ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ให้ได้, -ให้ได้- |
ฮุม | (vt) รวมตัวกันมากดราคาเพื่อซื้อสินค้าให้ได้แบบราคาถูก ใช้กับพวกพ่อค้า |
|
| ให้จงได้, ให้ได้ | ว. คำประกอบท้ายกิริยา แสดงความหมายบอกการกำชับกำชาหรือความตั้งใจแน่นอน เช่น งานคืนสู่เหย้าปีนี้อย่าขาด มาให้จงได้ เขาจะไปให้ได้ ห้ามเท่าไรก็ไม่ฟัง. | กระซิบกระซาบ | ก. บอกความหรือคุยกันด้วยเสียงเบา ๆ เพื่อให้ได้ยินเฉพาะผู้ที่พูดด้วย. | กระเซ้ากระซี้ | ก. พูดรบเร้ารํ่าไรเพื่อให้ได้ตามที่ต้องการ, เซ้าซี้ ก็ว่า. | กระเย้อกระแหย่ง | (-แหฺย่ง) ก. ขะเย้อแขย่ง, เขย่งแล้วเขย่งอีก, โดยปริยายหมายความว่า พยายามจะให้ได้สิ่งที่สุดเอื้อม. | กัมมันตภาพรังสี | (กำมันตะ-) น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน. | กินเปล่า | (-เปฺล่า) น. เรียกเงิน ทรัพย์สิน หรือสิ่งอื่น ๆ ที่เสียไป เพื่อให้ได้สิทธิตามที่ตกลงกัน ว่า เงินกินเปล่า. | แก้ ๒ | เอากลับคืนมาให้ได้ เช่น ไปตีแก้เอาเมืองคืน. | แก้ทาง | ก. ปรับหรือเปลี่ยนวิธีเพื่อให้ได้เปรียบคู่ต่อสู้หรือฝ่ายตรงข้าม. | ขมเป็นยา | น. คำติมักเป็นประโยชน์ทำให้ได้คิด, มักใช้เข้าคู่กับ หวานเป็นลม ว่า หวานเป็นลม ขมเป็นยา. | ขยุ้ม | (ขะยุ่ม) ก. เอาปลายนิ้วทั้ง ๕ หยิบรวบขึ้นมาเพื่อให้ได้มาก, โดยปริยายใช้ในอาการอย่างนั้น เช่น แมงมุมขยุ้มหลังคา. | เข้าหู | ก. มาให้ได้ยิน (ใช้สำหรับเรื่องราวหรือข่าวคราว) เช่น เรื่องนี้เข้าหูฉันบ่อย ๆ. | ค้นหา | ก. หาอย่างละเอียดถี่ถ้วน เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ เช่น ตำรวจค้นหาหลักฐานเกี่ยวกับคดีฆาตกรรม. | ค่าน้ำร้อนน้ำชา | น. เงินสินบนที่จ่ายให้เจ้าหน้าที่เพื่อให้ได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่องานหรือขอรับบริการ. | เค็ม | โดยปริยายหมายความว่า พยายามให้ได้ประโยชน์มากกว่า. | เคี่ยวเข็ญ | ก. บีบบังคับ, บีบคั้นให้ได้รับความลำบาก เช่น เคี่ยวเข็ญเย็นค่ำกรำไป ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนาย (พระราชนิพนธ์ ร. ๖) | แค่นแคะ, แค่นไค้ | ก. เฟ้นหาความชั่วขึ้นมากล่าว, เซ้าซี้จะให้ได้สมประสงค์. | ฆ่าช้างเอางา | ก. ทำลายของใหญ่เพื่อให้ได้ของเล็กน้อยซึ่งไม่คุ้มค่ากัน. | เงินกินเปล่า | น. เงิน ทรัพย์สิน หรือสิ่งอื่น ๆ ที่เสียไป เพื่อให้ได้สิทธิตามที่ตกลงกัน. | เงี่ยหู | ก. เอียงหูฟังเพื่อให้ได้ยินถนัด, ตั้งใจฟัง. | จก | เอาตัวมา เช่น คุณต้องไปจกตัวเขามาให้ได้. | จองล้างจองผลาญ | ก. ผูกใจเจ็บคิดจะทำการแก้แค้นให้ได้. | จัดมั่น | ก. ทำให้ได้โดยมั่นคง. | จับตาย | ก. จับตัวมาให้ได้แม้ว่าจะต้องทำให้ตาย. | จับปลาสองมือ | ก. หมายจะเอาให้ได้ทั้ง ๒ อย่าง, เสี่ยงทำการ ๒ อย่างพร้อม ๆ กัน ซึ่งอาจไม่สำเร็จทั้ง ๒ อย่าง. | จับเป็น | ก. จับตัวมาให้ได้โดยไม่ทำให้ตาย. | จำเนียน | ก. ตัด ขริบ หรือเฉือนให้ไปตามแนวหรือให้ได้รูปตามที่ต้องการ. (แผลงมาจาก เจียน). | เจียน ๑ | ก. ตัด ขริบ หรือเฉือนให้ไปตามแนวหรือให้ได้รูปตามที่ต้องการ เช่น เจียนพลู เจียนใบตอง. | ฉีกหน้า | ก. ทำให้ได้รับความอับอาย. | ชักแม่น้ำทั้งห้า | ก. พูดจาหว่านล้อมยกเหตุผลต่าง ๆ เพื่อโน้มน้าวให้ได้สิ่งที่ประสงค์ เช่น เถ้าก็พูดจาหว่านล้อมด้วยคำยอ ชักเอาแม่นํ้าทั้งห้าเข้ามาล่อ (ม. ร่ายยาว กุมาร). | ซักฟอก ๒ | ก. ซักถามให้ได้ความจะแจ้ง. | เซ้าซี้ | ก. พูดรบเร้ารํ่าไรเพื่อให้ได้ตามที่ต้องการ, กระเซ้ากระซี้ ก็ว่า. | ตะโกน | ก. ออกเสียงดังกว่าปรกติเพื่อให้ได้ยิน. | ตะลุย | ก. เคลื่อนที่เข้าตีหรือบุกดะเข้าไปโดยไม่หยุด เช่น กองทัพตะลุยแดนข้าศึก, ทำอย่างเร่งรีบเพื่อให้ได้มากที่สุด เช่น ตะลุยทำงานให้เสร็จ | ตะลุย | อาการที่ทำอย่างเร่งรีบเพื่อให้ได้มากที่สุด เช่น อ่านหนังสือตะลุย. | ตั้งอกตั้งใจ | ก. เอาใจจดจ่อ, มุ่งมั่นที่จะทำให้ได้ดั่งใจ. | ตี่ ๑ | น. การเล่นอย่างหนึ่งของเด็ก ไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น โดยขีดเส้นแบ่งเขตระหว่างผู้เล่น ๒ ฝ่าย และจำกัดเขตด้านกว้างและด้านหลังด้วย ผู้เล่นแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย จำนวนเท่า ๆ กัน คนตี่จะวิ่งออกจากเส้นแบ่งเขตโดยกลั้นใจร้องเสียง “ตี่” ตลอดเวลาที่เข้าไปอยู่ในเขตตรงข้าม พยายามใช้มือฟันฝ่ายตรงข้ามให้มากที่สุด และพยายามวิ่งกลับเข้าเขตของตนให้ได้ ฝ่ายตรงข้ามก็ต้องพยายามไม่ให้ถูกฟัน และหาโอกาสจับคนตี่ไว้มิให้กลับไปได้, ตี่จับ หรือ ตี่เสียง ก็เรียก. | ตื๊อ | ก. รบเร้าจะเอาให้ได้, เซ้าซี้รบกวนรํ่าไป. | เตะจมูก | ก. โชยมาให้ได้กลิ่นอย่างแรง. | เต๊าะ | ก. พูดหรือแสดงอาการเลียบเคียงให้พอใจเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ เช่น วันนี้เต๊าะเงินจากพี่มาได้ ๒๐๐ บาท. | เตือนสติ | ก. เตือนให้รู้ตัว, เตือนให้ได้สติ. | ถาม | ก. ตั้งปัญหาหรือประเด็นเพื่อให้ได้คำตอบ. | ถูลู่ถูกัง | ก. อาการที่ลาก ดึง หรือฉุดไปให้ได้โดยไม่ปรานีปราศรัย เช่น ฉุดให้เขาไปด้วย เขาไม่ไป เลยลากถูลู่ถูกังกันไป | ทักขิโณทก | น. นํ้าที่หลั่งในเวลาทำบุญทำทานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้าที่หลั่งลงให้แทนสิ่งของซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ อย่างวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น. | ทักษิโณทก | น. นํ้าที่หลั่งการบำเพ็ญพระราชกุศล, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือ น้ำที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือสิ่งไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ อย่างวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น เช่น พระเวสสันดรหลั่งทักษิโณทกยกสองกุมารให้ชูชก, ชื่อของพระเต้าที่พระมหากษัตริย์ทรงหลั่งน้ำเพื่ออุทิศพระราชกุศล เรียกว่า พระเต้าทักษิโณทก. | ทางผ่าน | น. บุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ใช้เป็นเครื่องมือดุจสะพานเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ. | ทำฤทธิ์ | ก. ทำพยศหรืออาละวาดเพื่อให้ได้รับการเอาอกเอาใจ (มักใช้แก่เด็ก), ทำฤทธิ์ทำเดช ก็ว่า. | ทำเวลา | ก. ทำให้ได้ตามเวลาที่กำหนด, เร่งให้เร็วขึ้น. | เทียว ๒ | ว. คำที่ใช้ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อบังคับหรือเน้นความให้มีความหมายหนักแน่นยิ่งขึ้น มีความหมายอย่างเดียวกับ ทีเดียว, เชียว, เช่น มาให้ได้เทียวนะ อย่าบอกใครเทียวนะ หมู่นี้เงียบไปเทียวไม่เห็นมาหาบ้างเลย. | นายหน้า | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะให้ค่าบำเหน็จแก่อีกบุคคลหนึ่งเพื่อที่ชี้ช่องให้ได้เข้าทำสัญญาหรือจัดการให้ได้ทำสัญญากัน | บิลเลียด | น. ชื่อกีฬาในร่มอย่างหนึ่ง เล่นบนโต๊ะรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าปูสักหลาด มีหลุมกรุตาข่าย ๖ หลุมที่มุมทั้ง ๔ และตรงกลางด้านยาว ผู้เล่นใช้ไม้ยาวซึ่งเรียกว่า คิว แทงลูกกลม ๓ ลูก ลูกสีขาว ๒ ลูก ลูกสีแดง ๑ ลูก ให้ได้แต้มตามกติกา. |
| | ทักษิโณทก | นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือนํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น [ศัพท์พระราชพิธี] | Contractual Delivery Capacity | ความสามารถที่ผู้ขายรับรองว่าจะส่งก๊าซให้ได้ในแต่ละวันระบุเป็น % DCQ (Daily Contract Quantity) [ปิโตรเลี่ยม] | Dose limit | ขีดจำกัดปริมาณรังสี, ค่ากำหนดสูงสุดของปริมาณรังสียังผลหรือปริมาณรังสีสมมูลที่บุคคลอาจได้รับจากการดำเนินกิจกรรมทางรังสี ซึ่งคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี (International Commission on Radiation Protection, ICRP) ได้กำหนดขีดจำกัดปริมาณรังสีไว้ดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงาน -ปริมาณรังสียังผลเฉลี่ยไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ตต่อปีในระยะเวลา 5 ปีติดต่อกัน โดยในปีใดปีหนึ่งต้องได้รับปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 50 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่เลนส์ตา ไม่เกิน 150 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่มือและเท้า หรือที่ผิวหนัง ไม่เกิน 500 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี 2. บุคคลทั่วไป ปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 1 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี โดยไม่รวมปริมาณรังสีจากธรรมชาติและปริมาณรังสีจากการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ ทั้งนี้ในทางปฏิบัติต้องจำกัดให้ได้รับรังสีน้อยที่สุด (ดู sievert ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Task related monitoring | การเฝ้าสังเกตตามภารกิจ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างเร่งด่วนสำหรับการบริหารจัดการในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์] | Special monitoring | การเฝ้าสังเกตพิเศษ, การตรวจติดตามที่กำหนดขึ้นสำหรับสถานการณ์จำเพาะ ของสถานปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอที่แสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมที่ดี โดยมากจะใช้ในขั้นตอนดำเนินการของสถานปฏิบัติการใหม่ ใช้ในกรณีที่มีการดัดแปลงที่สำคัญของสถานปฏิบัติการและวิธีปฏิบัติ หรือใช้กับปฏิบัติการภายใต้ภาวะผิดปกติ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ การเฝ้าสังเกตพิเศษนี้ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการเฉพาะแห่ง, Example: [นิวเคลียร์] | Potassium-40 | โพแทสเซียม-40, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของโพแทสเซียม มีครึ่งชีวิต 1.30 x 109 ปี พบในธรรมชาติ เช่น ในดิน และพืช มนุษย์ได้รับธาตุนี้จากการบริโภคอาหาร ทำให้ได้รับรังสีตลอดเวลา (ดู internal radiation ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Loss of coolant accident | อุบัติเหตุจากการสูญเสียตัวทำให้เย็น, โลคา, อุบัติเหตุที่เกิดจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์สูญเสียตัวทำให้เย็น ในอัตราที่เกินกว่าความสามารถของระบบเติมตัวทำให้เย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะชดเชยให้ได้ เช่น การแตกในระบบระบายความร้อนในส่วนที่มีความดัน หรือการแตกที่มีขนาดเทียบเท่ากับพื้นที่หน้าตัดของท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบระบายความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, Example: [นิวเคลียร์] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Convention on the Rights of the Child | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ได้รับการรับรองจากสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2532 โดยอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2533 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อคุ้มครองสิทธิของเด็ก (บุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี) เพื่อให้ได้รับการศึกษา การดูแล ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือกระทำทารุณกรรม ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 191 ประเทศ คงเหลือโซมาเลียและสหรัฐอเมริกาที่ยังมิได้ให้สัตยาบัน ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กด้วยการภาคยานุวัติ อนุสัญญาฯ มีผลปังคับใช้กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535 ขณะนี้ไทยยังคงมีข้อสงวน 2 ข้อ คือ ข้อ 7 เรื่องสัญชาติ และ ข้อ 22 เรื่องการให้สถานะเป็นผู้ลี้ภัย [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] | Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] | Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] | legalisation | นิติกรณ์ " กระบวนการรับรองความถูกต้อง คำแปลหรือลายมือชื่อผู้มีอำนาจ ลงนามในเอกสาร โดยเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ สถานทูต สถานกงสุล หรือหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้ได้รับการยอมรับและสามารถนำไปใช้ได้ในทางการระหว่างประเทศ " [การทูต] | Legalisation (legalization) | นิติกรณ์ กระบวนการรับรองความถูกต้อง คำแปลหรือลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามในเอกสาร โดยเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ สถานฑูต สถานกงสุล หรือหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้ได้รับการยอมรับและสามารถนำไปใช้ได้ในทางการระหว่างประเทศ [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | น้ำมันเชื้อเพลิง | น้ำมันเชื้อเพลิง, ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ำมันเบนซิน น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องบิน น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา น้ำมันหล่อลื่นและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นที่ใช้หรืออาจใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือเป็นสิ่งหล่อลื่น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ หรือสิ่งอื่นที่ใช้หรืออาจใช้เป็นวัตถุดิบในการกลั่นหรือผลิตเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวข้างต้น และให้หมายความรวมถึงสิ่งอื่นที่ใช้หรืออาจใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือเป็นสิ่งหล่อลื่นตามที่รัฐมนตรีกำหนดให้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา [พลังงาน] | สารเติมแต่ง | สารเติมแต่งหรือสารเพิ่มคุณภาพเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหัวเชื้อ หมายถึงสารเคมีที่ใช้ผสมน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานหรือน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน สังเคราะห์ ในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อให้ได้น้ำมันหล่อลื่นที่มีคุณสมบัติตามต้องการ [ปิโตรเลี่ยม] | ออกเทน | ค่าออกเทนเป็นตัวเลขที่บอกถึงคุณภาพการต้านทานการน็อค หรือความสามารถของน้ำมันเบนซินที่จะเผาไหม้โดยปราศจากการน็อคในเครื่องยนต์ ทดสอบได้หลายวิธี อาทิ <br>Research Octane Number (RON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-1 วัดที่รอบเครื่องยนต์ต่ำ 600 รอบต่อนาที และอุณหภูมิไอน้ำมันผสมต่ำประมาณ 125 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Motor Octane Number (MON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-2 วัดที่รอบเครื่องยนต์รอบสูง 900 รอบต่อนาทีและอุณหภูมิไอน้ำมันผสม 300 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Road Octane Number ทำการวัดโดยใช้รถยนต์จริงๆ วิ่งบนถนนซึ่งความเร็วและภาระเปลี่ยแนปลงไปต่างๆ กัน เพือ่ให้ได้ใกล้เคียงกับควาเมป็นจริงมากที่สุด วิธีนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก [ปิโตรเลี่ยม] | Block rubber | ยางแท่งเป็นยางธรรมชาติที่ผลิตโดยมีการควบคุมคุณภาพให้ได้ตรงตาม มาตรฐานที่กำหนด โดยในการผลิตจะนำยางมาทำให้เป็นก้อนเล็กๆ (เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-3 มิลลิเมตร) เพื่อให้ง่ายต่อการชำระล้างสิ่งสกปรกและง่ายต่อการทำให้แห้งด้วยการอบ และหลังจากอบยางให้แห้งด้วยอากาศร้อนแล้วก็จะนำยางแห้งที่เป็นก้อนเล็กๆ เหล่านี้ไปอัดให้เป็นแท่งมาตรฐาน 330x670x170 มิลลิเมตร มีน้ำหนักประมาณ 33.33 กิโลกรัม การจัดชั้นของยางแท่งจะพิจารณาจากปริมาณสิ่งสกปรกที่มีอยู่ในยางเป็นสำคัญ นอกจากนั้นก็อาจพิจารณาตัวแปรอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ปริมาณเถ้า ดัชนีความอ่อนตัว ฯลฯ ปัจจุบันประเทศไทยมีมาตรฐานยางแท่ง เรียกว่า Standard Thai Rubber (STR) [เทคโนโลยียาง] | Dispersion | 1.ดิสเพอร์ชันหรือการแตกตัวเป็นขั้นตอนหนึ่งของกลไกการผสมสารตัวเติม เข้าไปในยางแห้ง ซึ่งจะเกิดขึ้นจากแรงเฉือนในการผสมที่ทำให้แอกโกลเมอเรตของอนุภาคสารตัวเติม แตกตัวต่อไปจนได้เป็นแอกกรีเกตซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสารตัวเติมที่ได้ จากการผสม ขั้นตอนนี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการกระจายตัว เพื่อให้ได้สารตัวเติมที่มีการแตกตัวดีและการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในยาง 2.สารเคมีที่กระจายตัวอยู่ในน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] | Chemoprophylaxis, Primary | ใช้ยาป้องกันการติดเชื้อ, ป้องกันไม่ให้ได้รับเชื้อ [การแพทย์] | balanced diet | การกินอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนได้สัดส่วน, การกินอาหารให้ครบทุกประเภทและให้ได้ปริมาณสารอาหารตามที่ร่างกายต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | respiration | การหายใจ, กระบวนการสลายโมเลกุลของอาหารในสิ่งมีชีวิตเพื่อให้ได้พลังงานในการดำรงชีวิต มี 2 ชนิด คือ การหายใจแบบใช้ออกซิเจน และการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | aerobic respiration | การหายใจแบบใช้ออกซิเจน, การสลายโมเลกุลของอาหารในสิ่งมีชีวิตเพื่อให้ได้พลังงานในการดำรงชีวิต โดยใช้ออกซิเจนเข้าไปทำปฏิกิริยา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | synthesis | การสังเคราะห์, กระบวนการในการทำให้เกิดสารประกอบที่ต้องการโดยการนำสารประกอบย่อย ๆ มาทำปฏิกิริยากันให้ได้สารประกอบโมเลกุลใหญ่หรือมีความซับซ้อนมากขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | alloy | โลหะเจือ, โลหะผสม, สารเนื้อเดียวที่ได้จากการผสมโลหะสองชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้สมบัติตามต้องการ เช่น ทองเหลืองเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | echo | เสียงสะท้อนกลับ, เสียงที่สะท้อนกลับมายังผู้พูดหรือแหล่งกำเนิดเสียงให้ได้ยินอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่เปล่งเสียงออกไปเป็นระยะเวลาหนึ่ง ประมาณเกินกว่า 1/10 วินาที ซึ่งนานพอที่หูจะแยกฟังเสียงเดิมและเสียงสะท้อนได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | natural resources conservation | การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ, การสงวนรักษาและรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้ได้ประโยชน์มากที่สุดโดยไม่ให้เกิดการสูญเปล่า เช่น การอนุรักษ์น้ำ การอนุรักษ์ป่าไม้ การอนุรักษ์สัตว์ป่า เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | food preservation | การถนอมอาหาร, การเก็บรักษาอาหารโดยยังคงรักษาสมบัติของอาหารนั้นไว้ให้ได้มากที่สุด เช่น การแช่แข็ง การตากแห้ง การบรรจุกระป๋อง การอาบรังสี เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | search engine operators | ตัวดำเนินการในการค้นหา, ใช้ประกอบกับคำหลักในการค้นหา (search engine operators) จะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ในการค้นหาที่ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างตัวดำเนินการในการค้นหา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | information processing | การประมวลผลสารสนเทศ, การดำเนินการต่างๆกับข้อมูลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้งานมากยิ่งขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | scientific process | กระบวนการทางวิทยาศาสตร์, กระบวนการพื้นฐานที่นำไปใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยมีการทำงานเป็นระบบอย่างมีขั้นตอน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | fluency | ความคิดคล่อง, การคิดหาคำตอบได้อย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว และมีปริมาณมากในเวลาจำกัด เช่น การวาดภาพต่อเติมรูปที่กำหนดให้ได้มากที่สุด ภายในเวลา 10 นาที [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| เอาให้ได้ | [ao haidāi] (v, exp) FR: tenir à | ให้ได้ | [hai dāi] (x) FR: sans faute ; à coup sûr |
| SLR | (n, abbrev) ย่อมาจาก Single-Lens Reflex หมายถึง กล้องถ่ายภาพที่ใช้เลนส์ตัวเดียวกันสำหรับมองภาพ และถ่ายภาพ ทำให้ได้ภาพในฟิล์มเหมือนดั่งภาพที่ปรากฏในช่องมอง กล้องประเภทนี้มักจะเปลี่ยนเลนส์ได้ด้วย, See also: camera | unsharp mask | (name) คือกระบวนการทำภาพถ่ายให้คมชัดขึ้น โดยการนำฟิล์มของภาพ ไปถ่ายสำเนาใส่ฟิล์มอีกแผ่นหนึ่งโดยเจตนาให้ได้ภาพที่เบลอ (unsharp) กว่าเดิม ภาพบนฟิล์มที่ทำสำเนาขึ้นมาใหม่นี้ จะแตกต่างจากภาพบนฟิล์มเดิม ณ บริเวณภาพที่มีรายละเอียด (เนื่องจากถูกทำให้เบลอ) แต่จะเหมือนเดิม ณ บริเวณภาพที่เป็นสีพื้น (ไม่มีรายละเอียด การทำเบลอไม่มีผลต่อภาพ) จากนั้นจึงเอาฟิล์มทั้งสองมาทาบเข้าด้วยกัน ภาพที่ได้เมื่อมองผ่านฟิล์มทั้งสอง บริเวณที่มีรายละเอียดจะถูกเน้นให้เห็นรายละเอียดชัดเจนมากขึ้น คือ ทำให้ภาพดูคมชัดขึ้น | leverage | (n) การลงทุนโดยใช้วิธียืมเงินผู้อื่นหรือใช้เทคนิค เช่น futures, options มาช่วย ทำให้ได้ผลตอบแทนมากกว่าปกติ เช่น เพิ่มเป็น 10 เท่าตัว (ซึ่งในกรณีที่ขาดทุนก็จะขาดทุนมากกว่าปกติเช่นกัน) | Viennoiserie | (n) ขนมอบ ประเภทที่ใช้แป้งที่มียีสต์คล้ายกับขนมปัง แต่มีการใส่ส่วนประกอบเพิ่มเติมเช่น ไข่ เนย นม ครีม น้ำตาล เข้าไป ทำให้ได้ออกมาเป็นขนมที่ rich และมีรสหวาน โดยมากมักจะใช้แป้งที่ทำออกมาเป็นลักษณะเป็นชั้นๆ (laminated dough) ตัวอย่างขนมอบประเภทนี้ เช่น ครัวซอง (croissants), บริยอช (brioche), ขนมปังไส้ช็อกโกแลต (pain au chocolat) คำนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลตรงตัวคือ "things of Vienna" ของแห่งกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย | sandbag | (vi) หลบเลี่ยง ที่จะแสดงถึงความสามารถ หรือ ตำแหน่ง หรือ ความตั้งใจจริงๆ โดยการเสแสร้งให้ดูด้อยค่าลง เพื่อให้ได้ประโยชน์อะไรบางอย่าง เช่น จริงๆ สามารถทำได้ ก็บอกว่าทำไม่ได้ หรือ ทำได้น้อยกว่าที่ควรจะเป็น |
| anagram | (n) การสับเปลี่ยนพยัญชนะของคำหรือวลีเพื่อให้ได้คำหรือวลีใหม่ | angle | (vt) ล่อ, See also: หลอกล่อ เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ | avail of | (phrv) ใช้ประโยชน์จาก, See also: ทำให้ได้ประโยชน์จาก | be hell-bent on | (phrv) พยายามให้ได้ (บางสิ่ง) มาอย่างไม่ย่อท้อหรือไม่หยุดหย่อน (คำไม่เป็นทางการ) | be up to | (phrv) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้เทียบเท่ามาตรฐาน, Syn. bring up to, come up to, get up to | beguile out of | (phrv) หลอกลวงเพื่อให้ได้, See also: ลวงเพื่อให้ได้, Syn. cheat out of | break through | (phrv) เอาชนะให้ได้ | bring back | (phrv) ช่วยให้ได้รับ (บางสิ่ง), See also: ช่วยให้มีบางสิ่ง, Syn. pull back | bring round | (phrv) ทำให้ฟื้น, See also: ทำให้ได้สติ, Syn. bring to | bring someone to his senses | (idm) ทำให้ฟื้น, See also: ทำให้ได้สติ, ทำให้สติกลับคืนมา | bring up to scratch | (idm) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้ได้ดังใจต้องการ, Syn. be up to, come up to, get up to | bring up to standard | (idm) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้ได้ดังใจต้องการ, Syn. be up to, come up to, get up to | bring up to the mark | (idm) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้ได้ดังใจต้องการ, Syn. be up to, come up to, get up to | call out | (phrv) ทำให้เห็น, See also: ทำให้ได้ใช้ บางสิ่ง, Syn. bring out | cheat of | (phrv) ล่อลวงเพื่อให้ได้มาซึ่ง, See also: หลอกลวงเพื่อให้ได้, Syn. cheat out of | cheat out of | (phrv) ล่อลวงเพื่อให้ได้มาซึ่ง, See also: หลอกลวงเพื่อให้ได้, Syn. beguile out of, chisel out of, cozen out of, defraud of, do out of, gull out of, trick out of | chuck oneself at | (phrv) พยายามเอาชนะใจ (เพื่อให้ได้ความรักมา), Syn. fling at, hurl at | compel from | (phrv) บีบบังคับจาก (เพื่อให้ได้มาซึ่งบางสิ่ง), See also: บังคับเอา | con out of | (phrv) โกงเพื่อให้ได้, See also: ฉ้อโกงเพื่อ, หลอกเอา, Syn. cheat out of | determine on | (phrv) ตัดสินให้ได้รับ, Syn. dicide on | determine upon | (phrv) ตัดสินให้ได้รับ, Syn. dicide on | dicker for | (phrv) ต่อรองราคาเพื่อให้ได้, Syn. bargain for | distinguish oneself | (phrv) ทำให้มีชื่อเสียง, See also: ทำให้ได้รับการยกย่อง | do with | (phrv) ใช้ประโยชน์จาก, See also: ทำให้ได้ประโยชน์จาก, ทำอะไรกับ | feel after | (phrv) ตามหา, See also: พยายามเพื่อให้ได้ บางสิ่ง มา, Syn. fish for | fetch up | (phrv) ทำให้ได้รับสิ่งที่ไม่น่าพอใจ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. end up, finish up, land up | fighting chance | (idm) โอกาสที่จะสำเร็จ (ถ้าพยายามให้ได้มา) | deferent | (adj) ซึ่งอนุโลมได้, See also: เกี่ยวกับการคล้อยตาม, ซึ่งยอมให้ได้ | endear | (vt) ทำให้เป็นที่รักใคร่, See also: ทำให้ได้รับความรักใคร่, ทำให้ได้รับความชื่นชอบ, Syn. attach, charm | extort | (vt) ขู่เข็ญ (ให้ได้มา), See also: บังคับ, ข่มขู่ ให้ได้มา | gasp for | (phrv) อ้าปากหายใจเพื่อให้ได้อากาศ, See also: อ้าปากหอบ, Syn. pant for | give for | (phrv) จ่าย (เงิน) สำหรับ, See also: จ่ายเพื่อให้ได้, Syn. pay for | go for | (phrv) มุ่งมั่นเพื่อให้ได้, Syn. aim at | issue with | (phrv) ทำให้ได้รับ (สิ่งจำเป็น), See also: แจก สิ่งจำเป็น | go-getter | (n) คนทะเยอทะยาน (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนที่อุตสาหะเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ | harm | (vt) ทำร้าย, See also: ทำอันตราย, ทำลาย, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ | head start | (n) การเริ่มต้นก่อนทำให้ได้เปรียบคนอื่น, Syn. advantage, edge, vantage, Ant. disadvantage, drawback | make the most of | (idm) ทำให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ | practise what you preach | (idm) ทำอย่างที่มักสอนคนอื่นๆ, See also: ทำให้ได้อย่างที่บอกคนอื่นๆ | ring the changes | (idm) จัดการสิ่งต่างๆ ในรูปแบบใหม่, See also: รู้จักจับโน้นชนนี้ให้ได้สิ่งใหม่ๆออกมา | idol | (n) สิ่งต้องห้ามไม่ให้ได้รับการบูชาในศาสนาที่นับถือพระเจ้าองค์เดียว | jockey for | (phrv) แข่งขันหรือแย่งชิงเพื่อให้ได้ (บางสิ่ง) | level off | (phrv) ทำให้เรียบ, See also: ทำให้แบน, ทำให้ได้ระดับ | level | (vt) ทำให้เรียบ, See also: ทำให้ราบ, ทำให้เสมอ, ทำให้ได้ระดับ, Syn. flatten | liberation | (n) การทำให้ได้รับสิทธิอันเท่าเทียม | nurse through | (phrv) ช่วยทำให้ได้, See also: ช่วยทำให้สำเร็จ, ช่วยติวจนผ่าน การสอบ | mature | (vt) ทำให้สุก, See also: บ่ม, ทำให้ได้ที่, Syn. ripen | money-grabber | (n) ผู้ละโมบ, See also: ผู้พยายามหาเงินให้ได้มากๆ, Syn. money-grubber | money-grabbing | (n) ซึ่งพยายามหาเงินให้ได้มากๆ, Syn. money-grubbing | money-grubber | (n) ผู้พยายามหาเงินให้ได้มากๆ, Syn. money-grabber |
| afford | (อะฟอร์ด') vt. มี, ให้, จัดให้มี, สามารถให้ได้, สามารถมีได้, Syn. provide | aggressor | (อะเกรส' เซอะ) n. ผู้รุกราน, ทำให้ได้รับทุกข์, ทำให้เจ็บปวด, Syn. attacker | anagram | (แอน' นะแกรม) n. การสับเปลี่ยนพยัญชนะของคำหรือวลีเพื่อให้ได้คำหรือวลีใหม่ -anagrammatic (al) adj. (transposition) | assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) | audio frequency | ความถี่ของเสียงซึ่งถ้าอยู่ในระหว่าง 15-20, 000 ไซเกิลต่อวินาที จะทำให้ได้ยินได้ (of normally audible sound) | bid | (บิด) { bade/bid, bidden/bid, bidding, bids } vt., n. (การ) ออกคำสั่ง, สั่ง, กล่าว, บอก, ให้ราคา, ประมูลราคา, เชื้อเชิญ, ประกาศอย่างเปิดเผย, รับเป็นสมาชิก, ความพยายามเพื่อให้ได้มา vi. ออกคำสั่ง, กริยาช่อง 3 ของ bide, See also: bidder n. ดู bid -Conf. bade | carburetor | (คาร์'บะเรเทอะ) n. เครื่องผสมไอเชื้อเพลิงกับอากาศให้ได้สารผสมที่สันดาปหรือระเบิดได้, คาร์บูเรเตอร์, See also: carburetion n. | carburettor | (คาร์'บะเรเทอะ) n. เครื่องผสมไอเชื้อเพลิงกับอากาศให้ได้สารผสมที่สันดาปหรือระเบิดได้, คาร์บูเรเตอร์, See also: carburetion n. | com- | 1. Pref. รวมกัน, ด้วยกัน, อย่างสมบูรณ์, Syn. co-, 2. คอม 1. ย่อมาจาก COMmunication port หมายถึงช่องที่ใช้สำหรับต่อออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น เมื่อจะหมุนเลขหมายโทรศัพท์บนคอมพิวเตอร์ผ่านโมเด็ม คอมพิวเตอร์ก็จะต้องรับรู้กันให้ได้ว่า ช่องที่ติดต่อกับโมเด็มนั้นคือช่องไหน กำหนดได้หลายช่องเรียกว่า COM1, COM2 2. ใช้เป็นนามสกุล file type ของแฟ้มข้อมูลในดอสและโอเอสทูว่า .COM เพื่อแสดงว่าเป็นแฟ้มข้อมูลกระทำการ executive program หรือโปรแกรมประเภทเดียวกับ .EXE เช่น FORMAT.COM COMMAND.COM 3. ย่อมาจาก computer output on microfilm ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโคร ฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโคร ฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที | computer user group | กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ | coup de grace | (ดุคะกราส') n., Fr. การโจมตีให้ตายทันที, การโจมตี, ให้ได้ชัยชนะอย่างชัดเจน | crop marks | เครื่องหมายสำหรับเจียน <คำแปล>โปรแกรมบางโปรแกรม โดยเฉพาะโปรแกรมจัดพิมพ์เอกสาร (desktop publishing) จะทำเครื่องหมายไว้ให้สำหรับตัดหรือเจียนกระดาษให้ได้ขนาดที่ต้องการ การสั่งพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์นั้น มักต้องใช้กระดาษตามขนาดที่เครื่องพิมพ์กำหนดไว้ เช่น A4 B5 ฯ ในขณะที่เราต้องการให้หน้ากระดาษของเรามีขนาดพิเศษ โปรแกรมก็จะช่วยให้เราสามารถพิมพ์งานของเราออกมาบนกระดาษขนาดมาตรฐานนั้น แต่มีเครื่องหมายบอกตำแหน่งที่จะต้องเจียนออกไว้ให้ด้วย เครื่องหมายนี้ออกจะเป็นสากลสำหรับบุคคลในวงการพิมพ์ | crossbreed | (ครอส'บรีด) { crossbred, crossbreeding, crossbreeds } vt., vi. ผสมข้ามพันธุ์เพื่อให้ได้พันธุ์ผสม n. พันธุ์ผสม | ctrl key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระที่มีตัว Ctrl อยู่บนแป้น คำ Ctrl นี้ย่อมาจาก Control แป้นนี้ต้องกดพร้อมกับแป้นใดแป้นหนึ่ง จึงจะใช้เป็นคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ เช่นถ้ากดแป้นนี้พร้อมกับ S จะเป็นการสั่งบันทึกข้อมูล เป็นต้น | damage | (แดม'มิจฺ) { damaged, damaging, damages } n. ความเสียหาย, การทำให้เสียหาย, การทำให้ได้รับอันตราย, See also: damages n., pl. ค่าเสียหาย เงินชดเชยค่าเสียหาย vt. ทำให้เสียหาย, ทำให้ได้รับอันตราย, เป็นภัย n. เสียหาย. damageable adj. damager n. ดูdamage | defrag | นำ (แฟ้มข้อมูล) มาต่อกันในฮาร์ดดิสก์นั้น เมื่อมีการสั่งบันทึกข้อมูลลงไปแล้วมาสั่งลบภายหลัง จะทำให้มีที่ว่างเกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ ฉะนั้น เมื่อมีการนำแฟ้มข้อมูลใหม่บันทึกลงไป คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการแบ่งข้อมูลใหม่นี้ให้ได้สัดส่วนพอดีกับช่องที่ว่างอยู่ก่อน ทำให้แฟ้มข้อมูลเดียวถูกเก็บเป็นหย่อม ๆ การเก็บแฟ้มข้อมูลในลักษณะนี้ เรียกว่า เป็นการกระจาย (fragmentation) โปรแกรมระบบดอสรุ่น 6.0 จึงมีคำสั่ง "defrag" ซึ่งจะช่วยจัดการนำแฟ้มข้อมูลเดียวกันมาเรียงให้ติดต่อกัน เพื่อให้การค้นคืนแฟ้มทำได้รวดเร็วขึ้น ในระบบวินโดว์ ก็จะต้องสั่งให้มีการนำแฟ้มมาต่อกันนี้เป็นครั้งคราวเสมอ | do-or-die | (ดู'เออะได') adj. ซึ่งต้องการเอาชนะให้ได้, เต็มที่, สุดกำลัง, เสี่ยงภัย | end of file | สิ้นสุดแฟ้มใช้ตัวย่อว่า EOF เป็นสัญลักษณ์พิเศษ ที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหนมีความหมายเหมือน end of job | eof | (อีโอเอฟ) ย่อมาจาก end of file (แปลว่าสิ้นสุดแฟ้ม) เป็นสัญลักษณ์พิเศษที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหน | excruciate | (เอคซฺครู'ซิเอท) vt. ทำให้ได้รับความเจ็บปวดอย่างรุนแรง, ทรมาน, ทำให้ระทมทุกข์, See also: excruciation n. ดูexcruciate | fanfold paper | หมายถึง กระดาษที่พับไว้อย่างปราณีต เพื่อประโยชน์ใน การใช้ อย่างต่อเนื่อง ในบางครั้ง จะเรียกว่า กระดาษต่อเนื่อง (continuous paper) กระดาษชนิดนี้จะมีรูเจาะไว้ทั้งสองข้าง เพื่อให้ได้เกาะเกี่ยวกับฟันเฟือง ของเครื่องพิมพ์เป็นระยะ ๆ ทำให้การเคลื่อนตัวได้ฉาก และเป็นจังหวะอย่างดี (ไม่บิดเบี้ยว) | fend | (เฟนดฺ) { fended, fending, fends } vt. ป้องกัน, พิทักษ์, ปัดเป่า, ผลักออกไป, ปัดออกไป. vi. ต้าน, ต่อต้าน, หลบหลีก, ล้อมรั้ว, พยายามต่อสู้เพื่อให้ได้มา, Syn. ward off | file processing | การประมวลผลแฟ้มข้อมูลหมายถึงการนำแฟ้มข้อมูลมาประมวลผล โดยปกติหมายถึงการเขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำให้ เพื่อให้ได้ผลตามที่ต้องการ | forgivable | (ฟอร์กิฟ'วะเบิล) adj. ซึ่งอภัยให้ได้ | fragmentation | การแยกส่วนหมายถึง อาการอย่างหนึ่งที่มักจะเกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ที่ ใช้มาเป็นเวลานานแล้ว ในฮาร์ดดิสก์นั้น เมื่อมีการสั่งบันทึก ข้อมูลลงไป แล้วมาสั่งลบภายหลัง ก็จะทำให้มีที่ว่างเกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ ฉะนั้น เมื่อมีการนำแฟ้มข้อมูลใหม่ บันทึกลงไป คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการ แบ่งแฟ้มใหม่นี้ให้ได้ สัดส่วนพอดีกับช่องที่ว่างอยู่ก่อน บางที แฟ้มเดียวกันจึงต้อง ถูกเก็บเป็นหย่อม ๆ การเก็บแฟ้มข้อมูลในลักษณะนี้ เรียกว่า เป็นการเก็บแยกส่วน ในโปรแกรมระบบดอสรุ่น 6.0 จะมีคำสั่ง "DE FRAG" ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหา ในเรื่องนี้ได้ | fructify | (ฟรัค'ทะไฟ) vi. ให้กำเนิดผล, ออกผล. vt. ทำให้ได้ผล, ทำให้มีผล, ทำให้อุดมสมบูรณ์., See also: fructifier n. | hack | (แฮค) v. ฟัน, ตัด, สับ, คราด, ทำให้เสียหาย, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ, ทำให้เสียรูปร่าง, ไอครอก ๆ , เตะแข้ง, ไปเรื่อยเปื่อย, เที่ยวเตร่ n. การฟัน, การตัด, การสับ, การไอครอก ๆ , นักเขียนรับจ้าง, ม้าแก่, ม้าที่ให้เช่า , แท็กซี่, หิ้งตากอาหาร, Syn. chop, cut | hard sell | การขายแบบยัดเยียด, การพยายามขายให้ได้ | harm | (ฮาร์ม) n. อันตราย, การทำให้ได้รับบาดเจ็บ, ความเสียหาย, การเป็นภัย, ความชั่ว, ความผิด. vt. ทำอันตราย, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ., See also: harmer n., Syn. injury, damage | hit | (ฮิท) vt. ตี, ต่อย, ชก, โจมตี, ฟัน, แทง, ชน, ตำ, ทำให้ได้รับ, ทำให้โดน, ตีได้สำเร็จ, ร้องขอ, บรรจุบังเอิญพบ, มาถึง, ตกลง, เดาถูก, เริ่มเดินทาง, ถูกใจ, ถูกรสนิยม, ปะทะ, ชน, ปรากฎขึ้น., See also: hit it off เข้ากันได้กับ n. การปะทะ, การชน, การตี, การต่อย, การชก คำที่มีค | hurt | (เฮิร์ท) vt., vi. ทำให้ (รู้สึก) บาดเจ็บ, ทำให้เจ็บปวด, ทำอันตราย, ทำให้เจ็บใจ, ทำให้เสียใจ. -n. การทำให้ได้รับบาดเจ็บ, บาดแผล, ความเจ็บปวด, ความเสียหาย, Syn. injure, wound, harm | hurtful | (เฮิร์ท'ฟูล) adj. ซึ่งทำให้ได้รับบาดแผล, เป็นอันตราย, ซึ่งทำให้เสียหาย., See also: hurtfully adv. hurtfulness n., Syn. injurious, harmful | impair | (อิมแพร') vt. ทำให้เลวลง, ลดคุณค่า, ทำให้อ่อนแอ, ทำให้เสียหาย, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ, เลวลง., See also: impairable adj. impairer n. impairment n., Syn. diminish, injure | indult | (อินดัลทฺ') n. การยินยอมจากองค์สันตะปาปาให้ได้รับการยกเว้นจากกฎของศาสนาโรมันคาธอลิค | inflict | (อินฟลิคทฺ') vt. ลงโทษ, ทำโทษ, ทำให้ได้รับความทุกข์., See also: inflicter, inflictor n. inflictive adj., Syn. exact, impose | infliction | (อินฟลิค'เชิน) n. การลงโทษ, การทำโทษ, การทำให้ได้รับความทุกข์ | injure | (อิน'เจอะ) vt. ทำอันตราย, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ, ทำให้เสียหาย, ทำผิด, ทำร้าย, ประทุษร้าย, กระทบกระเทือน, ร้าวราน., See also: injurable adj. injurer n., Syn. hurt | insurable | (อินชัว'ระเบิล) adj. ประกันภัยให้ได้, รับประกันได้., See also: insurability n. | issuable | (อิช'ชิวอะเบิล) adj. ออกให้ได้, พิมพ์ออกได้, ที่จะมาถึง, รับได้., See also: issuably adv. | level | (เลฟ'เวิล) { leveled, leveling, levels } adj. ราบ, เรียบ, เป็นแนวนอน, เท่ากัน, ระดับเดียวกัน, สุขุม, รอบคอบ. vt. ทำให้ราบ, ทำให้เรียบ, ทำให้ได้ระดับ, ยกหรือลดระดับ, ทำให้ล้มลงสู่แนวพื้นดิน, ชกล้มลง, ทำให้เสมอภาคกัน, ทำให้เข้ากัน (สี) , เล็งเป้า, หันตาไปทางทิศใดทิศหนึ่ง vi. ทำให้ราบ, เล็ง, ใช้เครื่องวัดระดับ, บินขนานกับพื้น, บอกความจริง, adv. โดยแนวราบ, เป็นเส้นแนวนอน -Phr. (on the level ซื่อสัตย์ จริงใจ) | linear programming | กำหนดการเชิงเส้นเป็นเทคนิคในการคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ในการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยเฉพาะ การแก้ปัญหาชนิดนี้เป็นการแก้ปัญหาด้วยการหาค่าที่ดีที่สุดขึ้นมาชุดหนึ่ง เช่น การหาสัดส่วนของผสมเพื่อให้ได้ส่วนผสมที่ดีที่สุด มีค่ามากที่สุด และใช้ต้นทุนน้อยที่สุดเป็นต้น | maul | (มอล) n. ค้อนหนักชนิดหนึ่ง (เช่นที่ใช้สำหรับตอกเข็มตึก) , กระบอกหนัก. vt. จัดการหรือใช้อย่างไม่นิ่มนวล, ทำให้เสียโฉม, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ., See also: mauler n. mauller n. | maull | (มอล) n. ค้อนหนักชนิดหนึ่ง (เช่นที่ใช้สำหรับตอกเข็มตึก) , กระบอกหนัก. vt. จัดการหรือใช้อย่างไม่นิ่มนวล, ทำให้เสียโฉม, ทำให้ได้รับบาดเจ็บ., See also: mauler n. mauller n. | monitor | (มอน'นิเทอะ) n. นักเรียนผู้ทำหน้าที่ช่วยครูดูแลความประพฤติของนักเรียนคนอื่น, เครื่องเตือน, เครื่องบอกเหตุ, เหี้ยหรือจะกวด, เครื่องรับการส่งวิทยุ, พี่เลี้ยง. vt. ใช้เครื่องรับฟังสัญญาณ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม, สังเกต, ควบคุม. vi. เป็นเครื่องเตือน, เป็นเครื่องตรวจ. ตัวจอภาพหมายถึง ตัวจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องปลายทาง (terminal) จอภาพนั้นมีหลายชนิด เช่น สีเดียว, หลายสี มีหลายขนาด จอภาพที่ดีจะต้องมีความถี่สูง ทำให้ได้ภาพที่นิ่งสนิท (non interlaced) ทำให้ไม่มีอันตรายต่อสายตา มีความคมชัดสูง (high resolution) ขนาดมาตรฐานจะมีความละเอียด 1024 x 768 จุด แบบที่ผลิตออกมาขายใหม่ ๆ จะมีข้อดีอีกข้อหนึ่ง คือ ประหยัดไฟ โดยปิดตัวเองได้ในขณะที่ไม่ใช้งาน เรียกว่า green monitor | neural network | เครือข่ายเส้นประสาทหมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นเลียนแบบเส้นใยประสาทของมนุษย์ ที่เรียกว่า นิวโรน ในสมองมนุษย์ ซึ่งมีนับจำนวนล้าน ๆ ตัว การประมวลผลกิจกรรมต่าง ๆ จะออกมาในลักษณะแบบขนาน (ไม่ใช่แบบอนุกรม) หมายถึง ทำงานพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้คำตอบอันเดียว ทั้งนี้หมายถึง การที่ต้องสามารถทำงานที่สลับซับซ้อนมาก ๆ โดยเรียนรู้จากประสบการณ์ได้เอง ฉะนั้นการที่เครือข่ายแบบนิวโรนนี้จะให้คำตอบได้ก็ต่อเมื่อมีการส่งปัญหาต่าง ๆ เข้าไปให้ลองทำมาก ๆ เครือข่ายแบบนี้จะเป็นประโยชน์ เฉพาะในงานประมวลผลงานบางประเภท เช่น เรื่องการประมวลผลเกี่ยวกับการซื้อขายหุ้นในตลาด หรือการหาความคล้ายคลึงระหว่างภาพหลาย ๆ ภาพ เช่น ลายนิ้วมือ เป็นต้น ดู artificial intelligence ประกอบ | on-line | เชื่อมตรงในสายหมายถึง การเชื่อมอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์หรือเครื่องปลายทาง (terminal) เข้า กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ผ่านทางสายเคเบิลหรือด้วยวิธีใด ๆ ก็ตาม เพื่อให้มีการทำงานร่วมกัน เป็นต้นว่า เครื่องถอนเงินด่วน (ATM) จะต้อง "เชื่อมตรง" กับคอมพิวเตอร์เมนเฟรมที่ธนาคารสำนักงานใหญ่ จึงสามารถประมวลผลให้ได้ว่า บัญชีของเรามีเงินเท่าใด ถอนแล้วเหลือเงินอีกเท่าใด ดู off line เปรียบเทียบ | one-up | (วัน'อัพ) vt. ทำให้ดีกว่า, ทำให้ได้เปรียบทำให้ได้คะแนนนำหนึ่งคะแนน, อยู่เหนือ | operation research | n. การวิจัยปฏิบัติการโดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาเป้าหมายและให้ได้ประสิทธิภาพที่มากที่สุด | optimise | (ออพ'ทะไมซฺ) vi. มองในแง่ดี. vt. ทำให้มีผลดีที่สุด, ทำให้เหมาะที่สุด, เขียนโปรแกรมให้ได้ผลดีที่สุด (ของคอมพิวเตอร์), See also: optimisation n., Syn. optimize | orphan | กำพร้า, บรรทัดรั้งท้ายเป็นศัพท์ที่ใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หมายถึง บรรทัดสุดท้ายของย่อหน้า ที่ถูกแยกจากส่วนที่เหลือทั้งหมดไปอยู่คนละหน้า (ถ้าเป็นบรรทัดแรกของย่อหน้า จะเรียกว่า "widow") โปรแกรมประมวลผลคำ หรือโปรแกรมจัดพิมพ์ มักจะมีคำสั่งเฉพาะในเรื่องนี้ โดยผู้ใช้สามารถสั่งให้นำไปรวมกับส่วนที่เหลือของย่อหน้าให้ได้ ดู widow เปรียบเทียบ |
| afford | (vi, vt) พอจ่าย, สามารถให้ได้, สามารถซื้อได้ | aggrieve | (vt) ทำให้โศกเศร้า, ทำให้เจ็บปวด, ทำให้ได้รับทุกข์ | damage | (vt) ทำให้ได้รับอันตราย, ทำให้เสียหาย, ทำให้แตกหัก, เป็นภัย | excusable | (adj) สมควรจะให้อภัย, ซึ่งพอให้อภัยได้, ซึ่งยกโทษให้ได้ | level | (vt) ทำให้ได้ระดับ, เล็งปืน, เพ่งเล็ง, ปรับให้เสมอ | standardization | (n) การทำให้ได้มาตรฐาน, การจัดมาตรฐาน | standardize | (vt) เข้าเกณฑ์, จัดมาตรฐาน, ทำให้ได้มาตรฐาน |
| crowdsource | (vt, uniq) เป็นการรวมกันของคำว่า Crowd + Outsourcing คือการกระจายปัญหาไปยังกลุ่มค้นเพื่อค้นหาคำตอบ และวิธีการในการแก้ปัญหาทางธุรกิจนั้นๆ บริษัทสามารถ broadcast คำถามหรือปัญหาที่ต้องการคำตอบไปยังกลุ่มคนขนาดใหญ่เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการใหม่ ๆ Crowd หรือ User ส่วนมากในการทำ Crowdsourcing เราจะหมายถึงกลุ่มชุมชน Online | scrum | (n) สกรัม, สถานการณ์ที่กลุ่มคนแต่ละฝ่ายผลักดันอีกฝ่ายเพื่อยึดครองพื้นที่หรือให้ได้มาซึ่งบางสิ่งบางอย่าง | solarisation | (n) การผึ่งแดด, การตากแดด, การเปิดให้ได้แสงมากเกินไป(ฟิล์ม) | take-or-pay contract | (n) ข้อตกลงที่ผู้ซื้อทำ เพื่อให้ได้วัตถุดิบ, บริการในการผลิต เช่น ผู้ซื้อเครื่องจักรผลิตขนมปังทำข้อตกลงนี้ เพื่อให้มีแป้งมาเป็นวัตถุดิบ, สัญญาว่าจะซื้อบริการอะไหล่เครื่อง โดยราคาวัตถุดิบนี้ อาจจะตกลงกันให้คงที่(fixed price) เพื่อให้มีความแน่นอน, Syn. throughput arrangement | under-commit and over-deliver | (phrase) ทำงานให้เหนือความคาดหมาย, ให้คำมั่นไว้น้อยๆ แต่ส่งมอบให้ได้มากกว่าที่คาดหวัง (เป็นวิธีบริหารงานเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า), See also: over deliver, Syn. under promise |
| 推薦 | [すいせん, suisen] (n) การแนะนำแก่ผู้อื่นว่าดี การเสนอให้ได้รับดำรงตำแหน่ง | 補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 | 甲状腺 | [こうじょうせん, koujousen] (n) ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง | 甲状腺 | [こうじょうせん, koujousen] (n) ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง | 甲状腺 | [こうじょうせん, koujousen] (n) ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง |
| 暴く | [あばく, abaku] TH: ตีแผ่ทำให้ได้อาย EN: to divulge | 獲る | [える, eru] TH: เอามาให้ได้ EN: to get |
| unter Kontrolle bringen | ควบคุมดูแล, ควบคุมให้ได้ตามที่ต้องการ, See also: kontrollieren | Schwein-Hund überwinden | (slang) เอาชนะความเกียจคร้านของตัวเอง เช่น Um die Prüfung zu bestehen, muss du zuerst deinen Schwein-Hund überwinden, weißt!! = ก่อนจะสอบให้ผ่านอ่ะนะ เธอต้องรู้จักเอาชนะความเกียจคร้านของตัวเองให้ได้ซะก่อน รู้มั้ย!! | sich(D) große Mühe geben | อุตสาหะ, พากเพียรอย่างมาก, ใช้ความพยายามอย่างมาก เช่น Sie hat sich große Mühe gegeben, um die beste Note zu bekommen. เธอพยายามอย่างมากเพื่อให้ได้คะแนนที่ดีที่สุด | Computertomografie | (n) |die, pl. Computertomografien| วิธีการสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพตัดขวางของส่วนของร่างกายออกมาเป็นดิจิตัลหรือตัวเลข |
| acquérir | (vt) 1)ได้มา 2) พยายามให้ได้สิ่งหนึ่งสิ่งใดมา 3)การเป็นเจ้าของโดยการซื้อ (เช่น ที่ดิน) |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |