หัวไม้ขีด มะลิ เก๋ย เรียกปะปนกันระหว่างขนาด ชนิด หรือต่างกันตามท้องถิ่นที่จับ ขนาดยาวได้ถึง ๑๔ เซนติเมตร. | กะรัง ๒ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดกลางและขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Epinephelus, Cephalopholis และ Plectopomus วงศ์ Serranidae หัวโต รูปร่างป้อม เรียวยาวไปทางหาง แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดเล็ก สีตามตัวและครีบเป็นดอกดวง แต้ม หรือบั้ง ฉูดฉาดหรือคลํ้าทึบแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาด พบอาศัยอยู่ตามบริเวณหมู่ปะการัง โขดหินใกล้ฝั่งหรือเกาะ. | กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. |
| | International Standard Book Number | เลขมาตรฐานหนังสือสากล, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN"> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Accession number | เลขทะเบียน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Call number | เลขเรียกหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Accession number | เลขทะเบียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Author number | เลขผู้แต่ง, Example: <p>เลขผู้แต่ง หรือ เลขหนังสือ (Book number) หมายถึง สัญลักษณ์ประจำตัวทรัพยากรสารสนเทศ ใช้เลขประตัวผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละชื่อเรื่องนั้น เลขผู้แต่ง ประกอบด้วย อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ซึ่งเลขประจำตัวชื่อผู้แต่งนั้น ได้มีการกำหนดเป็นตารางเลขสำเร็จรูปไว้แล้ว <p>กรณีที่ทรัพยากรสารสนเทศไม่มีชื่อผู้รับผิดชอบ จะลงรายการหลักด้วยชื่อเรื่อง ซึ่งประกอบด้วยอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องและเลขประจำอักษรตัวถัดของชื่อเรื่อง นอกจากนี้ อาจจะมีสัญลักษณ์ที่ระบุถึงเล่มที่ ฉบับที่ ตอนที่ ปีพิมพ์ เพิ่มขึ้นมาอีกด้วย <p>ส่วนตารางเลขผู้แต่งภาษาต่างประเทศนั้น ใช้ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น (Cutter-Sanborn Table) ซึ่งเป็นคัตเตอร์ของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ส่วนสำหรับเลขผู้แต่งชาวไทย จะมีตารางเลขผู้แต่งชาวไทยของหอสมุดแห่งชาติ <p>ตัวอย่าง ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Cutter.JPG" width="640" height="200" alt="Cutter"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Call number | เลขเรียกหนังสือ, เลขเรียกหนังสือ, Example: หมายถึง รหัส หรือ สัญลักษณ์ที่บรรณารักษ์กำหนดขึ้นสำหรับระบุถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง หรือวัสดุห้องสมุดแต่ละชิ้น เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดใช้เป็นจุดเข้าถึงวัสดุของห้องสมุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นเหมือนบ้านเลขที่ หรือตำแหน่งของหนังสือแต่ละชื่อเรื่องที่มีอยู่ในห้องสมุดนั่นเอง เมื่อต้องการหาหนังสือชื่อเรื่องนั้น โดยสืบค้นจากบัตรรายการ หรือสืบค้นจากฐานข้อมูลห้องสมุด ได้ทราบถึงเลขเรียกหนังสือ จึงใช้เลขเรียกหนังสือนั้น หาหนังสือที่ต้องการว่าอยู่ที่ชั้นหนังสือใดของห้องสมุด นอกจากนี้ ใช้ในการสื่อสารกับบรรณารักษ์ในงานบริการจ่ายรับหนังสือ บริการตอบคำถาม ฯลฯ และให้บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์ในการจัดหา การให้บริการ การจัดเก็บ และการสำรวจวัสดุห้องสมุด เนื่องจากใช้เลขเรียกหนังสือเป็นการอ้างถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่องนั่นเอง <p>เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ เลขหมู่ และเลขผู้แต่ง <p>1. เลขหมู่ (Classification number) เป็นรหัสหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ ได้มาจากระบบการจัดหมวดหมู่ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเป็นระบบการจัดหมวดหมู่ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง <p> ตัวอย่าง H (ระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน) หมายถึง เนื้อหาในสาขาสังคมศาสตร์ <p> 025.433 (ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้) หมายถึง เลขที่ใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> วพ หมายถึง รหัสเพื่อใช้แทนประเภทของหนังสือที่เป็นวิทยานิพนธ์ <p> สวทช. สก. 8 หมายถึง รหัสและเลขที่ใช้หนังสือที่ออกโดยสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเภทหนังสือทั่วไป <p> 2. เลขผู้แต่ง (Author number) หรือเลขหนังสือ (Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น แทนชื่อเต็มของผู้แต่งหรือรายการหลักในการลงรายการหนังสือ มักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรผสมกับตัวเลข โดยใช้อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุลของผู้แต่ง (กรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ) ที่เป็นรายการหลัก ผสมกับตัวเลขที่กำหนดให้สำหรับผู้แต่งแต่ละคนตามคู่มือสำหรับกำหนดเลขประจำผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง 025.433 อ555ค <p> เลขเรียกหนังสือนี้ มาจากหนังสือชื่อ "คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน" เขียนโดย อัมพร ทีขะระ จึงได้เลขหมู่เป็น 025.433 ส่วน อ555 คือ หมายเลขผู้แต่งสำหรับ อัมพร ส่วน ค หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง คือ คู่มือ <p> การกำหนดเลขผู้แต่ง ช่วยให้หนังสือแต่ละเล่มมีเลขเรียกหนังสือที่ไม่ซ้ำกัน กรณีที่หนังสือมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน และมีการกำหนดเลขหมู่ออกมาเหมือนกัน จากตัวอย่าง ข้างต้น ถ้าห้องสมุดมีการจัดซื้อหนังสือเกี่ยวกับการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เข้ามาโดยผู้แต่งที่เขียนหลายๆ คน เลขผู้แต่งจะเป็นตัวแสดงให้เห็นความแตกต่างของผู้เขียนแต่ละคน <p> ตัวอย่าง ห้องสมุดมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยมีการกำหนดชื่อเรื่องที่เหมือนกัน หรือคล้ายกัน ได้แก่ <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย กมลา รุ่งอุทัย จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ก138 <p> การจัดหมู่หนังสือระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย บุญถาวร หงสกุล จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 บ455 <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย ระเบียบ สุภวิรี จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ร235 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย วิลัย อัคคอิชยา จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ว716 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย อัมพร ทีขะระ จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 อ555 <p> ดังนั้น เมื่อเรียงเลขเรียกหนังสือ จะเห็นความแตกต่างของเลขผู้แต่ง ภายใต้เลขหมู่หนังสือเดียวกัน <p> 025.433 ก138 <p> 025.433 บ455 <p> 025.433 ร235 <p> 025.433 ว716 <p> 025.433 อ555 <p> 3. สัญลักษณ์อื่นๆ ที่ประกอบอยู่ในเลขเรียกหนังสือ <p> 3.1 อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง กรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน แต่ใช้ชื่อเรื่องต่างกัน กรณี จะมีเลขหมู่ เหมือนกัน เลขผู้แต่ง เหมือนกัน จะทำให้เกิดความซ้ำของเลขเรียกหนังสือได้ จึงได้มีการกำหนดให้ใช้อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องใส่ไว้หลังเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> โฆษณาไทยสมัยแรก โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> โฆษณาคลาสลิค โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ 893 <p> โฆษณาไทย โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> 659.1 ในระบบการจัดหมู่ทศนิยมดิวอี้ หมายถึง การโฆษณา แต่เผอิญ เอนก นาวิกมูล แต่งหนังสือโดยใช้ชื่อว่า โฆษณา ขึ้นต้นอยู่หลายเรื่อง ถ้าจะให้เลขเรียกหนังสือ เป็น 659.1 อ893ฆ ก็จะซ้ำกันทั้งหมด ทั้งๆ ที่เป็นคนละชื่อเรื่องกัน จึงใส่ตัวอักษรอีกตัวหนึ่งเพื่อให้เกิดความแตกต่าง เช่น <p> 659.1 อ893ฆ โฆษณาไทยสมัยแรก <p> 659.1 อ893ฆค โฆษณาคลาสลิค <p> 659.1 อ893ฆษ โฆษณาไทย <p> 3.2 กำหนดสัญลักษณ์แทนประเภทของหนังสือ ส่วนมากใส่ไว้เหนือเลขหมู่ เช่น หมวดหนังสืออ้างอิง ใช้ตัว อ (คือ อ้างอิง สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาไทย) และ R หรือ Ref (คือ Reference สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ) <p> อ 495.913 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> อ PL4185 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> 3.3 สัญลักษณ์ระบุแทนปีที่พิมพ์ของหนังสือ ในกรณีที่หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่งคนเดียวกัน จัดพิมพ์ออกจำหน่ายมากกว่า 1 ครั้ง มักจะใส่ปีที่พิมพ์เพื่อให้ความแตกต่างและให้ทราบว่าเล่มใดมีความทันสมัยมากกว่ากัน โดยใส่ถัดจากเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2498 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2498 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2502 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2502 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2512 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2512 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2523 <p> 3.4 การกำหนดสัญลักษณ์บอกจำนวนซ้ำ กรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียว ปีพิมพ์เดียวกัน มากกว่า ๑ ฉบับ จะมีการกำหนดลำดับของจำนวนหนังสือแต่ละเล่มไว้ด้วย เป็น ฉ หมายถึง ฉบับ (สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ C หมายถึง Copy (สำหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) เช่น <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีจำนวน ๕ ฉบับ มีเลขหมู่ เป็น <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.1 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.2 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.3 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.4 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.5 <p> 3.5 สัญลักษณ์บอกลำดับเล่มที่ของหนังสือ กรณีที่เป็นหนังสือชุด หรือมีหลายเล่มจบ ใช้อักษร ล. (หมายถึง เล่มที่ สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ ใช้ v. (หมายถึง volume สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) และกำหนดตัวเลขบอกลำดับที่เล่มของหนังสือไว้ถัดจากเลขผู้แต่ง หรือเลขปีที่พิมพ์ <p> สารานุกรมไทย ของ อุทัย สินธุสาร <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 1 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 2 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 3 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 4 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 5 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 6 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110313-CallNumber.JPG" width="640" higth="200" alt="Call number"> <p> ตัวอย่าง เลขเรียกหนังสือที่มีทั้งเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สัญลักษณ์อื่นๆ ที่กำหนดขึ้นเป็นเลขเรียกหนังสือเฉพาะคอลเลคชั่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Book number | เลขหนังสือ, Example: <p> Book number หมายถึง เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่งหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเลขเรียกหนังสือ (Call number) ประกอบด้วยเลขหมู่หนังสือ (Class number) และเลขหนังสือ โดยเลขหนังสือจะเป็นส่วนท้ายของเลขเรียกหนังสือ เลขหนังสือนี้ประกอบด้วยตัวอักษรจากชื่อผู้แต่งกับตัวเลขจำนวนหนึ่ง และบางครั้งรวมทั้งตัวอักษรซึ่งได้มาจากชื่อหนังสือด้วย เลขหนังสือมีประโยชน์ คือ ทำให้เลขเรียกหนังสือของหนังสือแต่ละเล่มมีความแตกต่างกัน และสามารถจัดเรียงตามลำดับบนชั้นได้ไม่ซ้ำกัน <p> ในต่างประเทศได้จัดทำเลขผู้แต่งหนังสือมานานแล้ว โดยเริ่มจาก ชาร์ล เอ คัตเตอร์ (Charle A Cutter) ได้จัดทำ Cutter’s Two Figure Author Table ขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 ต่อมาเคท อี. แซนบอร์น (Kate E. Sanborn) ได้จัดทำ Three Figure Table ขึ้นจากคำแนะนำของคัตเตอร์ โดยใช้ชื่อว่า Cutter-Sanborn Three Figure Author Table ดังนั้น จึงนิยมเรียกตารางเลขผู้แต่งที่แซนบอร์น คิดขึ้นนี้ว่า Cutter-Sanborn Table และใช้เป็นพื้นฐานสำหรับเลขผู้แต่งสมัยปัจจุบัน <p> ในประเทศไทยหอสมุดแห่งชาติได้นำแนวคิดจากตารางเลขผู้แต่ง Cutter-Sanborn Three Figure Author Table มาพัฒนาตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูปของหอสมุดแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และเผยแพร่ไปยังห้องสมุดต่างๆ อย่างแพร่หลาย จนในปี พ.ศ. 2528 หอสมุดแห่งชาติ จึงได้จัดพิมพ์เผยแพร่อย่างเป็นทางการใช้ชื่อว่า ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูป (Thai Author Table) จากนั้นได้จัดพิมพ์เผยแพร่อีก 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2531, 2538 และ 2547 ตารางเลขผู้แต่งของหอสมุดแห่งชาติ ได้รับความนิยมแพร่หลาย เนื่องจากเป็นคู่มือที่มีการกำหนดเลขไว้แน่นอน เรียงชื่อผู้แต่งตามพจนานุกรม โดยกำหนดเลข 3 หลักควบคู่กับชื่อผู้แต่ง นับเป็นคู่มือที่ให้ความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงานมาก เมื่อเทียบกับการกำหนดเลขผู้แต่งโดยการบวกตัวเลขระหว่างตัวอักษรและสระประจำตัวผู้แต่ง <p> นอกจากนี้ยังมีเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยอื่น ๆ ที่ห้องสมุดหลายแห่งได้พัฒนาขึ้นใช้เอง ได้แก่ <p> 1) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของหอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p> 2) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของ หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p> 3) เลขผู้แต่งภาษาไทยของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม <p> เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยที่ห้องสมุดต่างๆ ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันคือ เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยของหอสมุดแห่งชาติ ซึ่งปัจจุบันจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 5 แล้ว <p> โดยทั่วไปเลขหนังสือประกอบด้วย เลขผู้แต่ง In general, book number = author number + title (or work) mark + edition mark + date of publication + volume number + copy number + anything else library policy dictates ตัวอย่างการให้เลขหนังสือ <p> หนังสือเล่มหนึ่ง เมื่อจัดหมวดหมู่ในระบบ LC (ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน) ได้เลขเรียกหนังสือ ดังนี้ <p> BF 408 เลขหมู่หนังสือ (Class Number) <p> ว716 เลขหนังสือ (Book number) <p> เมื่อหนังสือมีเลขหมู่หนังสือซ้ำกัน เลขหนังสือจะช่วยจัดลำดับหนังสือที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันบนชั้นได้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น มีหนังสือที่มีเลขหมู่เดียวกันบนชั้น 5 เล่ม แต่มีผู้แต่งต่างกัน เมื่อจัดวางหนังสือบนชั้น จะนำมาจัดเรียงได้ ดังนี้ <p> BF 408 BF 408 BF 408 BF 408 BF <p> ว 716 ว 447 ส 282 อ 113 อ 459 <p>ในกรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือของผู้แต่งคนเดียวกันที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันและมีอยู่บนชั้นหลายเล่ม เกิดปัญหาในการจัดวางหนังสือบนชั้น จะใช้วิธีเพิ่มตัวอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องต่อท้ายเลขหนังสือ เช่น <p> BF 408 BF 408 ดังนั้น จึงทำให้หนังสือสองเล่มนี้มีตำแหน่งที่วางโดยเฉพาะบนชั้นหนังสือ <p> อ 968 ค อ 968 จ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Standard Book Number | เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/isbn.jpg" alt="International Standard Book Number"> <p>เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หรือ International Standard Book Number หรือ ISBN <p>ประวัติความเป็นมา : บริษัท W.H. Smith (http://www.whsmith.co.uk) ซึ่งเป็นผู้จำหน่ายหนังสือรายใหญ่ของอังกฤษ ได้ร่วมกับสภาสมาคมสำนักพิมพ์ และ Prof. F.G. Foster แห่ง The London School of Economic จัดทำตัวเลขกำกับหนังสือเพื่อให้เป็นมาตรฐาน (Standard Book Number: SBN) ในปี ค.ศ. 1967 ต่อมา ISO (International Standard Organization: องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ) ร่วมกับสมาคมสำนักพิมพ์ และห้องสมุดต่างๆ ของยุโรป และอเมริกา เห็นความสำคัญของตัวเลขดังกล่าว จึงปรับปรุงให้เป็นระบบสากล ในปี ค.ศ. 1970 เรียกว่า ISBN (International Standard Book Number) <p>สำหรับประเทศไทยได้มีการนำ ISBN มาใช้โดยปี พ.ศ. 2519 หอสมุดแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์ประมวลผลด้วยเครื่องจักรแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สร้าง ISBN ภายในประเทศ และเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา <p>โครงสร้างของเลข ISBN : เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค ส่วนที่ 1 รหัสบาร์โค้ด แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 รหัสกลุ่มประเทศ (Group identifier) แบ่งตามประเทศหรือกลุ่มประเทศตามภูมิศาสตร์หรือกลุ่มประเทศตามภาษา มี 1-5 หลัก เช่น 974 รหัสประเทศไทย ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ (Publisher prefix) มี 2-7 หลัก ขึ้นกับว่าสำนักพิมพ์นั้นพิมพ์หนังสือมากน้อยเพียงใดถ้าพิมพ์มากจะได้รหัสน้อยหลัก สำหรับ สวทช. คือ 229 ส่วนที่ 4 รหัสลำดับชื่อเรื่อง (Title number) มีกี่หลักขึ้นกับจำนวนรหัสกลุ่มและรหัสสำนักพิมพ์ ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check digit) ใช้ตรวจสอบว่าเลขที่ถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นถูกต้องหรือไม่ มี 1 หลัก (0-9) หรือ X <p>ISBN เป็นประโยชน์ต่อหลายวงการ เช่น ห้องสมุด นำ ISBN มาประยุกต์ใช้ในการยืมคืน การยืมระหว่างห้องสมุด การสืบค้น เข้าถึง และแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ร้านหนังสือ คลังสินค้าต่างๆ ISBN ช่วยในการบริหารสินค้าและคลังสินค้า ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว <p>การขอรับเลข ISBN จากหอสมุดแห่งชาติ : สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือหน่วยงานราชการ ต้องกรอกรายละเอียดของหนังสือในแบบฟอร์มการขอเลข ISBN ได้ 4 วิธี 1. ทางจดหมาย ถึง ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดแห่งชาติ 2. ทางโทรสาร ที่หมายเลข 0-2281-5450, 0-2628-5175 3. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : [email protected] 4. ติดต่อขอรับด้วยตนเอง ที่กลุ่มงานคัดเลือกและประเมินคุณภาพทรัพยากรห้องสมุด <p>สิ่งพิมพ์ที่ไม่สามารถขอ ISBN ได้ 1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ 2. สิ่งพิมพ์อายุการใช้งานสั้น เช่น แผ่นพับ แผ่นโฆษณา 3. ปฏิทิน สมุดบันทึก เกมส์ต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด 6. บัตรอวยพร บัตรคำ 7. ผลงานทางวิชาการที่ขอปรับระดับในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ 8. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน 9. สิ่งพิมพ์ฉบับสำเนาที่ไม่ได้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะการพิมพ์แบบดิจิตอล (ถ่ายเอกสาร, อัดสำเนา, โรเนียว, copyprint) 10. สิ่งพิมพ์ขนาด A5 ที่มีเนื้อหาไม่เกิน 50 หน้า ซึ่งจัดเป็นจุลสาร 11.ISBN ไม่สามารถกำหนดย้อนหลังได้ <p>ตัวอย่างบาร์โค้ด ISBN ที่พิมพ์ลงบนปกหนังสือ : <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-2.jpg" alt="International Standard Book Number"> <img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-4.jpg" alt="International Standard Book Number"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Standard Serial Number | เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร, Example: <p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Numerical calculations | การคำนวณเชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Address | เลขที่อยู่, Example: เลขที่อยู่ประจำส่วนต่างๆ ตามแต่จะกำหนด เช่น เลขที่อยู่หน่วยความจำหมายถึงเลขที่อยู่ของที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำซึ่งโดยปกติก็คือ เลขที่อยู่ประจำแต่ละไบต์ ทั้งนี้เพราะไบต์เป็นหน่วยความจำที่เล็กที่สุดที่สามารถอ้างถึงหรือระบุได้ [คอมพิวเตอร์] | Alphanumeric characters | อักขระอักษรเลข, Example: อักขระที่รวมทั้งตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z ตัวเลข 0-9 และอักขระพิเศษที่เราสามารถพิมพ์ด้วยแป้มพิมพ์ได้ ตลอดจนอักขระควบคุมต่างๆ ที่ใช้ควบคุมเครื่องพิมพ์ [คอมพิวเตอร์] | American Standard Code for Information Interchange | รหัสตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่กำหนดมาตรฐานโดยสำนักงานมาตรฐานของสหรัฐเมริกาสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างๆ, Example: รหัสแอสกีพื้นฐานใช้เพียง 7 บิต 8 บิต เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ภาพกราฟิกต่างๆ ส่วนทางประเทศไทยก็ได้อาศัยส่วนขยายนี้กำหนดเป็นรหัสภาษาไทยไว้ใช้งานด้วย เรียกว่าเป็นรหัส สมอ. [คอมพิวเตอร์] | Numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Antiparticle | ปฏิยานุภาค, อนุภาคที่มีมวล ประจุไฟฟ้า และเลขสปิน เท่ากับอนุภาคนิวเคลียร์ชนิดเดียวกัน แต่มีประจุไฟฟ้าและหรือโมเมนต์แม่เหล็กตรงข้ามกัน ตัวอย่างโปรตอนมีประจุไฟฟ้า +1 ส่วนแอนติโปรตอนมีประจุไฟฟ้า [นิวเคลียร์] | Atomic number, Z | เลขเชิงอะตอม, จำนวนโปรตอนภายในนิวเคลียสของอะตอมใดๆ และเป็นสิ่งชี้บอกตำแหน่งของธาตุในตารางพีริออดิก [นิวเคลียร์] | Cosmic radiation | รังสีคอสมิก, รังสีจากอวกาศซึ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก มีองค์ประกอบโดยประมาณ ได้แก่ โปรตอนร้อยละ 87 รังสีแอลฟาร้อยละ 11 รังสีอนุภาคหนักที่มีเลขเชิงอะตอมระหว่าง 4 ถึง 26 ร้อยละ 1 และ อิเล็กตรอนร้อยละ 1 [นิวเคลียร์] | Electron Capture | การจับยึดอิเล็กตรอน, การสลายกัมมันตรังสีแบบหนึ่งของนิวไคลด์ โดยอิเล็กตรอนจากวงโคจรในสุด 1 ตัว ถูกจับยึดและรวมเข้ากับนิวเคลียส เกิดเป็นนิวไคลด์ชนิดใหม่ที่มีเลขมวลคงเดิม แต่มีเลขเชิงอะตอมลดลง 1 (ดู K-capture ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Element | ธาตุ , สารที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีเลขเชิงอะตอมเดียวกัน และไม่สามารถแบ่งแยกเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี เช่น ไฮโดรเจน ตะกั่ว ยูเรเนียม [นิวเคลียร์] | Uranium | ยูเรเนียม, ธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นโลหะหนัก มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 92 มีน้ำหนักเชิงอะตอมเฉลี่ยประมาณ 238 ไอโซโทปที่พบในธรรมชาติ ได้แก่ ยูเรเนียม-235 ยูเรเนียม-238 และ ยูเรเนียม-234 [นิวเคลียร์] | Transuranic element | ธาตุหลังยูเรเนียม, ธาตุในตารางพีริออดิกที่อยู่หลังธาตุยูเรเนียม มีเลขเชิงอะตอมมากกว่า 92 เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น เช่น เนปทูเนียม พลูโทเนียม อะเมริเซียม คูเรียม เบอร์คีเลียม แคลิฟอร์เนียม ไอน์สไตเนียม เฟอร์เมียม เมนเดลีเวียม โนเบเลียม และลอว์เรนเซียม [นิวเคลียร์] | Transuranium element | ธาตุหลังยูเรเนียม, ธาตุในตารางพีริออดิกที่อยู่หลังธาตุยูเรเนียม มีเลขเชิงอะตอมมากกว่า 92 เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น เช่น เนปทูเนียม พลูโทเนียม อะเมริเซียม คูเรียม เบอร์คีเลียม แคลิฟอร์เนียม ไอน์สไตเนียม เฟอร์เมียม เมนเดลีเวียม โนเบเลียม และลอว์เรนเซียม [นิวเคลียร์] | Transplutonium element | ธาตุหลังพลูโทเนียม, ธาตุในตารางพีริออดิกที่อยู่หลังธาตุพลูโทเนียม มีเลขเชิงอะตอมมากกว่า 94 (ดู transuranium element ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Thorium | ทอเรียม, ธาตุกัมมันตรังสีที่มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 90 มีน้ำหนักเชิงอะตอมประมาณ 232 ไอโซโทปที่มีอยู่ในธรรมชาติ คือ ทอเรียม-232 แปรธาตุเป็นยูเรเนียม-233 ได้ด้วยการอาบนิวตรอน (ดู fertile material, fissile material, transmutation ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Octal number | เลขฐานแปด [เศรษฐศาสตร์] | Num Lock key | แป้นตรึงตัวเลข [คอมพิวเตอร์] | Number crunching | คำนวณเลข [คอมพิวเตอร์] | Numeric keypad | กลุ่มแป้นตัวเลข [คอมพิวเตอร์] | Radon | เรดอน, ธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นแก๊สที่หนักที่สุดในธรรมชาติ มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 86 มีน้ำหนักเชิงอะตอมเท่ากับ 222 เป็นนิวไคลด์ลูกของเรเดียมในอนุกรมยูเรเนียม รังสีพื้นหลังในธรรมชาติเกิดจากการแผ่รังสีของเรดอนเป็นส่วนใหญ่ [นิวเคลียร์] | Radium | เรเดียม, ธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นโลหะ มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 88 ไอโซโทปที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ คือ เรเดียม- 226 เกิดปนอยู่เล็กน้อยในสินแร่ยูเรเนียม เช่น แร่พิตช์เบลนด์ และคาร์โนไทต์ เรเดียม-226 เกิดจากการสลายของทอเรียม-230 ในอนุกรมยูเรเนียม (ดู decay, radioactive และ uranium series ประกอบ) [นิวเคลียร์] | supercomputer | ซูเปอร์คอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถสูง คิดคำนวณได้เร็วมากกว่าคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์นี้เดิมที่ตั้งขึ้นเพื่อเรียกคอมพิวเตอร์ Cray-1 ซึ่งเป็นเครื่องที่ผลิตโดยบริษัท Cray Research และต่อมามีผู้พัฒนาเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์อีกมาก รวมทั้งบริษัทคอมพิวเตอร์ในญี่ปุ่นด้วย ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีความเร็วสูงมาก และโดยทั่วไปถือว่าจะต้องเร็วกว่า 300 MFLOPS คือคำนวณเลขจุดลอยตัวได้เกินกว่า 300 ล้านคำสั่งต่อวินาที ซูเปอร์คอมพิวเตอร์นั้นอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงยิ่ง (high performance computer) [คอมพิวเตอร์] | Application No. | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Publication Number | หมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Priority Number | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Digital | ดิจิทัล เชิงเลข มีความหมายโดยนัยว่าเป็นระบบอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้สัญญาณ หรือทำงานด้วยสัญญาณที่มีลักษณะเป็นเลขโดด (digit) โดยเฉพาะที่เป็นเลขฐานสองคือ เลข 0 กับ 1 [คอมพิวเตอร์] | Digitize | แปลงเป็นเลข การเปลียนแปลงภาพบนกระดาษให้เป็นสัญญาณเลข สำหรับบันทึก เก็บ และนำมาแสดงผลได้ [คอมพิวเตอร์] | Kinds | ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, Example: ตัวอย่าง DE1234A1 หมายถึงคำโฆษณาที่ยื่นขอเปิดเผยให้สาธารณะตรวจสอบ ส่วน DE1234C1 หมายถึงเอกสารสิทธิบัตรที่ได้รับอนุมัติของสำนักงานสิทธิบัตรเยอรมนี [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Patent No. | เลขที่สิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Proton | โปรตอน, อนุภาคมูลฐานที่มีประจุไฟฟ้าบวกหนึ่งหน่วย มีมวลประมาณ 1837 เท่าของอิเล็กตรอน โปรตอนเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสทุกชนิด เลขเชิงอะตอม ของอะตอมใด ๆ จะเท่ากับจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอมนั้น [นิวเคลียร์] | Plutonium | พลูโทเนียม, ธาตุหนักที่เป็นโลหะและเป็นธาตุกัมมันตรังสี มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 94 ซึ่งมนุษย์ผลิตขึ้นจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไอโซโทปสำคัญ คือ พลูโทเนียม-239 มีครึ่งชีวิต 24, 000 ปีสามารถแบ่งแยกนิวเคลียสได้ จึงใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือทำอาวุธนิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] | Number theory | ทฤษฎีจำนวนเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mass number, A | เลขมวล, ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งๆ ซึ่งเป็นเลขจำนวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุดกับน้ำหนักเชิงอะตอมของแต่ละไอโซโทป เช่น ยูเรเนียม-235 มีโปรตอน 92 อนุภาค และนิวตรอน 143 อนุภาค ดังนั้นเลขมวลคือ 235 <br>(ดู atomic mass และ atomic number ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Telegraph | โทรเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | fixed-point arithmetic | เลขคณิตจุดตายตัว, Example: คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขที่ตำแหน่งของจุดทศนิยมตายตัว [คอมพิวเตอร์] | floating-point arithmetic | เลขคณิตจุดลอยตัว, Example: คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขที่ตำแหน่งของจุดทศนิยมไม่ตายตัวสามารถเปลี่ยนไปได้ [คอมพิวเตอร์] | version number | หมายเลขรุ่น, Example: หมายเลขที่กำหนดให้กับโปรแกรมเพื่อแสดงว่าได้ปรับปรุงซอฟต์แวร์นั้นอย่างขนานใหญ่มากี่ครั้งแล้ว [คอมพิวเตอร์] | Isobar | ไอโซบาร์, นิวไคลด์ที่มีมวลเชิงอะตอมเท่ากันแต่เลขเชิงอะตอมต่างกัน เช่น $ ^{ 14 } $ <sub>6</sub>C $ ^{ 14 } $ <sub>7</sub>N และ $ ^{ 14 } $ <sub>8</sub>O <br>(ดู isotope ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุที่เบาที่สุดและเป็นธาตุลำดับที่ 1 ในตารางพีริออดิก ประกอบด้วยไอโซโทป 3 ชนิด โดย 2 ชนิด พบในธรรมชาติ ได้แก่ ไฮโดรเจนหรือไฮโดรเจนมวลเบาซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 1 และดิวเทอเรียมหรือไฮโดรเจนมวลหนักซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 2 ส่วนชนิดที่ 3 ได้แก่ ทริเทียม มีเลขมวลเท่ากับ 3 เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น [นิวเคลียร์] | Heavy hydrogen | ไฮโดรเจนมวลหนัก, ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่มีเลขมวลเท่ากับ 2 นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอน 1 อนุภาคและนิวตรอน 1 อนุภาค มีชื่อเฉพาะเรียกว่า ดิวเทอเรียม <br>(ดู deuterium, <sup>2</sup>H, D ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] | hexadicimal number | เลขฐานสิบหก [คอมพิวเตอร์] |
| No. | เลขที่ 47 Ronin (2013) | This is Nicki, Rachel's sister and personal secretary. | นี่นิคกี้พี่สาว กับเป็นเลขาส่วนตัวราเชล The Bodyguard (1992) | I don't give no interviews. | [ หมายเลข 2: จินดูวุค ] Hero (1992) | Maybe the guy's not all bad. | (หมายเลขที่ท่านเรียกไม่สามารถติดต่อได้ในขณะนี้) Hero (1992) | Yeah, vehicle 58. | ครับ, รถเลขที่ 58 ครับ. Ghost in the Shell (1995) | Virtual reality will grow... just as the telegraph grew to the telephone. | โลกเสมือนกำลังเติบโต เหมือนที่โทรเลขพัฒนาเป็นโทรศัพท์ The Lawnmower Man (1992) | This number 12? | บ้านเลขที่ 12 รึเปล่าครับ? The Cement Garden (1993) | Oh, extra maths. | เอ่อ มีติวเลขครับ The Cement Garden (1993) | - A telegram. | - โทรเลข Cool Runnings (1993) | Fillimore Road. It's number 60... something... | ถนน Fillimore It 's 60 หมายเลข ... In the Name of the Father (1993) | Call number one. | หมายเลขโทรหนึ่ง In the Name of the Father (1993) | It's just, I was never very good at math. | คือว่าฉันไม่ค่อยจะเก่งเรื่องตัวเลขเท่าไหร่ The Joy Luck Club (1993) | I've called all the numbers a thousand times. Let me know what you find out. | ฉันโทรไปหมายเลขเหล่านี้ เป็นพันครั้ง ถ้าคุณค้นพบอะไร ได้โปรดบอกฉันด้วย Squeeze (1993) | No plate registered under that number? | ไม่มีป้ายไหนจดทะเบียนเลขนี้ เหรอ ? Squeeze (1993) | So embryo three is entering its two-to-four stage. | ตัวอ่อนหมายเลขสามเข้าสู่ภาวะที่สองจากสี่ Junior (1994) | - Prepare number two. | - เตรียมห้องหมายเลขสอง Junior (1994) | Oh, she's beautiful! | เธอสวยจังเลข Junior (1994) | I hear you're good with numbers. How nice. | ฉันได้ยินคุณดีกับตัวเลข วิธีการที่ดี The Shawshank Redemption (1994) | Mr. Stevens has a birth certificate, a driver's license, social security number. | นายสตีเวนส์มีสูติบัตร ใบอนุญาตขับรถหมายเลขประกันสังคม The Shawshank Redemption (1994) | 218.5 00:17:08, 717 -- 00:17:10, 000 Click, click, click... | ให้ตัวเลขคร่าว ๆ แค่นั้นเอง The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | No. All the same, these figures are science. | ไม่ เหมือนเดิมตัวเลข เป็นวิทยาศาสตร์ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | -We'd like to send a telegram, please. | - ผมอยากจะส่งโทรเลขครับ - ได้ครับ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | They have telegrams and tickets and orders from head office. | เขาส่งโทรเลขไปสั่งตั๋วจากสถานีใหญ่ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | Says it's clean and low eight figures. | เขาบอกเงินสะอาด เลข 8 หลัก Heat (1995) | That's not really an estimate. Those are exact figures. | นั่นไม่ใช่ประมาณการ เป็นตัวเลขจริง Heat (1995) | Someone will call you back from another line. | บอกเลขหมายมา เดี๋ยวจะมีคนโทรไปหาอีกสายนึง Heat (1995) | You roll the dice to move your token. Doubles gets another turn. | ทอยเต๋าแล้วเดิน ถ้าได้เลขคู่ทอยได้อีกตา... Jumanji (1995) | No, you rolled doubles. You get another turn. | ไม่ เธอทอยได้เลขคู่ เธอได้ทอยอีกตา Jumanji (1995) | You roll the dice to move your token. Doubles get another turn. | "ทอยเต๋าแล้วเดิน ถ้าได้เลขคู่ทอยได้อีกตา... Jumanji (1995) | - Patient 33! | - ผู้ป่วย เลขที่33! The Great Dictator (1940) | - Number 33 is gone. | - หมายเลข 33 ไปแล้ว The Great Dictator (1940) | - Where's my secretary? | - เลขาส่วนตัวฉันอยู่ไหน The Great Dictator (1940) | - Oh, his. Number five. | - โอ้เขา หมายเลขห้า 12 Angry Men (1957) | You mean you want a secretary or something? | หมายถึงว่าคุณต้องการฉันไปเป็นเลขาฯรึคะ Rebecca (1940) | But a cable came this morning announcing that my daughter is engaged to be married. | เเต่ฉันเพิ่งได้รับโทรเลขเมื่อเช้า เเจ้งว่าลูกสาวหมั้นแล้วเตรียมจะเเต่งงาน Rebecca (1940) | I thought we'd sit in order, by jury numbers. | ผมคิดว่าเราจะนั่งในการสั่งซื้อโดยตัวเลขที่คณะลูกขุน 12 Angry Men (1957) | OK. I'll call off your jury numbers. One? | ตกลง ผมจะโทรออกหมายเลขคณะลูกขุนของคุณ หนึ่ง? 12 Angry Men (1957) | Number three? | บ้านเลขที่สาม? 12 Angry Men (1957) | Number four? | เลขที่สี่? 12 Angry Men (1957) | Number five? | หมายเลขห้า? 12 Angry Men (1957) | Number seven? | หมายเลขเจ็ด? 12 Angry Men (1957) | Number eight? | หมายเลขแปด? 12 Angry Men (1957) | Number twelve? | เลขที่สิบสอง? 12 Angry Men (1957) | Number twelve! | เลขที่สิบสอง! 12 Angry Men (1957) | Eighty-five is a lucky number. | แปดสิบห้าเป็นเลขนำโชค The Old Man and the Sea (1958) | Have a number? | เลขหลุมล่ะ? The Good, the Bad and the Ugly (1966) | There's no number. | ไม่มีเลข The Good, the Bad and the Ugly (1966) | But it must have a name or a number on it. | แต่มันต้องมีชื่อหรืหมายเลขสิ The Good, the Bad and the Ugly (1966) | You are Number 1331490? | คุณอยู่ที่หมายเลข 1331490? How I Won the War (1967) | (all) The rest of the troop, under my command, will crawl to a point - figures - 100 yards in front of the objective where they will wait for the LMG to get into position. | ส่วนที่เหลือของทหารภายใต้ คำสั่งของฉัน จะรวบรวมข้อมูลไปยังจุด ตัวเลข 100 หลา ในด้านหน้าของวัตถุประสงค์ที่ พวกเขาจะ How I Won the War (1967) |
| อ่านตัวเลขบนมิเตอร์ไฟฟ้า | [ān tūalēk bon mitoē faifā] (xp) FR: relever le compteur (électrique) | อนุกรมเลขคณิต | [anukrom lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic series ; arithmetical series FR: série arithmétique [ f ] | แบบฝึกหัดเลขคณิต | [baēpfeuk-hat lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic exercise FR: exercice d'arithmétique [ m ] | บ้านเลขที่ | [bān lēkthī] (n, exp) EN: address FR: adresse [ f ] | บ้านเลขที่ ... | [bān lēkthī ...] (n, exp) FR: maison numéro ... [ f ] ; habitation n° ... [ f ] | บุญส่ง เลขะกุล | [Bunsong Lekhakun] (n, prop) EN: Boonsong Lekagul FR: Boonsong Lekagul | ชวเลข | [chawalēk] (n) EN: shorthand ; stenography FR: sténographie [ f ] | หัดทำเลข | [hat tham lēk] (v, exp) EN: do arithmetic exercises FR: faire des exercices d'arithmétique | จำนวนเลขคณิต | [jamnūan lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic number FR: nombre arithmétique [ m ] | จดตัวเลขบนมิเตอร์ไฟฟ้า | [jot tūalēk bon mitoē faifā] (xp) FR: relever le compteur (électrique) | ค่าเฉลี่ยเลขคณิต | [khāchalīa lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic mean FR: moyenne arithmétique [ f ] | ค่าตัวเลข | [khā tūalēk] (n, exp) EN: numeric value | คิดเลข | [khitlēk] (v) EN: calculate ; compute FR: calculer | คีย์ตัวเลข | [khī tūa lek] (n, exp) EN: numeric keys FR: touche numérique [ f ] ; clavier numérique [ m ] | เครื่องคิดเลข | [khreūang khitlēk] (n) EN: calculator ; calculating machine FR: calculateur [ m ] ; calculatrice [ f ] ; calculette [ f ] ; machine à calculer [ f ] | กฎของเลขชี้กำลัง | [kot khøng lēkchīkamlang] (n, exp) EN: laws of indices | กฎของเลขคณิต | [kot khøng lēkkhanit] (n, exp) EN: laws of arithmetic | กฎของเลขยกกำลัง | [kot khøng lēk yok kamlang] (n, exp) EN: laws of indices | กรมไปรษณีย์โทรเลข | [Krom Praisanī Thōralėk] (org) EN: Post and Telegraph Department | เลข | [lēk] (n) EN: number ; numeral ; digit ; figure ; integer FR: numéro [ m ] ; chiffre [ m ] ; nombre [ m ] | เลขอ่านครั้งก่อน | [lēk ān khrang køn] (n, exp) FR: relevé précédent [ m ] | เลขอ่านครั้งหลัง | [lēk ān khrang lang] (n, exp) FR: relevé suivant [ m ] | เลขอนุกรม | [lēk anukrom] (n, exp) EN: alphabetical order | เลขอารบิค = เลขอาระบิค | [lēk Ārabik] (n, exp) EN: Arabic number ; Arabic numerals FR: chiffre arabe [ m ] | เลขอะตอม | [lēk atøm] (n, exp) EN: atomic number | เลขชี้กำลัง | [lēkchīkamlang] (n) EN: exponent ; index ; exponential notation FR: exposant [ m ] | เลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน | [lēkchīkamlang pen sētsuan] (n, exp) EN: fractional index ; fractional exponent | เลขโดด | [lēkdōt] (n) EN: digit FR: chiffre [ m ] | เลขไฟโบนาชชี่ | [lēkFaibōnātchī] (n, exp) EN: Fibonacci numbers FR: suite de Fibonacci [ f ] | เลขา | [lēkhā] (n) EN: writing ; drawing ; graph ; graphics ; design ; pattern FR: écriture [ f ] | เลขา | [lēkhā] (n) EN: secretary ; lady secretary FR: secrétaire [ f ] | เลขานุการ | [lēkhānukān] (n) EN: secretary FR: secrétaire [ f ] | เลขานุการิณี | [lēkhānukārinī] (n) EN: woman private secretary ; secretary ; lady secretary FR: secrétaire particulière [ f ] | เลขาผู้บริหาร | [lēkhā phūborihān] (n, exp) EN: executive secretary | เลขาส่วนตัว | [lēkhā suantūa] (n, exp) EN: private secretary FR: secrétaire particulière [ f ] | เลขาธิการ | [lēkhāthikān] (n, exp) EN: secretary-general FR: secrétaire général [ m ] | เลขจำนวน | [lēkjamnūan] (n) EN: number FR: nombre [ m ] | เลขจำนวนเต็ม | [lēk jamnūantem] (n, exp) EN: integer FR: nombre entier [ m ] | เลขกำลัง | [lēk kamlang] (n, exp) EN: powers | เลขคณิต | [lēkkhanit] (n) EN: arithmetic FR: arithmétique [ f ] | เลขคี่ | [lēk khī] (n, exp) EN: odd number FR: nombre impair [ m ] ; numéro pair [ m ] | เลขคู่ | [lēk khū] (n, exp) EN: even number FR: nombre pair [ m ] ; numéro pair [ m ] | เลขกล | [lēk kon] (n, exp) EN: magic number FR: nombre magique [ m ] | เลขลำดับ | [lēk lamdap] (n, exp) EN: ordinal number FR: nombre ordinal [ m ] | เลขหมาย | [lēkmāi] (n) EN: number FR: nombre [ m ] | เลขมัค | [lēk Mak] (n, exp) EN: Mach number FR: nombre de Mach [ m ] | เลขมวล | [lēk mūan] (n, exp) EN: atomic mass ; mass number FR: masse atomique [ f ] | เลขหน้า | [lēk nā] (n, exp) EN: page number FR: numéro de page [ m ] | เลขออกซิเดชัน | [lēk øksidēchan] (n, exp) EN: oxidation number | เลขประจำตัว | [lēk prajamtūa] (n, exp) EN: identification number ; Personal Identification Number (PIN) ; number FR: numéro d'identification [ m ] |
| memory stick | (n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory | PDA | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้, See also: Palm, Visor, Handheld, PocketPC | oxidizing agent | (n) ตัวเติมออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ได้รับอิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันลดลง, See also: A. reducing agent | reducing agent | (n) ตัวลดออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ให้อิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น, See also: A. oxidizing agent | sevenish | ราวๆหนึ่งทุ่ม เช่น I'll call for you at sevenish. ฉันจะแวะไปรับเธอช่วงหนึ่งทุ่ม (การเติม -ish ตามหลังตัวเลขบอกเวลา หมายความว่า โดยประมาณ, ราวๆเวลานั้น), Syn. about 7 o'clock | article number | (n) รหัสสินค้าที่มักแสดงเป็นบาร์โค้ด ซึ่งสามารถถูกอ่านเป็นตัวเลขและข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ | umpteenth | (adj) จำนวนมาก (แต่ไม่ได้บอกตัวเลขเจาะจง)เช่น AsiaNews interviewed the wife of one of them: the story of the umpteenth victim of this unjust law features years of threats by Islamic fundamentalists.; I woke up around 4am for an umpteenth potty trip and then couldn't get back to sleep. So I ended up getting up around 5:30 and eating a piece of cake. | RWY | (abbrev) อักษรย่อของ runway ทางวิ่งของเครื่องบิน โดยทั่วไปแล้วจะมีตัวเลข 2 หลักแสดงต่อทางด้านหลังเพื่อแสดงทิศที่มุ่งไป, See also: TWY | DEM | (n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น | telegraphic transfer | (n) การโอนเงินโดยทางโทรเลข เช่น When you wish to make a payment from your account whether by Telegraphic Transfer or by Currency Draft you will need to visit an Abbey branch., Syn. wire transfer |
| adder | (n) เครื่องคิดเลข, Syn. adding machine | adding machine | (n) เครื่องบวกเลข, Syn. adder | albatross | (n) นกทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งตระกูล Diomedeidae | amanuensis | (n) เลขานุการ, Syn. secretary | arithmetic | (adj) เกี่ยวกับเลขคณิต, Syn. arithmetical, mathematical | arithmetical | (adj) เกี่ยวกับเลขคณิต, Syn. arithmetic, mathematical | binary | (n) ทวิภาค, See also: ระบบฐานสอง, เลขคู่, เลขฐานสอง | cable | (n) โทรเลข, Syn. telegram | cable | (vi) ส่งโทรเลข | cable | (vt) ส่งโทรเลข | calculator | (n) เครื่องคิดเลข, Syn. adding machine, calculating machine | call number | (n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด | card | (n) บัตรที่บรรจุข้อมูลทางตัวเลขหรือการเงิน, See also: บัตรที่บรรจุข้อมูลทางตัวเลขหรือการเงิน เช่น บัตรเอทีเอ็ม บัตรเติมเงินสำหรับโทรศัพท์ บั | combination lock | (n) กุญแจที่เปิดด้วยรหัสตัวเลข | cast up | (phrv) คำนวณ, See also: รวมเป็น, รวมตัวเลข, Syn. wash up | D | (n) พยัญชนะตัวภาษาอังกฤษที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน | d | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน | data | (n) ข้อมูล, See also: ตัวเลข, สถิติ, Syn. information, facts | decimal | (n) เลขทศนิยม, Syn. decimal number | denominator | (n) ตัวหาร, See also: จำนวนส่วนในเลขเศษส่วน, Syn. numerator | digit | (n) ตัวเลข (0 ถึง 9), See also: จำนวน 0 ถึง 9, Syn. numerical, figure | digital | (adj) ซึ่งรับส่งข้อมูลด้วยการใช้ตัวเลข, Syn. computerized, numerical | divisor | (n) ตัวหาร, See also: เลขหาร, Syn. coefficient, dividend, aliquot | eight | (n) เลขแปด, See also: จำนวนแปด, แปด | eighteen | (n) จำนวนสิบแปด, See also: เลขสิบแปด, สิบแปด | eighty | (n) เลขแปดสิบ, See also: แปดสิบ, จำนวนแปดสิบ | eleven | (n) เลขสิบเอ็ด, See also: จำนวนสิบเอ็ด | even | (adj) (เลข) คู่ | even number | (n) จำนวนคู่, See also: เลขคู่ | exponent | (n) เลขชี้กำลัง | fifteen | (n) จำนวนสิบห้า, See also: เลขสิบห้า | fifty | (n) จำนวนห้าสิบ, See also: เลขห้าสิบ | fifty | (n) จำนวนห้าสิบ, See also: เลขห้าสิบ | figure | (n) ตัวเลข, See also: จำนวนเลข, จำนวนเต็ม, Syn. amount, numeral, value | five | (n) ห้า, See also: จำนวนห้า, เลขห้า | fourscore | (adj) จำนวน 80 (คำโบราณ), See also: เลข 80, Syn. eighty | fraction | (n) เลขเศษส่วน, See also: จำนวนเล็กน้อย, เศษ, การแตกออกเป็นเศษ | gannet | (n) นกทะเลขนาดใหญ่มีจงอยปากยาวใช้จับปลากิน, Syn. pelican, shak | identification number | (n) เลขประจำตัว | junk | (n) เรือสำเภา, See also: เรือเดินทะเลของจีน | line | (n) สายโทรศัพท์, See also: สายโทรเลข | lobster | (n) กุ้งทะเลขนาดใหญ่ | mantissa | (n) ตัวเลขด้านขวาของจุดใน logarithm ฐานสิบ | mass number | (n) เลขบอกมวล | math | (n) คณิตศาสตร์ (คำเรียกย่อของวิชาคณิตศาสตร์), See also: เลข, Syn. mathematics | mathematics | (n) คณิตศาสตร์, See also: เลข, เลขคณิต, วิชาคำนวณ, Syn. math | million | (adj) หนึ่งล้าน (หรือจำนวนหนึ่งล้านที่เป็นตัวเลข) | multiplicand | (n) เลขที่ถูกคูณ | nine | (n) เลขเก้า | nineteen | (pron) เลขสิบเก้า, See also: สิบเก้า |
| a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ | addend | (แอด' เดนดฺ) n. เลขหรือจำนวนที่บวกเข้าด้วยกัน | adding machine | เครื่องบวกเลข | aegir | (อี' เจอะ) n. ชื่อเทพเจ้าทะเลของกรีก | aerogram | (me) (แอ' โรแกรม) n. จดหมายทางอากาศ, โทรเลขทางอากาศ | albatross | (แอล' บะทรอส. -โทรส) นกทะเลขนาดใหญ่ที่สุดจำพวก Diomedeidae | algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. | alphabetic character | ตัวอักษรหมายถึงตัวอักขระที่เป็นตัวอักษร เช่น A-Z หรือ ก-ฮ (ไม่รวมตัวเลข หรือหรือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายพิเศษต่าง ๆ) มีความหมายเหมือน alphabet | alphameric | อักขระที่เป็นตัวเลขอักษรเลขหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข | alphanumeric characters | หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข | amanuensis | (อะแมนนูเอน' ซิส) n., (pl. -ses) เลขานุการ, เจ้าหน้าที่คัดลอกหรือจดตามคำบอกหรือจดชวเลข (secretary) | analog | (แอน' นะลอก) n. = analogue อะนาล็อก เชิงอุปมานหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็วของรถยนต์จากการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิตอล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างอะนาล็อกและดิจิตอลได้ชัดเจน กล่าวคือ แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบอะนาล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดอะนาล็อกและชนิดดิจิตอล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิตอล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นอะนาล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิตอลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียกว่า "โมเด็ม" ดู digital เปรียบเทียบ | analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ | analogue | (แอน' นะลอก) n. ของที่คล้ายกัน, ค่าที่มีความต่อเนื่องกันโดยตลอด, เชิงอุปมาน หมายถึง การแทนปริมาณแดสงจำนวนโดยการวัดในลักษณะต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น ความเร็วของรถยนต์ ซึ่งวัดได้จากความเร็วของการหมุนของวงล้ออาจจะแทนได้ด้วยจำนวนเลข ดู digital เปรียบเทียบ | ansi character set | ชุดตัวอักขระของแอนซีหมายถึง การกำหนดตัวอักขระต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์ใช้ ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ โดยปกติจะประกอบด้วยตัวอักษรธรรมดาซึ่งมีอยู่ 26 ตัว (A-Z) และตัวเลข 10 ตัว (0-9) และยังมีสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ เช่น % | antilogarithm | (แอนทีลอก' กะริธึม) n. ตัวเลขที่มีเลขที่กำหนดให้เป็น logarithm. -antilogarithmic adj. | arabic numerals | เลข 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 0., Syn. Arabic figures | area code | เลขหน่วยที่หมายถึงเขตโทรศัพท์ของส่วนต่าง ๆ ของประเทศ | arithmancy | (อา'ริธแมนซี) n. การทำนายด้วยตัวเลข, Syn. arithmomancy | arithmetic | (อะริธ'เมททิค) n. เลขคณิต, หนังสือเกี่ยวกับเลขคณิต. -adj. เกี่ยวกับเลขคณิต | arithmetic mean | ค่าเฉลี่ยที่ได้จากการหารผลรวมของเลขด้วยจำนวนเลขเหล่านั้น, ค่าเฉลี่ย | arithmetician | (อะริธมีทิช'เชิน) n. ผู้ชำนาญเลขคณิต (expert in arithmetic) | arithmometer | (อะริธมอม'มิเทอะ) n. เครื่องคิดเลข, เครื่องคำนวณ | artio- | (คำเสริมหน้า) มีความหมายว่า "เลขคู่" | artiodactyl | (อาร์ทีโอแดค'ทิล) adj. มีนิ้วมือ (เท้า) เป็นเลขคู่. -n. สัตว์มีกีบจำพวก Artiodactyla เช่นหมู่ อูฐ แพะ แกะ วัว ควาย. -artiodactylous adj. (hoofed) | ascii | คำย่อ American Standard code For Information Interchange, รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศนี้ เป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้กับคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่ใช้เลขฐานสอง รหัสแอสกี, รหัสมาตรฐาน ใช้แทนอักขระด้วย 7 บิต (ถ้ารวม parity check ด้วยจะเป็น 8 บิต) | at | (เอที) เป็นคำย่อที่บริษัทไอบีเอ็มนำมาใช้แทนคำว่า advanced technology ซึ่งแปลว่า เทคโนโลยีขั้นสูงนั่นเอง เมื่อสมัยที่ไอบีเอ็มผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ชุดใหม่ที่ใช้ชิปหมายเลข 80286 ได้ตั้งชื่อคอมพิวเตอร์ที่ออกสู่ตลาดรุ่นนั้นว่า " IBM AT " | at & t | (เอที แอนด์ ที) ย่อมาจาก American Telephone and Telegraph หมายถึง บริษัทโทรศัพท์และโทรเลขของอเมริกา งานของบริษัทนี้มาเกี่ยวกับวงการคอมพิวเตอร์ก็ตรงที่คอมพิวเตอร์สมัยนี้ส่งข้อมูลและข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน โดยใช้สายโทรศัพท์เป็นสื่อ (ส่วนใหญ่เป็นการเกี่ยวข้องทางด้านการสื่อสารข้อมูล) | autocoder | (ออโทโค'เดอะ) n. เครื่องคิดเลขหรือเรียงเลขที่อัตโนมัติ (automatic coder) | base address | หมายถึง ตำแหน่งเริ่มต้นที่ใช้เพื่อการคำนวณหาเลขที่อยู่ (address) ในแหล่งเก็บข้อมูล จากเลขที่อยู่สัมพัทธ์ (relative address) | base number | เลขฐานหมายถึง จำนวนสัญลักษณ์ที่ ใช้บอกว่าเลขในระบบนั้น ๆ ว่ามีสัญลักษณ์โดด ๆ กี่ตัว เช่น ระบบฐานสิบมีสัญลักษณ์ 10 ตัว ระบบฐานสิบหกมีสัญลักษณ์ 16 ตัว เป็นต้น ในการเขียน มักจะต้องบอกฐานกำกับไว้ด้วยเสมอ | bcd | (บีซีดี) ย่อมาจาก binary coded decimal ถ้าแปลตรง ๆ ก็คือ เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง เป็นเทคนิคที่ใช้ใน การเขียนโปรแกรมเพื่อประกันความแม่นตรงของการคำนวณ โปรแกรมประเภท ตารางจัดการ (spreadsheet) มักใช้เทคนิคนี้ | bin | (บิน) 1. ถัง, ลัง { binned, binning, bins } vt. ใส่ในถังหรือลัง 2. ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มที่บรรจุข้อมูล ที่เป็นเลขฐานสอง (binary) เช่น prog.bin | binary | (ไบ'นะรี) adj. เกี่ยวกับหรือมีคู่, เกี่ยวกับ 2, ซ้ำสอง n. 2 คู่, เลขคู่, ระบบฐานสอง หมายถึง ระบบเลขฐานสอง ที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสจะเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น เปิดกับปิด, ใช่กับไม่ใช่ | binary code | รหัสฐานสองหมายถึง การใช้รหัสเลขฐานสองแทนตัวอักษร ตัวเลข และตัวอักขระ พิเศษต่าง ๆ โดยใช้เพียงเลข 0 และ 1 รหัสที่นิยมใช้กันอยู่มีหลายรหัสเช่น เอ็บซีดิก (EBCDIC) , แอสกี (ASCII) , บีซีดี (BCD) คอมพิวเตอร์ของแต่ละบริษัทจะเลือกใช้รหัสหนึ่งในการแทนข้อมูล | binary coded decimal | เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานของ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BCD หมายถึงรหัสที่ใช้แทนเลขฐาน ซึ่งกำหนดให้เลขฐานสิบแต่ละตัวแทนด้วยเลขฐานสอง 4 บิต ตัวอย่าง เช่น เลข 17 ในฐานสิบ เขียนเป็นเลขฐานสองว่า 0001 0111 โดยที่เลขหลักของบิตจากซ้ายไปขวา เป็นลำดับเพิ่มตามสูตร 8-4-2-1 เลข 17 ที่เป็นฐานสิบ เมื่อแสดงในรูปเลขฐานสองธรรมดาจะเป็น 10001 | binary digit | เลขโดดฐานสองเรียกย่อ ๆ ว่า bit หมายถึง ตำแหน่งหนึ่งในเลขฐานสอง ซึ่งเป็นได้ 2 ค่า คือ 0 กับ 1 ใช้แทนค่าต่าง ๆ บิตเป็นหน่วยเล็กที่สุดของการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ในการเก็บค่า เรานำบิตมาจัดเป็นกลุ่ม ๆ ละ 6-7-8 บิต เพื่อใช้เป็นรหัสแทนตัวอักขระต่าง ๆ ดู bit ประกอบ | binary number system | ระบบเลขฐานสอง <คำแปล>ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์) เปิด และ ปิด | bit | (บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ | boolean logic | ตรรกะแบบบูลหมายถึง ค่า"จริง" (True) หรือ "ไม่จริง " (False) ใช้มากในการเขียนโปรแกรม เป็นหลัก พิชคณิต ที่ตั้งตามชื่อของผู้คิด คือ ยอร์ช บูล (George Boole) หลักทั่วไปคล้ายพิชคณิต ธรรมดา แต่ใช้ระบบเลขฐานสอง | bullet | (บูล'ลิท) { bulletted, bulletting, bullets } n. กระสุนปืน, กระสุน, หัวกระสุน, ลูกตะกั่ว, ลูกกลม เล็ก. vi. เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วมาก, Syn. shot เครื่องหมายนำสายตา จุดนำหมายถึงสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ที่นำมาวางหน้าข้อความ หรือหัวข้อเพื่อเน้นให้ดูเด่นหรือเห็นชัดขึ้นเช่น* ตัวอักษร* ตัวเลข* เครื่องหมายต่าง ๆ | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | cable | (เค'เบิล) { cabled, cabling, cables } n. เชือกขนาดใหญ่, สายเคเบิล, สายโซ่สมอเรือ, สายโทรเลขใต้น้ำ, โทรเลข. -v. ส่งโทรเลข, มัดหรือผูกด้วยเชือกขนาดใหญ่ | call number | n. หมายเลขหิ้งหนังสือ | card punch | อุปกรณ์เจาะบัตรหมายถึง อุปกรณ์แสดงผล (output device) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องเจาะบัตร หรือ เครื่องที่ใช้บันทึกข้อความลงบนบัตรด้วยการเจาะรู ซึ่งเป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษอื่น ๆ ต่างกับเครื่องเจาะบัตรที่เรียกว่า keypunch กล่าวคือ keypunch เป็นเครื่องเจาะบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ (คนเป็นผู้เจาะ) แต่ card punch เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ดู keypunch เปรียบเทียบ | card sorter | เครื่องเรียงบัตร <คำแปล>หมายถึง เครื่องจักรที่ใช้สำหรับเรียงลำดับบัตรที่มีข้อมูลเจาะไว้แล้ว เครื่องนี้จะสามารถอ่านข้อมูลบนบัตรแล้วจัดการเรียงลำดับให้ เช่น ถ้าเป็นจำนวนเลข ก็จะเรียงจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย หรือถ้าเป็นตัวอักษร อาจเรียงตามลำดับตัวอักษรให้ก็ได้ | cardamom | n. กระวานคอลัมน์ (ของบัตร) สดมภ์ (ของบัตร) หมายถึง คอลัมน์หรือตำแหน่งเจาะตามแนวตั้งของบัตร บัตรทั่วไปจะมี 80 คอลัมน์ ในการเจาะแต่ละคอลัมน์นั้น ถ้าเจาะรูเดียว จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวเลข ถ้าเจาะ 2 รูในหนึ่งคอลัมน์จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวอักษร ถ้าเจาะ 1-3 รู อาจเป็นเครื่องหมายบางตัว เช่น + (บวก) - (ลบ) ฯลฯดู Hollerith code ประกอบ | cardinal number | n. ตัวเลขแสดงจำนวนเช่น1, 2, 3, Syn. cardinal numeral -Conf. ordinal number | carry | (แค'รี) { carries, carrying, carries } vt. ขนส่ง, แบก, ลำเลียง, หอบ, หาบ, อุ้ม, ยก, ถือติดตัว, นำติดตัว, นำไปสู่, สะพาย, บรรทุก, ส่ง, แพร่กระจาย, ออกข่าว, ประกอบด้วย, สนับสนุน, ค้ำจุน, ผลักดัน, ยืดได้, รับภาระ, วางตัว, ปฏิบัติ, ยกยอด, โอน, มีไว้ในร้าน. vi. ถือติดตัว, มีกำลังดัน, ดัน, ถู เลขทดตัวทดหมายถึง ค่าที่เกิดจากการบวกตัวเลขตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปในหลักเดียวกัน แล้วได้ผลมากกว่าหรือเท่ากับเลขฐาน ซึ่งจะนำไปบวกกับเลขในหลักถัดไป | chancellery | (ชาน'ชะเลอรี) n. ตำแหน่งเสนาบดี, สำนักงานเสนาบดี, รัฐมนตรี, ตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของบางประเทศ, สถานเอกอัครราชฑูต, สถานกงสุลใหญ่, เจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถานเอกอัครราชฑูต (หรือกงสุล) , เลขานุการเอกอัครราชทูต (หรือกงสุล) , นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ) , ตุลาการใหญ่ของบางประเ |
| autocoder | (n) เครื่องคิดเลขอัตโนมัติ, เครื่องเรียงเลขอัตโนมัติ | binary | (n) สอง, เลขคู่, คู่ | cable | (n) สายโทรเลขข้ามทะเล, สายเคเบิล, เชือกพวน | cable | (vt) ส่งโทรเลขข้ามทะเล, มัดด้วยเชือก | cablegram | (n) โทรเลขข้ามทะเล | calculate | (vt) คิดเลข, คำนวณ, คาดคะเน | calculation | (n) การคำนวณ, การคิดเลข, การคาดคะเน | calculator | (n) เครื่องคำนวณ, เครื่องคิดเลข | chancellor | (n) อธิการบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, เลขานุการสถานทูตน | cipher | (vt) คิดเลข, ทำเป็นรหัส, เขียนเป็นรหัส | coefficient | (n) ค่าคงที่, ตัวเลข, ตัวคูณ, อัตรา | cypher | (n) เลขศูนย์, รหัส | cypher | (vt) คิดเลข, คำนวณ, เขียนรหัส | data | (n) ข้อมูล, ตัวเลข, สถิติ, สิ่งที่รู้ | datum | (n) ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข, สิ่งที่รู้ | digit | (n) นิ้วมือ, นิ้วเท้า, เลขโดด | digital | (adj) เกี่ยวกับนิ้ว, เกี่ยวกับตัวเลข | divisor | (n) ตัวหาร, เลขหาร | eight | (n) แปด, เลขแปด, จำนวนแปด, ไพ่รูปแปด | figure | (n) ตัวเลข, สถิติ, ภาพ, วิธีพูด, เครื่องหมาย, จำนวน, รูปร่าง, รูปสลัก, รูปหล่อ | five | (n) ห้า, เลขห้า, จำนวนห้า | folio | (n) หนังสือหน้ายกใหญ่, เลขหน้าหนังสือ | four | (n) สี่, เลขสี่, เครื่องยนตร์สี่สูบ | most | (n) คนส่วนใหญ่, เลขสูงสุด, จำนวนที่มากที่สุด | nine | (n) เลขเก้า | number | (n) จำนวน, ตัวเลข, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย, เลขที่, เลขประจำตัว | number | (vt) นับ, หาจำนวน, แบ่ง, คิดเลข | numeral | (adj) เกี่ยวกับตัวเลข | numeral | (n) จำนวนนับ, ตัวเลข | numerate | (vt) นับจำนวน, คิดเลข | numerical | (adj) เป็นตัวเลข, เกี่ยวกับตัวเลข | problem | (n) ปัญหา, โจทย์เลข, หมากกล | reciprocal | (n) การแลกเปลี่ยนกัน, เลขที่กลับกัน | secretarial | (adj) เกี่ยวกับงานเลขานุการ, เกี่ยวกับเลขานุการ | secretary | (n) เลขาธิการ, เลขานุการ, รัฐมนตรี, โต๊ะเขียนหนังสือ | shorthand | (n) การจดชวเลข | statistical | (adj) เกี่ยวกับตัวเลข, เกี่ยวกับสถิติ, ที่อาศัยข้อมูล | statistics | (n) ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข | stenograph | (n) ชวเลข | stenograph | (vi) จดชวเลข | stenographer | (n) คนจดชวเลข, นักชวเลข | stenographic | (adj) เกี่ยวกับชวเลข | stenography | (n) การจดชวเลข | sum | (n) จำนวนเงิน, ผลบวก, ยอดรวม, ข้อสรุป, โจทย์เลข | telegram | (n) โทรเลข | telegraph | (n) เครื่องส่งโทรเลข, เครื่องส่งสัญญาณทางไกล | telegraph | (vi) ส่งโทรเลข, ส่งสัญญาณทางไกล | thirteen | (n) สิบสาม, จำนวนสิบสาม, เลขสิบสาม | thirty | (n) เลขสามสิบ, จำนวนสามสิบ | transmitter | (n) เครื่องส่ง, โทรเลข, สื่อ, ผู้แพร่เชื้อ, เครื่องกระจายเสียง |
| Assumption College Sriracha | [-] (name) โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 10 ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-311055-6 | BBier | [บีบี'เออร์] (n) นักพกบีบี, สิ่งมีชีวิตที่มีชื่อจริง และนามสกุลเป็นรหัสอักษรและเลข8ตัว | calzera | [คัล-ซี-ร่า] (name, uniq) ชื่อนามแฝงของ เด็กไทย ที่ในยุคปัจจุบัน การใช้นามแฝงในลักษณะ คำที่สั้นๆไม่จำเป็นต้องมีความหมาย แต่พิมพ์ง่ายจำง่ายและดูดี เพราะในการสมัครไม่ต้องพิมพ์ _(underscore)หรือใช้ตัวเลขแปลกๆมาต่อท้ายเพื่อให้ unique ถิ่นฐาน:codename นี้มีถิ่นฐานอยู่ใน cp32 บริเวณที่พบบ่อย: เว็ปบอร์ดการ์ตูน และในเกมออนไลน์ รวมถึงบอร์ดรุ่น cp32 | change of address | (phrase) เปลี่ยนแปรงที่อยู่, เปลี่ยนแปรงเลขที่บ้านใหม่ | citizen identity number | (n) เลขประจำตัวประชาชน, Syn. people identity number | COVID | เชื้อไวรัสโคโรนา (Corona virus) โดย CO ย่อมากจาก Corona (ชื่อของเชื้อไวรัส), VI ย่อมาจาก Virus, และ D ย่อมาจาก disease แปลว่า โรคหรือเชื้อโรค ในปี พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ เป็นที่เรียกกันในช่วงแรกว่า 2019 novel coronavirus (แปลว่า เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019) หรือ 2019-nCoV ต่อมาเป็นที่นิยมเรียกในชื่อ COVID-19 โดยตัวเลข 19 มาจากปี ค.ศ. 2019 ที่ไวรัสเริ่มมีการระบาดนั่นเอง | Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) | double figures | (n) เลขสองหลัก | geschäftsnummer | (n) เลขที่อ้างอิง | indices | (n) เลขยกกำลัง, Syn. power numbers | infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network | QoQ | (abbrev) ย่อมาจาก Quarter on Quarter เป็นการเปรียบเทียบตัวเลขรายไตรมาสของไตรมาสล่าสุดกับไตรมาสก่อนหน้า | quantification | การทำให้เป็นตัวเลข | reference number | (n, phrase) หมายเลขอ้างอิง | subtracter | (n) ชิ้นส่วน/วงจรที่ใช้ในการลบเลข | telecommunications | (n) การสื่อสารทางไกลโดยใช้โทรศัพท์ เคเบิล โทรทัศน์ วิทยุและโทรเลข | the Cabinet Secretary-General | เลขาธิการคณะรัฐมนตรี | United Nations Secretariat | (org) สำนักเลขาธิการสหประชาชาติ | YoY | (abbrev) ย่อมาจาก Year on Year เป็นการเปรียบเทียบตัวเลขรายไตรมาสในช่วงเวลาเดียวกันแต่คนละปี |
| 偶数 | [ぐうすう, guusuu] (n) เลขคู่, Ant. 奇数 | 奇数 | [きすう, kisuu] (n) เลขคี่, Ant. 偶数 | 小数 | [しょうすう, shousuu] (n) เลขทศนิยม, See also: 有限小数, 循環小数 | 幹事長 | [かんじちょう, kanjichou] (n) เลขาธิการ(พรรคการเมือง) | 暗証番号 | [あんしょうばんごう, anshoubangou] (n) เลขรหัสผ่าน, เลข P.I.N | 秘書 | [ひしょ, hisho] (vt) เลขานุการ | 電卓 | [でんたく, dentaku] (n) เครื่องคิดเลข | 電報 | [でんぽう, denpou] (n) โทรเลข |
| 補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 | 進数 | [しんすう, shinsuu] เลขฐาน เช่น เลขฐานสิบ 10進数 じゅうしんすう<br> เลขฐานสอง 2進数 にしんすう | 電信為替 | [でんしんかわせ, denshinkawase] (n) การโอนเงินโดยโทรเลข | 追番 | [おいばん, oiban] (n) เลขเรียงลำดับ | 統計 | [とうけい, toukei] (n) สถิติ, ข้อมูล, ข้อเท็จจริงเป็นตัวเลข, S. numerical fact, datum | 際 | [さい, sai, sai , sai] (n) อายุ (เขียนต่อท้ายตัวเลข เพื่อแสดงอายุ) | 番号 | [ばんごう, bangou] (n) หมายเลข (หมายเลขโทรศัพท์, หมายเลขเขียนต่อท้ายคำหรือประโยค) | 文書番号 | [ぶんしょばんごう, bunshobangou] (n) เลขที่หนังสือ | 電話番号 | [でんわばんごう, denwabangou] หมายเลขโทรศัพท์ |
| 数 | [すう, suu] TH: ตัวเลข EN: figure | 番号 | [ばんごう, bangou] TH: หมายเลข EN: number | 秘書 | [ひしょ, hisho] TH: เลขานุการที่ช่วยงานผู้บริหาร EN: (private) secretary | 号 | [ごう, gou] TH: หมายเลข EN: number | 足す | [たす, tasu] TH: บวก(เลข) EN: to add (numbers) |
| Zahl | (n) |die, pl. Zahlen|จำนวน, ตัวเลข | zahlen | (vi, vt) ชำระเงิน, นับ, นับเลข | neun | เก้า (เลข) | sechs | หก (เลข) | Zwölf | (n) |die, pl. Zwölfen| หมายเลขสิบสอง | Zahl | (n) |die, pl. Zahlen| ตัวเลข, See also: Ziffer | Elf | (n) |die, pl. Elfen| หมายเลขสิบเอ็ด หรือถ้าเป็นเอกพจน์หมายถึงทีมฟุตบอล หรือนักฟุตบอลหมายเลขสิบเอ็ด | unterbelichtet | (adj, slang) ไม่ถนัด หรือ ไม่เก่ง ตัวอย่างการใช้คำ In Mathe bin ich unterbelichtet. = ผมไม่ถนัดวิชาเลข | Potenzzahl | (n) |die, pl. Potenzzahlen| เลขยกกำลัง, See also: A. Die Wurzelzahl | Wurzelzahl | (n) |die, pl. Wurzelzahlen| เลขราก, See also: A. die Potenzzahl | eins | เลขหนึ่ง | Kontonummer | (n) |die, pl. Kontonummern| เลขที่บัญชีธนาคาร | Nummernschild | (n) |der, pl. Nummernschilder| ป้ายหมายเลขรถยนต์, ป้ายทะเบียนรถยนต์ | Taschenrechner | (n) |der, pl. Taschenrechner| เครื่องคิดเลข | Computertomografie | (n) |die, pl. Computertomografien| วิธีการสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพตัดขวางของส่วนของร่างกายออกมาเป็นดิจิตัลหรือตัวเลข |
| RIB | (n, abbrev) (relevé d'identité bancaire) ใบแสดงรายละเอียดเกี่ยวับบัญชีธนาคาร มีระบุหมายเลขบัญชี ชื่อผู้เปิดบัญชี หมายเลขสาขา เป็นต้น เช่น Vous recevrez un fax de confirmation d’ouverture avec un RIB (Relevé d’Identité Bancaire)., Depuis les années 1970, c'est le R.I.B. (Relevé d'Identité Bancaire) qui a été utilisé pour traiter les opérations bancaires domestiques. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |