ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: la, -la-, *la* |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| 展览 | [zhǎn lǎn, ㄓㄢˇ ㄌㄢˇ, 展 览] แสดง, นำเสนอออกงานนิทรรศการ |
| Allaby, alibi | [al-la-bi] (n, vt) An alibi is the plea or mode of defense under which a person on trial for a crime proves or attempts to prove that the person was in another place when the alleged act was committed; as, to set up an alibi; to prove an alibi. | chelation | (n) (med) the process of removing a heavy metal from the bloodstream by means of a chelate as in treating lead or mercury poisoning The process of forming a ring by forming one or more hydrogen bonds | cumulative | top up | flash meeting | (slang) A spontaneous and unscheduled meeting with way more people than need to be there. These meetings are generally unorganized. | Go up in flames | [โกว-อัพ-อิน-เฟลมส์] (phrase) 1. เผาไหม้ 2. สูญเสียบางสิ่งในทันตา, See also: S. shoot down in flames, fan the flames, R. flame | nummular | (adj) circular or oval in shape | philander | (n) readily or freqquently enter into casual sexual relationship with women, See also: S. womanize, flirt, R. flirt, womanize | plagiarism | Bevan and Truong (2003) studied the effectiveness of vetiver grass in erosion and sediment control at a bentonite mine. Field trials were conducted at Queensland, Australia. The soil was highly sodic with exchangeable sodium percentage as high as 48%. Vetiver was planted across the drains for erosion control and to trap sediment in runoff water. Results showed that vetiver hedges established easily on extremely sodic soils when adequately supplied with fertilizers and water. Although, not 10-months-old of not fully established vetiver hedges are very effective in trapping both coarse and fine sediment and have reduced visible signs of erosion. | plainclothesmen | a plainclothes police officer |
| | | einen Platzverweis erhalten [ sport ] | Sports To eject (a player), as from a soccer game, especially for a flagrant violation of the rules. | Leukoplakie { f } [ med. ] | a disorder of a mucous membrane characterized by one or more white patches, occurring most commonly on the cheek, tongue, vulva, or penis: often medically insignificant but sometimes becoming malignant. |
| flame-thrower | [เฟลม โทวเวอะ] (n) อุปกรณ์ของเหลวเพื่อให้เกิดไฟ เพื่อเผาต้นไม้ในบริเวณกว้าง ๆ | inland taipan | [อินแลด์ ไทพัน] (n) งูชนิดหนึ่งอาศัยอยู่ในประเทศออสเตรเลียบริเวณแห้งแล้ง ชอบอากาศเย็น ออกล่าเหยื่อในตอนกลางคืนหรือตอนอากาศเย็น ขึ้นชื่อได้ว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทีั่สุดในโลกด้วยพิษมีปล่อยมาเพียงแค่ 44 มิลลิกรัมต่อครั้ง แต่มีความรุนแรงกว่างูเห่าอินเดียถึง 50 เท่า | The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints | (org) ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย, See also: S. LDS Church | time delay fuse | (n) ฟิวส์ชนิดหน่วงเวลา | ปลากระดี่ | [Pla-Kra-Di] (n) Gourami (อินโดนีเซีย: Sepat, อีสาน: กระเดิด) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ย่อย Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae มีรูปร่างโดยทั่วไป คือ แบนข้างคล้ายใบไม้ หัวมีขนาดเล็ก ปลายปากค่อนข้างแหลม ปากมีขนาดเล็ก มีครีบอกคู่แรกเป็นเส้นยาวใหญ่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "ตะเกียบ" เป็นอวัยวะช่วยในการสัมผัส มีก้านครีบแขนง 2-4 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3-9 ก้าน และก้านครีบแขนง 7-11 ครีบ ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 9-14 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 25-40 ก้าน ครีบท้องและครีบก้นต่อยาวเป็นแถวเดียวกัน โดยที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว ปลายครีบหางไม่เว้ามากนัก[ 1 ] เป็นปลาที่มีการแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพบได้แทบทุกประเภทของแหล่งน้ำจืด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ พบทั้งสิ้น 4 ชนิด ได้แก่ ปลากระดี่มุก (Trichogaster leerii) ปลากระดี่นาง (Trichogaster microlepis) ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) ปลากระดี่หม้อ (Trichogaster trichopterus) Image: | ปลากระโห้ | [Pla-Kra-Ho] (n) Siamese giant carp (Catlocarpio siamensis) ปลาน้ำจืดตระกูลปลาคาร์พ พบได้ในแม่น้ำของไทย Image: | ปลาแรด | [Pla-Raed] (n) Giant gourami-แปลตรงตัว "ปลากระดี่ยักษ์"; ชื่อวิทยาศาสตร์: Osphronemus goramy) เป็นปลาน้ำจืดในสกุลปลาแรด ในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด |
| | | | ลำ | [lam] (adj) delicious, See also: R. อร่อย |
| 咕咾肉 | [gū lǎo ròu, ㄍㄨ ㄌㄠˇ ㄖㄡˋ, 咕 咾 肉] ผัดเปรี้ยวหวานหมู | 老板 | [lǎo bǎn, ㄌㄠˇ ㄅㄢˇ, 老 板] (n) เถ้าแก่ |
| collaborative | (adj) ทำด้วยความร่วมมือกันจากหลายคน หรือ หลายฝ่าย มีการช่วยเหลือกัน เพื่อให้งานเสร็จสิ้น | laptop | (n, jargon) เครื่องคอมพิวเตอร์แบบวางตัก หรือพกพา, See also: notebook | flash memory | (n) หน่วยความจำประเภทสารกึ่งตัวนำชนิดหนึ่ง ที่สามารถลบข้อมูลแล้วเขียนใหม่ได้ และสามารถคงข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง | CompactFlash memory | (n, uniq) หรือ CF memory เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ที่พัฒนาโดยสมาคม CompactFlash (http://www.compactflash.org/) และผลิตจำหน่ายโดยผู้ผลิตหลายราย หลายยี่ห้อ, See also: flash memory, memory stick | galaxy | (n) ดาราจักร | osteoblast | (n) เซลสร้างกระดูก | black tie | (n) ชุดราตรีสโมสร | rule of law | (n) หลักนิติธรรม | flare | (n) แถบหรือแนวจุดสว่างที่ปรากฏบนภาพถ่าย อันเกิดจากการที่แสงจากแหล่งกำเนิด เช่น ดวงอาทิตย์หรือหลอดไฟฟ้า ส่องเข้าหน้าเลนส์ในมุมที่เหมาะสม แล้วสะท้อนกับผิวแก้วชิ้นเลนส์หรือวัตถุอื่นๆที่อยู่ในเลนส์ ไปตกลงบนผิวฟิล์มรับภาพ สามารถบรรเทาได้ด้วยการสวมหน้ากากกันแสงหน้าเลนส์ (hood), See also: hood | carambola | (n) มะเฟือง | cellular phone | (n) โทรศัพท์มือถือ, See also: cell phone, mobile phone | dilated | (adj) ขยายตัว พองตัว | blather | (n, vi, vt) เพ้อเจ้อ, See also: also written as blether | lance corporal | (n) สิบตรี | slag off | (vt, slang) ด่าว่า, พูดในทางไม่ดี, [ to slag someone off ] | glacier | (n) ธารน้ำแข็ง Image: | escalator | (n) บันไดเลื่อน Image: | lasagna | (n) ชื่่ออาหารอิตาลีชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยเส้นพาสต้า, ซอส, เนยแข็ง และอาจมีผักหรือเนื้อ แล้วนำไปอบ Image: | wave the white flag | (phrase) ยอมยกธงขาว ยอมแพ้ ยอมจำนน | play hooky | (jargon) |Amer.| โดดเรียน, ไม่ไปโรงเรียน, Syn. play truant Brit. | scalable | (adj) ขยายหรือย่อได้, เพิ่มหรือลดความสามารถได้ | plate | [เพลท] (n) แผ่นธรณีภาค, แผ่นเปลือกโลก | à la carte | (n, adj, adv) |มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส| การสั่งอาหารที่มีอยู่ในเมนูได้ตามใจชอบ โดยไม่ต้องสั่งเป็นชุดตามที่ร้านอาหารจัดไว้ (ทางประเทศแถบตะวันตก มักมีรายการอาหารเป็นชุดจัดไว้ให้), เมนูหรือรายการอาหารที่มีราคาแยกเฉพาะสำหรับอาหารแต่ละจาน | popular | (adj) เป็นที่นิยม, ได้รับความสนใจ | a la carte | ดู à la carte (ภาษาฝรั่งเศส), Syn. à la carte | mozilla | (n) เว็บเบราเซอร์ที่เป็นโอเพ่นซอร์สตัวหนึ่ง รายละเอียดอ่านได้จาก <A HREF=http://www.mozilla.org>www.mozilla.org</A> | gorilla | (n) ลิงกอริลล่า | formula | (n) สูตร | white balance | (n) โทนสีขาว การปรับอุณหภูมิสีของแสงสีขาว | extracellular | (adj) ภายนอกเซลล์ | shangri-la | (n) สวนสวรรค์, See also: Arcady, Syn. Eden | flak jacket | (n) เสื้อเกราะกันกระสุน, See also: bulletproof vest, Syn. flak vest | platelet | (n) เกล็ดเลือด | laid-back | (adj) สบายๆ, รู้สึกสบายผ่อนคลาย เช่น I can't be laid-back. I can't be cool. ฉันไม่สามารถรู้สึกสบายปลอดโปร่งได้ ฉันไม่สามารถใจเย็นไว้ได้ | axillary | (adj) แห่งรักแร้, See also: axilla | downplay | (vt) แสดงหรืออธิบายถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแสร้งว่าไม่สำคัญหรือไม่แย่นัก เช่น Homeland Security officials downplay need for antiterrorist center. | reclaimed land | (n) การถมทะเลหรือคลองให้เป็นพื้นดิน | plaza | (n) ด่าน เช่น toll plaza ด่านเก็บค่าผ่านทาง | customer relations center | (n) ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ ย่อด้วย CRC | in particular | (adv) โดยเฉพาะ, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง, Syn. especially | global planning | (n) การวางแผนระดับสากล | law-abidingness | (n) ความเคารพกฎหมาย, See also: law-abiding adj. | elastic band | (n) ยางรัด, หนังยาง, Syn. rubber band | flat out | (adj, adv, colloq) อย่างเต็มที่และรวดเร็ว เช่น They were all working flat out. | flat out | (adv, colloq) อย่างตรงไปตรงมา เช่น Just about 100 percent of everything you read was flat out wrong., He stated his opinion flat out., Syn. bluntly | black tea | (n) ชาจีน | planned re-enactment | (n, phrase) แผนประกอบคำรับสารภาพ | subcortical lacunar | (n, phrase) ช่องระหว่างหยักสมอง | public relations department | (n) กรมประชาสัมพันธ์ | lanyard | (n) สายคล้อง |
| la | (n) เสียงที่ 6 ของลำดับเสียงดนตรี, See also: เสียง ลา | la | (int) คำอุทานแสดงความประหลาดใจหรือเน้นย้ำ | ala | (n) ปีกหรือสิ่งที่คล้ายปีก (เช่น หู) | lab | (n) ห้องทดลอง (มาจากคำเต็มว่า laboratory), See also: ห้องปฏิบัติการ | lac | (n) จำนวนที่มากมายเหลือคณานับ | lac | (n) จำนวนแสน (โดยเฉพาะหน่วยรูปี), Syn. lakh | lad | (n) คนเลี้ยงม้า | lad | (n) เด็กหนุ่ม, See also: วัยหนุ่ม, พ่อหนุ่ม, Syn. boy, youth | lag | (vi) ค่อยๆ อ่อนล้าลง, See also: ค่อยๆ อ่อนแรง, Syn. flag | lag | (vi) ล้าหลัง, See also: เคลื่อนไหวช้า, พัฒนาอย่างเชื่องช้า, Syn. loiter, linger, delay | lam | (n) การหนีอย่างเร็ว, Syn. flight | lam | (vi) หนีอย่างรวดเร็ว, See also: หลบหนี, Syn. flee, escape | LAN | (abbr) โครงข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะบริเวณ เช่น ในอาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านาจะทำงานร่วมกันได้ ดึงโปรแกรมหรือข้อมูลจากกันและกันได้ แต่การทำเช่นนี้จะต้องใช้ซอฟแวร์ช่วยด้วย (คำย่อของ local area network) | Lao | (n) คนลาว | Lao | (n) ภาษาลาว | lap | (n) ส่วนที่เกินจากส่วนอื่นออกมา, See also: ส่วนที่แลบออกมา, Syn. extension, overlap | lap | (n) หน้าตัก, See also: ตัก, หน้าขา, Syn. seat, knees, tights | lap | (vt) ห่อหุ้ม, See also: หุ้ม, พัน | lap | (vi) ซัด (คลื่น) | lap | (vt) ซัด (คลื่น) | lap | (vi) เลีย, See also: ดื่มโดยใช้ลิ้นแตะน้ำ, Syn. lick in | lap | (vt) เลีย, See also: ดื่มโดยใช้ลิ้นแตะน้ำ, Syn. lick in | lav | (abbr) ห้องน้ำ (คำย่อของ lavatory) | law | (n) กฎหมาย, See also: ระเบียบ, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, ข้อกำหนด, กฎข้อบังคับ, Syn. rule, regulation, statute | law | (n) วิชากฎหมาย, See also: นิติศาสตร์ | lax | (adj) ซึ่งไม่เข้มงวด, Syn. careless | lax | (adj) ซึ่งออกเสียงไม่เกร็งลิ้น | lax | (adj) หลวม, See also: หย่อน, ไม่ตึง, ไม่แน่นหนา, Syn. loose | lay | (vt) ก่อตั้ง, See also: สร้าง, จัดตั้ง, วางราก, Syn. set up, establish | lay | (vt) กำหนด (หน้าที่, โทษ, ...), See also: มอบหมาย, Syn. impose | lay | (vt) คลี่, See also: ลาด, ปู, Syn. cover, spread | lay | (n) คู่นอน, See also: คู่ร่วมสังวาส, Syn. partner | lay | (vt) จัดโต๊ะ, See also: จัดเตรียมโต๊ะอาหาร, Syn. set, prepare | lay | (vt) จัดวางให้เหมาะสม, See also: วางให้เป็นระเบียบ | lay | (vi) ท้าพนัน, See also: วางเดิมพัน, Syn. bet, wager | lay | (vt) ท้าพนัน, See also: วางเดิมพัน, Syn. bet | lay | (vt) ทำให้เรียบ, Syn. smooth down | lay | (vt) ทำให้อยู่ในสภาพใดสภาพหนึ่ง, Syn. cause | lay | (vt) นำเสนอ, See also: นำไปแจ้ง, Syn. present, submit | lay | (vt) ฝัง (ศพ), Syn. bury | lay | (vi) วางไข่, See also: ออกไข่, Syn. produce | lay | (vt) วางลง, See also: วาง, พาด, Syn. deposit, set down, put, place | lay | (vt) เสพสังวาส (คำสแลง), See also: มีเพศสัมพันธ์, Syn. have sex | lay | (vt) อ้างเหตุผล, See also: ให้เหตุผล, Syn. attribute, impute, ascribe | lay | (vi) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา lie, Syn. rest | lay | (adj) เกี่ยวกับฆราวาส, See also: ไม่ใช่พระ | lay | (adj) ไม่เชี่ยวชาญพิเศษ, See also: ไม่มีความรู้พิเศษ, Syn. not trained, untrained | lay | (n) เรื่องเล่าหรือบทกลอนสั้นๆ, See also: บทกวีสั้นๆ, Syn. short poem | alar | (adj) เกี่ยวกับหรือมีปีก | alas | (int) คำอุทานแสดงความเศร้าหรือเสียใจ, See also: อนิจจา, พุทโธ่, โถ |
| a la | (อา' ลา) fr. ตามวิธีการของ...... | a la carte | (อา' ลาคาร์ท') fr. ซึ่งมีราคาติดไว้ที่ตัวอย่างอาหารแต่ละจาน | a la mode | (อาลาโมด') adj., adv. ตามแฟชั่น, บริการด้วยไอสกริม | ablactation | (แอบแลคเท' เชิน) n. การหยุดนม | ablate | (แอบ' เลท) vt., vi. ระเหยไป, ละลายหายไป, ขจัดออก-ablation n. -ablative adj. | ablaut | (อาบ' เลาทฺ, อาบ' เลาทฺ) n. การเปลี่ยนส่วนของคำ (โดยเฉพาะสระ) | ablaze | (อะเบลซ) adj. ไหม้, กำลังไหม้, สว่าง, เจิดจ้า, ตื่นเต้น, กระหาย, ต้องการมาก, อยาก | absentee landlord | เจ้าของที่ดินที่ไปอยู่ที่อื่น | acanthocephala | เป็นพยาธิชนิดหนึ่งที่มีหัวเป็นแฉกซึ่งเป็นปรสิตในสัตว์พวกมีกระดูกสันหลัง | acanthocephalan | (อะแคนโธเซฟ' ฟาแลน) พยาธิปากขอชนิดหนึ่งใน class Acanthocephala (parasitic worm) | acappella | (อะคาเพ็ล ละ) adj. แบบดนตรีในโบสถ์ | acclaim | (อะเคลม') vt., n. เปล่งเสียงด้วยความ ยินดี, โห่ร้องต้อนรับ, สนับสนุนด้วยการโห่ร้อง, เสียงไชโยโห่ร้อง -acclamation n., Syn. hail | accommodation ladder | บันไดข้างกาบเรือ | accumulator | ตัวสะสมเป็นหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic and logical unit) ของคอมพิวเตอร์ เป็นที่ใช้สำหรับเก็บผลบวก หรือ การคำนวณอื่น ๆ และผลของการเปรียบเทียบเอาไว้ ถ้ามีหลายตัว มักเรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) ดู register ประกอบ | acetolase | เอนไซม์ที่กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงแอลกอฮอลล์เป็น acetic acid | acetylate | (อะเซท' ทิเลท) chem., vt. ใส่ acetyl group (s) ., Syn. acetylyze | achlamydeous | (แอคละมิค' เดียส) adj., Bot. ซึ่งไร้ calyx และไร้ corolla | achondroplasia | (แอคคอนโดรเพล' เซีย) n. ความบกพร่องของการเปลี่ยนจากกระดูกอ่อนเป็นกระดูก ทำให้ร่างแคระ. -achondroplastic adj. | achrondroplasia | โรคกระดูกของทารกในครรภ์ทำให้แคระ | acicula | (อะซิค' คิวละ) n. (pl. -lae) ส่วนที่คล้ายเข็ม, หนาม. (needlelike part) | acicular | (อะซิค' คิวลาร์) adj. มีรูปคล้ายเข็ม | aciculate | (อะซิค' คิวเลท) adj. มีรูปคล้ายเข็ม | acidulate | (อะซิด' คิวเลท) vt. ทำให้เป็นกรด | aclassis | ภาวะที่เนื้อเยื่อเจริญผิดปกติกลมกลืนเข้ากับเนื้อเยื่อธรรมดา | acylate | (แอส' ซิเลท) vt., chem. ใส่ acyl group เข้าไป | adrenal gland | ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด | adulate | (แอด' ดิวเลท) vt. ประจบ, สอพลอ. -adulator n., Syn. flatter | aerial ladder | บรรไดยาที่ยึดออกได้ (มักติดกับรถ) | aeroplane | (แอ' โรเพลน) n. เครี่องบิน, Syn. airplane | aesculapian | (เอส' คิวเล' เพียน) adj., n. เกี่ยวกับ Aesculapius, เกี่ยวกับแพทยศาสตร์, หมอ., Syn. Esculapian | aesculapius | (เอสคิวเล' เพียส) ชื่อเทพเจ้าแห่งแพทย์ของโรมัน (god of medicine) | afflatus | (อะเฟล' ทัส) n. การดลใจ, การดลใจจากเบื้องสวรรค์ (divine communication) | aflame | (อะเฟลม') adj. ลุกเป็นไฟ, กระตือรือร้น, Syn. on fire, burning | afro-asiatic languages n. | pl. กลุ่มของภาษาที่ใช้กันแพร่หลายในอาฟริกาเหนือ และเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย Semitic, Egyptian, Berber, Cushitic, Chad., Syn. Hamito-Semitic languages | air bladder | ถุงลม, กระเพาะปลา., Syn. gas bladder, swim bladder | air lane | เส้นทางการบิน, สายการบิน | airplane | (แอร์'เพลน) n. เครื่องบิน. | akela | (อิคี' ละ) n. ผู้นำ | ala. | abbr. Alabama | alabamine | (แอล' ละแบมมิน) n., chem. astaine; มีสัญลักษณ์ Ab (astatine) | alabaster | (แอล' ละเบสเทอะ, -บาส' เทอะ) n. หินปูนชนิดหนึ่งที่เป็น gypsum ลื่นและขาวสะอาด. -alabastrine adj. | alack | (อะแลค') interj. อนิจจา, อนิจจัง. | alacrity | (อะแลค' ริที) n. ความกระตือรือร้น, ความฮึกเหิม, ความคล่องแคล่ว, ความเต็มใจ | aladdin | (อะแลด' ดิน) n. อาละดินในนวนิยายอาหรับราตรีเป็นเจ้าของตะเกียงวิเศษที่สามารถเนรมิตทุกสิ่งทุกอย่างได้, ของวิเศษ | aladin | เป็นชื่อตัวละครซึ่งเป็นพระเอกในเรื่องยักษ์ในตะเกียงวิเศษอะลาดิน | alae | (เอ' ลี) n. พหูพจน์ของ ala | alamanni | (แอลละแมน' ไน) n, .pl. =Alemanni | alameda | (แอลละมี' ดะ) n. ทางเดินสาธารณะที่มีร่มเงาต้นไม้, ทางเดินเล่น | alanine | (แอล' ลานิน) n. amine acid ชนิดหนึ่งในธรรมชาติ | alar | (เอ' ลาร์) adj. เกี่ยวกับหรือมีปีก, คล้ายปีก |
| ablaze | (adj) ไหม้, ติดไฟ, สว่าง, โชติช่วง | acclaim | (n) การโห่ร้อง, เสียงไชโยโห่ร้อง | acclaim | (vi, vt) ร้องไชโย, โห่ร้อง | acclamation | (n) การโห่ร้อง, เสียงไชโยโห่ร้อง | accolade | (n) การได้รับเกียรติ | accumulate | (vi, vt) เก็บสะสม, รวบรวม, เพิ่มพูน, เพิ่มขึ้น | accumulation | (n) การเก็บสะสม, การรวบรวม | adulate | (vt) ยกย่องสรรเสริญ, ประจบสอพลอ | adulation | (n) การยกย่องสรรเสริญ, การประจบสอพลอ | aeroplane | (n) เครื่องบิน | aflame | (adj, adv) ลุกเป็นไฟ, สว่าง | airplane | (n) เครื่องบิน | alabaster | (adj) ขาวบริสุทธิ์, ขาวสะอาด, ขาวเกลี้ยง | alabaster | (n) เศวตศิลา, หินปูนชนิดหนึ่ง | alacrity | (n) ความกระชุ่มกระชวย, ความกระตือรือร้น, ความว่องไว | alarm | (n) สัญญาณเตือนภัย, ความตกใจกลัว | alarm | (vt) ทำให้ตื่นตกใจ, ปลุก, ทำให้ตกใจกลัว | allay | (vt) ทำให้สงบ, บรรเทา, ทำให้น้อยลง, ระงับ | ambulance | (n) รถพยาบาล, รถฉุกเฉิน | angular | (adj) ซึ่งเป็นมุม | angularity | (n) มุมแหลม, การมีรูปเป็นมุม | annihilate | (vt) ทำลายล้าง, ทำลาย | annihilation | (n) การทำลายล้าง, การทำลาย | annular | (adj) เป็นรูปวงแหวน, เป็นวงกลม | antislavery | (n) การต่อต้านระบบทาส | appellant | (adj) ซึ่งร้องเรียน, ซึ่งอุทธรณ์, ซึ่งอ้อนวอน | appellant | (n) ผู้ร้องเรียน, ผู้อุทธรณ์, ผู้อ้อนวอน | applaud | (vt) ชมเชย, ปรบมือให้, สรรเสริญ | applause | (n) การปรบมือ, การสรรเสริญ | archipelago | (n) หมู่เกาะ | articulate | (adj) ที่ติดต่อกัน, ที่เป็นข้อ, ที่เป็นปล้อง | articulate | (vi, vt) ต่อกัน, เรียง, ประกบ, เป็นข้อ, เป็นปล้อง, ออกเสียงชัด | articulation | (n) การพูดชัดแจ้ง, การเชื่อม, การประกบ, ปล้อง, ข้อต่อ | aslant | (adv) เอียง, เบน, เฉ, เฉียง, เบี่ยง | assailant | (n) ผู้ทำร้าย, ผู้โจมตี, ผู้ป้ายร้าย | assemblage | (n) การชุมนุม, การมั่วสุม, ฝูงชน | assimilate | (vt) ทำให้เหมือนกัน, ย่อย, ดูดซึม, รับไว้ | assimilation | (n) ความคล้ายกัน, การเอาอย่าง, การย่อย, การดูดซึม | Atlantic | (n) มหาสมุทรแอตแลนติก | atlas | (n) สมุดแผนที่ | auricular | (adj) เกี่ยวกับหู, เกี่ยวกับโสตประสาท | availability | (n) การหาได้ง่าย, การหามาได้ | available | (adj) หาง่าย, หาได้, ใช้เป็นประโยชน์ได้ | avalanche | (n) สิ่งที่พังทลายลงมา | balance | (n) ความสมดุล, ดุลยภาพ, คันชั่ง, ตาชู, ตาเต็ง, ตาชั่ง | balance | (vt) ทำให้เท่ากัน, ทำให้สมดุล | ballad | (n) โคลง, บทกวี | ballast | (n) อับเฉาเรือ | ballast | (vt) ถ่วงน้ำหนัก, ทำให้มั่นคง | bedlam | (n) โรงพยาบาลบ้า |
| polar | ๑. -ขั้ว๒. เส้นเชิงขั้ว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | polar angle | มุมเชิงขั้ว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | polar axis | แกนเชิงขั้ว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | polar coordinates | พิกัดเชิงขั้ว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | polar curve | เส้นโค้งเชิงขั้ว [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | private international law | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | private international law | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล [ ดู jus civile ความหมายที่ ๒ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | private law | กฎหมายเอกชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | private law | กฎหมายเอกชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pseudoneoplasm; pseudotumor; pseudotumour | เนื้องอกเสมือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pseudoplakton; epiplankton | แพลงก์ตอนเทียม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | pseudoplasmodium | พลาสโมเดียมเทียม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | proximal phalanx | กระดูกนิ้วท่อนต้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pistillate | มีเกสรเพศเมีย [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | pistillate flower; carpellated flower | ดอกเพศเมีย [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | partible lands | ที่ดินที่อาจแบ่งแยกได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | primary reinsurance clause | ข้อกำหนดความรับผิดต่อผู้เอาประกันภัยเริ่มแรก [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | phylloclade; cladode; cladophyll | ลำต้นคล้ายใบ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | phylogenetic classification | การจำแนกตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | perspiratory gland; gland, sudoriparous; gland, sweat | ต่อมเหงื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pericholangitis; periangiocholitis | การอักเสบรอบท่อน้ำดี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | perpendicular | ๑. ตั้งฉาก๒. เส้นตั้งฉาก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | Pan-Islamism | อุดมการณ์รวมกลุ่มอิสลาม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pancake engine; boxer engine; flat engine; horizontally opposed engine | เครื่องยนต์สูบนอนยันกัน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | postmalarial; postpaludal | -หลังเป็นไข้จับสั่น, -หลังเป็นมาลาเรีย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | plasma | พลาสมา [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | plasma arc | อาร์กพลาสมา [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | plasma arc cutting; arc plasma cutting | การตัดด้วยอาร์กพลาสมา [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | plasma arc welding; arc plasma welding | การเชื่อมด้วยอาร์กพลาสมา [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | plasma jet | พวยพลาสมา [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | plasma membrane; membrane, cell | เยื่อหุ้มเซลล์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | plasma membrane; cell membrane; plasmalemma | เยื่อหุ้มเซลล์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | plasma osmotic pressure; pressure, oncotic | ความดันออสโมซิสโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | plasma torch | หัวเชื่อมพลาสมา [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] | plasma volume | ปริมาตรน้ำเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | polyglandular | หลายต่อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | PCV (positive crankcase ventilation) | พีซีวี (การระบายไอห้องข้อเหวี่ยงแบบปิด) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | pressure, intraocular; tension, intraocular | ความดันในลูกตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pressure, intraventricular | ๑. ความดันในหัวใจห้องล่าง๒. ความดันในโพรงสมอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pressure, oncotic; pressure, plasma osmotic | ความดันออสโมซิสโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | probability of separation from the labour force | โอกาสที่จะออกจากกำลังแรงงาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | patient, ambulatory | คนไข้เดินได้, คนไข้ไปกลับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pasture land | ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์, ที่ดินสำหรับเลี้ยงสัตว์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | process, xiphoid; cartilage, ensiform; cartilage, xiphoid; cartilage, xyphoid; ensisternum; process, ensiform; process, xyphoid; xiphisternum | ลิ้นปี่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | process, xyphoid; cartilage, ensiform; cartilage, xiphoid; cartilage, xyphoid; ensisternum; process, ensiform; process, xiphoid; xiphisternum | ลิ้นปี่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prolapse of the intervertebral disk; prolapse of the intervertebral disc | หมอนกระดูกสันหลังยื่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prolapse of the iris | ม่านตาโผล่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prolapse of the mitral valve | ลิ้นไมทรัลปลิ้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prolapse of the rectum | ไส้ตรงยื่นย้อย, ดากโผล่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prolapse of the uterus | มดลูกยื่นย้อย, มดลูกโผล่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Language dictionary | พจนานุกรมภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Experiencing Collaborative | กิจกรรมความร่วมมือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Systematic Planning | กระบวนการวางแผนอย่างมีระบบ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Slang dictionary | พจนานุกรมคำสะแลง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Virtual classroom | ห้องเรียนเสมือน, <br />ห้องเรียนเสมือน<br /> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Metalanguage | อภิภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Atlas | หนังสือแผนที่ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Translator | ผู้แปล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Copyright law | กฎหมายลิขสิทธิ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Patent law and legislation | กฎหมายสิทธิบัตร [เทคโนโลยีการศึกษา] | Controlled language | ภาษาควบคุม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Natural language | ภาษาธรรมชาติ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Atlas | หนังสือแผนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Law and literature | กฎหมายกับวรรณกรรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Experiencing Collaborative | กิจกรรมความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Anonymous classic | งานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง, หนังสือแบบฉบับที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Book display | การแสดงหนังสือ, นิทรรศการหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bookplate | บรรณสิทธิ์ (หมายถึง ป้ายหรือตราประจำตัวของเจ้าของหนังสือ), Example: Bookplates เป็นเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์บอกประวัติการครอบครองหนังสือ คำว่า Bookplates นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ส่วนประเทศอื่นๆ ในยุโรปจะเรียกว่า เอ็กซ์ ลิบรีส์ (ex libris) ในภาษาละติน แปลว่า "จากห้องสมุดของ..." แล้วต่อด้วยอักษรย่อชื่อ ตราประจำตัว หรือตราประจำตระกูลของผู้เป็นเจ้าของหนังสือ <p> <p>ห้องสมุดในประเทศไทยนิยมการประทับตราเพื่อแสดงกรรมสิทธิ์ในหน้ารหัส (secret page) ของหนังสือเป็นส่วนมาก กลุ่มผู้ที่เริ่มใช้ bookplate ในประเทศไทย ได้แก่ พระบรมวงศานุวงศ์ <p>ตัวอย่างภาพ การแสดงกรรมสิทธิ์ของห้องสมุดหรือเจ้าของหนังสือ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120901-Book-Plate.jpg" width="300" higth="100" alt="Book-Plate"> <p>กรมพระจันทบุรีนฤนาท ทรงใช้พระนาม "กิติยากรวรลักษณ์" เขียนแล้วซับให้เป็นรูปตะขาบ ด้านบนมีข้อความว่า "สุวิชาโน ภวํ โหติ" <p>ตัวอย่าง ภาพ Book plate ในกรมพระจันทบุรีนฤนาท <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120901-Book-Plate2.JPG" width="300" higth="100" alt="Book-Plate2"> <p> <p> รายการอ้างอิง <p>อัมพร ทีขะระ. 2523. ห้องสมุดหนังสือหายาก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p>Make your own book plate. 2010. http://sew-thrifty.blogspot.com [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Circulation service | บริการจ่ายรับหนังสือ, บริการยืมคืนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Collation | บรรณลักษณ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Controlled language | ภาษาควบคุม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Controlled vocabulary | ศัพท์ควบคุม, ศัพท์บังคับ, Example: ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม (Controlled vocabulary) หมายถึง การกำหนดให้คำศัพท์คำหนึ่งทำหน้าที่ควบคุมคำศัพท์หลายคำที่มีความหมายอย่างเดียวกัน เพื่อให้มีความเป็นมาตรฐาน ลดความกำกวม เป็นช่องทางหนึ่งในการจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเนื้อหาหรือช่วยในการสืบค้นให้มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ คำศัพท์บังคับคำเดียวสามารถเข้าถึงเอกสารได้จำนวนมาก แม้ว่าจะเอกสารนั้นจะเขียนด้วยศัพท์ภาษาที่แตกต่างกัน การใช้ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมนี้ เป็นการใช้ภาษาดรรชนี (Indexing language) ซึ่งแตกต่างจากภาษาหรือคำที่ผู้เขียนกำหนดขึ้นเอง ซึ่งเรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (Natural language) ซึ่งมักจะปรากฏให้เห็นว่า มีคำเกิดขึ้นที่หลากหลาย ไม่เป็นแบบแผนเดียวกัน คำศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ถูกใช้ในการกำหนดเป็นหัวเรื่อง ศัพท์สัมพันธ์ (อรรถาภิธาน) แทกโซโนมี ฯลฯ <p>ข้อดีของศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม <p>การกำหนดให้ใช้ศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ในการเป็นตัวแทนเนื้อหาของสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการกำหนดคำที่เป็นตัวแทนของเนื้อหา เพื่อมิให้เนื้อหาเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์กระจัดกระจายไปตามคำศัพท์ที่มิได้เกิดจากการควบคุม ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หัวเรื่องภาษาอังกฤษของ Library of Congress Subject Headings จะมีการกำหนดคำที่ใช้แตกต่างกันระหว่างอเมริกาและอังกฤษ เช่น คำว่า color จะมีการกำหนดว่าให้ใช้คำว่า color ไม่ใช้ colour ซึ่งเมื่อสืบค้น ด้วยคำว่า color จะได้เนื้อหาที่มีการเขียนทั้งคำว่า color และ colour ได้อย่างครบถ้วน หรือคำว่า apartments จะถูกกำหนดให้ใช้ในการเป็นตัวแทนของเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว แต่จะไม่ใช้คำว่า flats <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมช่วยแก้ปัญหาคำพ้องรูป ซึ่งเป็นศัพท์ที่เขียนเหมือนกันแต่มีการใช้ต่างกัน (Homographs) เช่น คำว่า pool ความหมายหนึ่ง หมายถึง บ่อน้ำ สระน้ำ อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง เกมชนิดหนึ่ง ดังนั้น ในการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะมีคำขยายเพื่อให้ชัดเจนว่าหมายถึงเรื่องนั้น เช่น Pool (Game) หรือคำว่า เงาะ ซึ่งหมายถึง ผลไม้ชนิดหนึ่ง หรือชนกลุ่มน้อยก็ได้ คำว่า เงาะ ในการเป็นคำศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จึงหมายถึง ชื่อผลไม้ แต่ถ้าจะหมายถึง ชนกลุ่มน้อย จะมีการกำหนดให้ใช้เป็น เงาะ (กลุ่มชาติพันธุ์) <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม ถูกนำมาใช้ในลักษณะที่เป็นหัวเรื่อง (Subject headings) หรือศัพท์สัมพันธ์ (Thesaurus) หัวเรื่องที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ Library of Congress Subject Headings, Sear Subject Headings, Medical Subject Headings, Art & Architecture Thesaurus และ ERIC Thesaurus เป็นต้น <p>ตัวอย่าง Library of Congress Subject Headings ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำลักษณะของศัพท์สัมพันธ์เข้ามาประยุกต์ใช้ในการกำหนดหัวเรื่องด้วย ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์ของคำศัพท์ได้ดีขึ้น แม้ว่าจะไม่มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชานั้นๆ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120527-Controlled-Vocab.jpg" alt="Controlled Vocabulary"> <p>ในประเทศไทยมีการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมใช้เป็นคู่มือหัวเรื่องสำหรับการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทย เช่นเดียวกัน เช่น หัวเรื่องและวิธีการกำหนดหัวเรื่องสำหรับวัสดุสารนิเทศภาษาไทยของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย โดย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และหัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย ซึ่งจัดทำโดย คณะทำงานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ในภายหลังได้มีการปรับปรุงการกำหนดคำศัพท์บังคับนี้เป็นแบบศัพท์สัมพันธ์เช่นเดียวกับของ Library of Congress Subject Headings <p>การกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะดำเนินการโดยนักวิชาชีพ เช่น บรรณารักษ์ และนักเอกสารสนเทศ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา <p>บรรณานุกรม: <p>Library of Congress Classification Web. [ Online ] Available: http://classificationweb.net. Accessed: 2012-05-27. <p>ประดิษฐา ศิริพันธ์. “การใช้ศัพท์บังคับในการสืบค้นข้อสนเทศ”. หน้า 65-73 ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง Thesaurus Construction. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Copyright law | กฎหมายลิขสิทธิ์, Example: กฎหมายลิขสิทธิ์ คือ กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองสิทธิในทางวรรณกรรมและศิลปกรรม ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานจะได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมายนี้ ผู้ใดจะนำข้อความไปตีพิมพ์หรือแปลเป็นภาษาอื่นๆ หรือผลิตออกเผยแพร่โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้แต่งหรือเจ้าของผลงาน หรือเจ้าของลิขสิทธิ์มิได้ <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์ของแต่ละประเทศจะระบุให้สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์ส่งหนังสือที่พิมพ์ให้หอสมุดแห่งชาติเก็บรักษา ตามจำนวนที่กำหนด ส่วนใหญ่จะเป็นจำนวน 2 ฉบับ เพื่อเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในแต่ละประเทศ <p> <p>หนังสือภาษาต่างประเทศ จะมีการแจ้งลิขสิทธิ์ระบุไว้ที่หน้าลิขสิทธิ์หรือ copyright page ซึ่งก็คือ ด้านหลังของหน้าปกใน โดยจะปรากฏคำว่า Copyright หรือ © พร้อมทั้งชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี ค.ศ. ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>หนังสือภาษาไทย จะมีคำว่า สงวนลิขสิทธิ์ ปรากฏไว้ที่ด้านหลังหน้าปกใน เช่นเดียวกัน และมีการระบุชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี พ.ศ ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์มีความเกี่ยวข้องกับห้องสมุด เนื่องจากห้องสมุดมีงานลิขสิทธิ์หลายประเภทอยู่ในครอบครอง เช่น งานวรรณกรรม ในรูปของหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ในลักษณะต่างๆ ตลอดจนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีดิทัศน์ ฯลฯ สื่อบันทึกเสียงรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นเสียง เทปคาสเซทส์ งานศิลปกรรม เช่น ภาพวาด ภาพเขียน เป็นต้น <p> <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ ได้จำแนกสถานภาพของห้องสมุดที่เกี่ยวกับงานลิขสิทธิเป็น 4 ประำการ คือ <p>1. ในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน <p>2. ในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน <p>3. ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4. ในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ <p> <p>1. ห้องสมุดในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน ห้องสมุดเป็นผู้จัดซื้อ จัดหาสื่อต่างๆ เข้ามา แต่มิได้หมายความว่า ห้องสมุดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เพียงแต่ห้องสมุดมีกรรมสิทธิ์ในสื่อเหล่านั้น ห้องสมุด อาจนำมาไว้ให้บริการผู้อ่่านในห้องสมุดหรือยืมไปอ่าน หากไม่นำมาคืน ห้องสมุดสามารถใช้สิทธิทวงถามเพื่อให้นำมาคืนได้ แต่ห้องสมุดไม่มีสิทธิ์ที่จะทำซ้ำหรือดัดแปลง หรือเผยแพร่งานนั้นต่อสาธารณชนได้ หากไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น ห้องสมุดไม่สามารถนำหนังสือที่ซื้อมาทำสำเนาเข้าปกเป็นจำนวนหลายเล่ม เพื่อให้มีจำนวนหนังสือเพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องซื้อไม่ได้ เป็นต้น <p>2. ห้องสมุดในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน หมายถึง ห้องสมุดมิได้เป็นเจ้าของทรัพย์สิน แต่อยู่ในฐานะครอบครองทรัพย์สินเท่านั้น เจ้าของทรัพย์สินอาจให้ยืมหนังสือหรือสิ่งของบางรายการแก่ห้องสมุด และอาจระบุเงื่อนไขบางประการไว้ เช่น การนำสิ่งของมาแสดงในงานนิทรรศการ เมื่อครบกำหนดต้องคืน และห้องสมุดต้องรักษาทรัพย์สินนั้นๆ <p>3. ห้องสมุดในฐานะเข้าของลิขสิทธิ์ ห้ิองสมุดอาจจะเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานที่มีอยู่ในห้องสมุด การใช้งานลิขสิทธิ์ย่อมไม่มีปัญหาใดๆ เพียงแต่ดูแลลิขสิทธิ์ของตนเองเมื่อพบว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ในงานเหล่านั้น <p>4. ห้องสมุดในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ แต่เป็นผู้ที่จะใช้งานลิขสิทธิ์นั้นในขอบเขตการให้บริการของตน แต่โดยหลักแล้ว ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ ย่อมกระทำการที่กฎหมายให้เจ้าของลิขสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้งานลิขสิทธิ์อาจได้รับการปกป้องจากการกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิ์ ด้วยการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ <p>4.1 การกระทำโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4.2 การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว <p>4.3 การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ <p>4.4 การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>การกระทำโดยไ้ด้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ห้องสมุดตรวจสอบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์และทำการขออนุญาต โดยมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร และควรแจ้งว่าเป็นการใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา และขอความอนุเคราะห์ในการยกเว้นค่าใช้ลิขสิทธิ์ (กรณีที่เจ้าของลิขสิทธิ์อาจจะมีเงื่อนไข) <p>การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว งานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ย่อมตกเป็นสมบัติสาธารณะ ไม่ต้องขออนุญาตต่อผู้ใด ห้องสมุดอาจทำซ้ำ เพื่อการเก็บรักษาหรือเพื่อให้ผู้ใช้บริการยืมอ่านได้ <p>การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ สิ่งที่กฎหมายลิขสิทธิ์ระบุว่าไม่มีลิขสิทธิ์ คือ <p>1. ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ <p>2. รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย <p>3. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถ่น <p>4. คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ <p>5. คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่นจัดทำขึ้น <p> สิ่งต่างๆ ข้างต้น ไม่ถือว่าเป็นงานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดอาจทำซ้ำ ดัดแปลงหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ <p>การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ระบุข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวกับงานดำเนินงานของห้องสมุดหลายมาตรา มีทั้ืงบทเฉพาะเกี่ยวกับการทำซ้ำโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุด (มาตรา 34) บทบัญญัติทั่วไปสำหรับการพิจารณาข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์งานประเภทต่างๆ (มาตรา 32 และมาตรา 33) และบทบัญญัติเกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์เฉพาะประเภท (มาตร 35 ถึง 42) แต่ตัวบทกฎหมายนี้ก็ไม่ได้บัญญัติชัดเจนพอที่จะอ่านแล้วชี้ชัดได้ว่าการกระทำอย่างใดขนาดใดจะถือว่าต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ. "กฎหมายลิขสิทธิ์กับงานห้องสมุด" หน้า 5-25 ใน เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง ลิขสิทธิ์ในงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Claim | การทวง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Decimal classification | การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Enlarge edition | ฉบับแก้ไข [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Enlargement | ฉบับขยายตัวพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Irregular serial | สิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสาร มีกำหนดออกไม่สม่ำเสมอ, Example: <p>สิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสารที่มีกำหนดออกเผยแพร่ที่ไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก หรือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน <p>โดยปกติวารสารแต่ละชื่อ มีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน คือ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year ) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก กล่าวคือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน (Irregular) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Natural language | ภาษาธรรมชาติ, Example: ภาษาธรรมชาติ ในแง่ของการทำดรรชนี เพื่อใช้เป็นตัวแทนสารสนเทศนั้น หมายถึง คำที่มิเกิดจากการถูกกำหนดหรือบังคับใ้ห้ใช้ แต่เป็นการนำคำจากที่ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานกำหนดใช้เอง ซึ่งอาจจะไม่ตรงกับศัพท์บัญญัติ หรือศัพท์ควบคุมที่กำหนดให้ใช้ <p> <p>ภาษาธรราชาติ มักจะเป็นคำทันสมัยหรือยังมิได้ถูกกำหนดเป็นคำศัพท์ควบคุม ซึ่งสามารถทำให้สืบค้นเรื่องที่ตรงกับปัจจุบัน แต่จะมีข้อเสีย เนื่องจากภาษาธรรมชาติ มิได้มีการควบคุมคำที่มีความหมายเดียวกันและใช้แตกต่างกัน ทำให้เสียเวลาในการสืบค้น เนื่องจากต้องนึกคำที่จะต้องค้นหลายคำ ซึ่งต่างจากภาษาควบคุม ที่จะมีการควบคุมคำศัพท์ ทำให้มีมาตรฐานในการใช้คำดังกล่าวเป็นแนวทางเดียวกัน หมายถึง เรื่องเดียวกัน แต่อาจจะไม่ตรงกับคำที่ปรากฏในเนื้อหาของสารสนเทศและทันสมัย เนื่องจากภาษาควบคุมต้องมีการพิจารณากลั่นกรอง จึงจะสามารถกำหนดใช้ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Non-circulation | ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ให้ยืมออก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | No place of publication | ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ (มปท.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Patent law and legislation | กฎหมายสิทธิบัตร, Example: <p>กฎหมายสิทธิบัตร ได้แก่ พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และ พ.ร.บ. สิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตรเพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ <p>พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มี ๖ หมวด ๘๘ มาตรา รายละเอียดในภาพรวมมีสาระสำคัญดังนี้ <p>หมวด ๑ บททั่วไป ให้คำนิยาม ความหมายของคำ ได้แก่ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร การประดิษฐ์ กรรมวิธี แบบผลิตภัณฑ์ ผู้ทรงสิทธิบัตร ผู้ทรงอนุสิทธิบัตร คณะกรรมการ พนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี รัฐมนตรี <p>ตัวอย่าง นิยาม ความหมายของคำ "สิทธิบัตร" หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามที่กำหนดในหมวด ๒ และหมวด ๓ แห่งพระราชบัญญัตินี้ (หมวด ๒ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมวด ๓ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์) <p>หมวด ๒ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ <p>-ส่วนที่ ๑ การขอรับสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๒ การออกสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๓ สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๔ การชำระค่าธรรมเนียมรายปี <p>-ส่วนที่ ๕ การใช้สิทธิตามสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๖ การคืนสิทธิบัตร การเลิกข้อถือสิทธิ และการเพิกถอนสิทธิบัตร <p>หมวด ๓ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ <p>หมวด ๔ คณะกรรมการสิทธิบัตร <p>หมวด ๕ เบ็ดเตล็ด <p>หมวด ๖ ความผิดและกำหนดโทษ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Place of publication | สถานที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Relative index | ดรรชนีสัมพันธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Translator | ผู้แปล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Universal Decimal Classification | ระบบทศนิยมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Machine translating | การแปลภาษาด้วยเครื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Aflatoxin | อะฟลาทอกซิน เป็นสารพิษชนิดหนึ่งที่ผลิตโดยเชื้อราแอสเปอร์จิลลัสฟลาวัส และแอสเปอร์จิลลัส พาราวิติกัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Lactic acid bacteria | แบคทีเรียกรดแล็กติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Natural latex | น้ำยางธรรมชาติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Vulcanised latex | น้ำยางวัลคาไนซ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| *tortilla* | (n) แผ่นแป้งตอติญ่า | 5-5 NEWTON'S SECOND LAW All the definitions, experiments, and observations that we h | 5-5 NEWTON'S SECOND LAW All the definitions, experiments, and observations that we have described so far can be summarized in a simple vector equation, which is called Newton's second law of motion: | accolade | ส่วนที่ประดับบนประตูโค้ง มักเป็นเส้นโค้งรูปตัวเอสที่มาบรรจบกันตรงกลาง แต่ละส่วนจะโค้งเว้าออกไปทางส่วนปลายและจะนูนออกไปทางจุดที่เส้นบรรจบกัน | accumulate | (vt) English - Thai, Loy's Dictionary Browse accumulate vt. อะคิ้วมิวเล็ท (อย่าอ่านเป็น แอ็กฯ) (ม.ปลาย) 1. สะสม, รวบรวม : I want to accumulate more paintings. | aila | (n, slang) ใช้เรียกคนผมสีทองที่งี่เง่า! ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) | air layering | (n) Form of layering wounded and then surrounded in a moisture-retaining wrapper, which is further surrounded in a moisture barrier. | all over the place | สับสน (confused) | alprazolam | ใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการรักษาความวิตกกังวลเล็กน้อยถึงปานกลาง | anti-trust laws | (n) กฎหมายต่อต้านการทุ่มตลาด | anti-trust laws | (n) กฎหมายการป้องกันการผูกขาดทางการค้า | Antineoplastic Drugs | ยับยั้งหรือป้องกันการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของเนื้องอกหรือเซลล์มะเร็ง | apilak | [อภิลักษณ์] (n) [ อภิลักษณ์ ] คำนามของไทยคำหนึ่ง มักใช้ตั้งชื่อบุคคล มีความหมายคือ ผู้ซึ่งมี ลักษณะใหญ่โตมโหฬาร Name of person(Thai people) mean "Big Character" | Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด | armillary sphere | (n, uniq) แบบจำลองซึ่งประกอบด้วยวงแหวนแสดงตำแหน่งดวงดาวในจักรวาล | armillary sphere | (n) วงแหวนจำลองตำแหน่งดวงดาวในจักรวาล | artificial language | ภาษาประดิษฐ์ | astrolabe | นาฬิกาดาว | at a glance | (phrase) ปรายตา, ชำเลืองมอง, มองผ่าน ๆ ก็เข้าใจ | atlanticist | (n) ผู้นิยมแนวคิดที่สนับสนุนการให้ความร่วมมือกันในทางการเมือง, เศรษฐกิจ, และการทหาร ระหว่างประเทศในยุโรปตะวันตกและอเมริกาเหนือ, See also: Atlanticism | Backplane { f } [ comp. ] | (n) ด้านหลัง | better late than never | (phrase) มาช้ายังดีกว่าไม่มา | better late than never | (phrase) มาช้ายังดีกว่าไม่มา | better late than never | (phrase) มาช้ายังดีกว่าไม่มา | better late than never | (phrase) มาช้ายังดีกว่าไม่มา | bi-polar | (slang) ผีเข้าผีออก, เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย | bilander | เรือใบสองเสาชนิดหนึ่ง ที่ใช้แล่นบริเวณชายฝั่งหรือบริเวณแม่น้ำลำคลอง | bilateral agreement | [ไบ-แล-เทอ-ราล อะ-กรี-เมนท] (n) ข้อตกลงระหว่างสองประเทศ (wikipedia.org) | bilateral pneumonia | (name, uniq) ลักษณะของปอดอักเสบทั้งสองข้าง | black death | (n) กาฬโรค, Syn. bubonic plague | black fungus | เห็ดหูหนู, See also: mushroom, Syn. ear mushroom | black out | (vi, phrase) ไฟดับ | black pudding | (n) ไส้กรอกเลือด | black tip shark | (n) ปลาฉลามครีบดำ | blackjack | (n) ที่ใส่เหล้าทำด้วยหนัง | blast furnace | เตาหลอมเหล็ก มีขนาดใหญ่และสูงที่ต้องใช้ลมเป่า | Brasilianischer Wassernabel { m } (Hydrocotyle leucocephala) | (n) ใบบัวบก | bronchodilator | (n) ยาขยายหลอดลม | Can’t complain | (phrase) ก็ดี, ก็ไม่เลว | carambola | (n) มะเฟือง, Syn. starfruit Image: | Ceramic glass | [เซ รา มิค กล๊าส] (n) แก้วเซรามิค | Chlamydomonas | (n) สาหร่ายริ้วรอย | chulatutor | จุฬาติวเตอร์ เป็นสถาบันที่ก่อตั้งโดยพี่เปิ้ล | cilantro | (n) ผักชี, Syn. Chinese parsley | clade | (n) เครือบรรพบุรุษ | clam | (n) หอยตลับ | clarion call | (vi) เสียงเรียกร้อง | classified advertisement | (n, phrase) โฆษณาย่อย | classifying | (n) การจำแนกประเภท | claymore | ชื่อดาบชนิดหนึ่งของชาวสก็อตแลนต์ เป็นดาบที่มีด้ามจับไขว้กัน เวลาใช้ต้องจับดาบสองมือ | coal-fired powed plant | (n) โรงไฟฟ้าถ่านหิน, โรงไฟฟ้าพลังถ่านหิน |
| A TIMO VUORENSOLA film | Ein Film von TIMO VUORENSOLA Star Wreck: In the Pirkinning (2005) | Bella | Bella Lady and the Lamp (1979) | ♪ Of cops dying' in LA ♪ | Cops sterben in LA Straight Outta Compton (2015) | Shout out to my nigga Yella ♪ | Ein Gruß an meinen Nigga Yella Straight Outta Compton (2015) | Mother's already nutsy koo koo Nutsy koo koo | Die Mutter ist schon leicht ballaballa Ballaballa Hotel Transylvania 2 (2015) | Happy birthday, dear Nikola | Zum Geburtstag, liebe Nikola Trumbo (2015) | ♪ And I'd do anything just to see her face ♪ | WEIHNACHTSTRAUMWUNSCH SPENDENGALA November Rule (2015) | ♪ That has been knocked down ♪ ♪ And ain't nobody lend a hand ♪ | SILVESTERGALA November Rule (2015) | ♪ Come on ♪ [ cheering ] [ dance music playing ] | SILVESTERGALA November Rule (2015) | ♪ Pinot Noir, candy bar ♪ | Peeno Noir, Tralalala Kimmy Goes to School! (2015) | Uh, we went back to the Stone Age on all the abducted women in New York with that same description-- five foot-two, eyes of blue, fake updates, yada yada yada. | Wir sind bis in die Steinzeit zurück für alle in New York entführen Frauen, auf die die Beschreibung passt: 1, 58, blaue Augen, gefälschte Updates, bla, bla, bla Selfie 2.0 (2015) | Well, you know, I've got a ton of work to do, so... you know, it requires a lot of research. | Ach, weißt du, ich hab so viel Arbeit. Verlauf Freundin von Jacob Webmail seltsame Stuhlfarbe wie viel Valium benötigt man um sich selbst zu töten Adoptionsagenturen in LA The Meddler (2015) | Regards, Paula | Gruß Paula Anatomy (2000) | OEDIPUS BY FRANÇOIS KUBIELA | Ödipus von François Kubiela Orphée (2015) | CHUNG-IL VILLA | CHUNG-IL-VILLA Journalist (2015) | If you sing for me, la-la-la-la-la-la | (singen) If you sing for me Lalalala The Disappointments Room (2016) | If you sing for me, la-la-la-la-la-la | (singen) If you sing for me Lalalala The Disappointments Room (2016) | ♪ They Dr. Doom you To your fate out here ♪ | Sie schicken Dr. Doom Das ist dein Schicksal Häuten dich wie einen Chinchilla Seek Those Who Fan Your Flames (2016) | ONE MAN AND HIS COW | In seinem Kopf, la, la, la One Man and His Cow (2016) | - Oh, Angela. | - Angela The Last Shot at a Second Chance (2016) | What were you thinking, showing Willa | Was hast du dir dabei gedacht, Willa Landslide (2016) | In the city of LA | In the city of LA CHIPS (2017) | "COAGULA: synthesis. | SIEHE, DIE COAGULA Get Out (2017) | Hello Jamilla | Hallo Jamilla Har du en dårlig dag? (2017) | [ upbeat electronic music playing ] | J-BAK SOMMERGALA You Want a War? (2017) | LAPD accusing the L.A. Sheriff's Department | Das LAPD beschuldigt ohne Beweise das LA Lawmen (2017) | GUATEMALA CITY GUATEMALA | GUATEMALA-STADT GUATEMALA Episode #1.5 (2017) | - GUATEMALA BORDER | - GUATEMALA Episode #1.6 (2017) | WELCOME TO THE REPUBLIC OF GUATEMALA | WILLKOMMEN IN DER REPUBLIK GUATEMALA Episode #1.6 (2017) | GUATEMALA CITY GUATEMALA | GUATEMALA-STADT GUATEMALA Episode #1.6 (2017) | HERRERÍAS DRUG LORD IN GUATEMALA | HERRERÍAS DROGENHAUPTHÄNDLER IN GUATEMALA Episode #1.6 (2017) | BORDER CHECKPOINT GUATEMALA | INTERNATIONALE GRENZKONTROLLE GUATEMALA Episode #1.6 (2017) | GUATEMALA CITY GUATEMALA | GUATEMALA-STADT GUATEMALA Episode #1.6 (2017) | "Here we go, Shangri-La, Shangri-La | "Geh'n wir, Shangri-La, Shangri-La Lost Horizon (1937) | When I exhibit them, what do I get? | Das ECHTE SKELETT DES GRAFEN DRACULA House of Frankenstein (1944) | Insurance that Mr Flusky I welcome the Minyago Yugilla. -Where? | - Bei Mr. Flusky, in Minyago Yugilla Under Capricorn (1949) | Cinderella | Cinderella Cinderella (1950) | Cinderella | Cinderella Cinderella (1950) | Cinderella | Cinderella Cinderella (1950) | Cinderella | Cinderella Cinderella (1950) | Cinderelly, Cinderelly Night and day it's Cinderelly | Cinderella, Cinderella Tag und Nacht nur Cinderella Cinderella (1950) | - Keep her busy, Cinderelly | - Hurtig, hurtig, Cinderella Cinderella (1950) | In the lovely dress we make for Cinderelly | Unsre liebe gute kleine Cinderella Cinderella (1950) | And we'll make a lovely dress for Cinderelly, whoo | Hurtig machen wir das Kleid für Cinderella Cinderella (1950) | We'll make a lovely dress for Cinderelly | Das Kleid für unsre liebe Cinderella Cinderella (1950) | Now the first drop Sing fa-la-la-la-la-la-la. | Jetzt den ersten Tropfen Fal-la-la-la-la-la-la Summer with Monika (1953) | Cinderella | Cinderella Cinderella (2006) | Hey-la, hey-la | Hey-la, hey-la Jersey Boys (2014) | La, la, la, la, la, la | ลา ลา ลา ... The Nightmare Before Christmas (1993) | La, la, la, la, la, la | ลา ลา ลา ... The Nightmare Before Christmas (1993) |
| ตามกฎหมาย | (adv) according to law, See also: according to the law, legally, Syn. โดยชอบด้วยกฎหมาย, Example: หนังสือลาออกของนายพรพจน์ยังไม่ทันมีผลตามกฎหมาย เรื่องราวก็จบลงเสียก่อน, Thai Definition: ถูกต้องตามกฎหมาย | ที่พึ่งสุดท้าย | (n) last resort, Ant. ที่พึ่งแรก, Example: เกษตรกรอยากจะมีธ.ก.ส. เป็นที่พึ่งสุดท้าย เพราะธ.ก.ส. เป็นสถาบันการเงินที่ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ | ความโก้หรู | (n) luxury, See also: profuseness, lavishness, extravagance, Syn. ความภูมิฐาน, ความหรูหรา, Example: ยี่ห้อของรถยนต์แสดงสถานภาพของความโก้หรูของคนในสังคม | ความเด่นดัง | (n) fame, See also: greatness, known, distinction, popularity, eminence, reputation, Syn. ความเด่น, ความดัง, Example: ดาราบางคนจัดกิจกรรมเพื่อผู้ด้อยโอกาสเป็นแล้วออกข่าวเผยแพร่ค่อนข้างใหญ่โตก็มีจุดประสงค์เพื่อความเด่นดังของตนเอง | ความเป็นไป | (n) possibility, See also: plausibility, feasibility, Example: กระแสเสียงแห่งความแคลงใจต่อความเป็นไปของเหตุการณ์นี้ยังมีที่ค้างคาอยู่ในจิตใจของประชาชน | ความหลากหลาย | (n) variety, See also: diversity, miscellany, Example: ความหลากหลายของพืชพันธ์ที่นำมาปลูกทำให้ดินเกิดสภาพสมดุลขึ้นมาได้, Thai Definition: มีหลายอย่างต่างๆ กัน | ภาษีโรงเรือนและที่ดิน | (n) property tax, See also: house and land tax, Example: ทุกๆ ปี ดิฉันได้ยื่นเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน โดยเสียภาษีประมาณปีละ 2-3 พันบาท, Thai Definition: ภาษีที่เรียกเก็บจากผู้รับประเมิน ผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นปีละครั้งตามค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น, Notes: (กฎหมาย) | คำร้องเรียน | (n) complaint, See also: case, suit, Syn. คำร้อง, คำร้องทุกข์, Example: นายกรัฐมนตรีได้รับคำร้องเรียนจากราษฎรเรื่องป่าไม้ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรที่จังหวัดขอนแก่น, Thai Definition: ข้อความที่ยื่นเรื่องราวต่อราชการเมื่อได้รับความเดือดร้อน | จัดเก็บ | (v) store, See also: hoard, gather, collect, stash, stockpile, accumulate, Example: การนำไมโครคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เป็นที่แพร่หลายอย่างมากทั้งนี้เพื่อช่วยในการจัดเก็บข้อมูลและบริหารงานให้เป็นไปอย่างมีระเบียบและรวดเร็ว | ช่วงใดช่วงหนึ่ง | (n) certain session, See also: particular session, Example: ความเร็วที่วัดได้มาจากความเร็วช่วงใดช่วงหนึ่งที่รถเคลื่อนที่ | ซื้อเวลา | (v) buy some time, See also: delay some time, extend some time, Syn. ยืดเวลา, Example: ก่อนที่จะเปิดฉากรบในช่วงนี้ผู้นำทำเนียบขาวพยายามซื้อเวลาด้วยการแอบเจรจาลับกับผู้นำแบกแดดเพื่อขอเจรจาอย่างสันติด, Thai Definition: พยามถ่วงเวลาให้นานออกไป | ดึกสงัด | (n) late night, Example: เสียงสุนัขหอนในยามดึกสงัดทำให้ฉันขนลุก, Thai Definition: ยามดึกที่เงียบสงัด | ตัวจริง | (n) on ground player, Ant. ตัวสำรอง, Example: นักฟุตบอลที่เป็นตัวจริงกำลังฝึกซ้อมอยู่ในสนาม, Thai Definition: นักกีฬาตัวจริงที่ทำการแข่งขัน | คนเขียน | (n) author, See also: writer, playwright, poet, essayist, novelist, Syn. ผู้เขียน, นักเขียน, ผู้แต่ง, Example: คนเขียนบทกวีเรื่องฤดูกาลได้แรงบันดาลใจจากสถานการณ์หนึ่งของสังคมในช่วงนั้น, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้แต่งหนังสือ | ตีความหมาย | (v) interpret, See also: comprehensible, explain, Syn. ตีความ, แปลความ, Example: เด็กจะตีความหมายของรูปร่างสิ่งของแตกต่างกันไปตามอายุของเขา, Thai Definition: กำหนดความหมาย, ให้ความหมาย | ตีโค้ง | (v) turn around, See also: wrench, move in a curved or circular path, Syn. เข้าโค้ง, Example: ส่วนหัวของเครื่องบินหักแล้วตีโค้งกลับก่อนจะควบสว่านพุ่งจมดิ่งไปในเหลือบเขาสูง | ถอนหงอก | (v) disrespect someone, See also: show a lack of respect, Thai Definition: ไม่นับถือความเป็นผู้ใหญ่, พูดว่าให้เสียผู้ใหญ่, Notes: (สำนวน) | ที่ผ่านมา | (adv) preceding, See also: last, Example: นี่ถือเป็นการเยือนสหรัฐครั้งแรกของผู้นำหมีขาวในรอบศตวรรษที่ผ่านมาเพื่อรื้อฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | ที่ลับตา | (n) unseen place, See also: blind spot, Example: นักศึกษาแอบพากันไปพลอดรักตามสุมทุมพุ่มไม้และที่ลับตาคน, Thai Definition: ที่ที่มิดชิดหรือห่างไกลจนพ้นสายตา | น้องเขย | (n) younger brother-in-law, Example: บ้านของน้องสาวน้องเขยอยู่ในรั้วเดียวกันกับบ้านคุณพ่อคุณแม่, Thai Definition: สามีของน้องสาว | น้ำแข็งเปล่า | (n) ice water, See also: plain ice water, Syn. น้ำแข็ง, Example: ลูกค้าสั่งน้ำแข็งเปล่าแก้วกับเป๊บซี่หนึ่งขวด | นิ่งนอนใจ | (v) be at ease, See also: be relaxed, have no emotion, motionless, refrain from action, Syn. นอนใจ, นิ่งเฉย, Example: กรมตำรวจไม่ได้นิ่งนอนใจในคดีหลังจากพบหลักฐานสำคัญที่เป็นประโยชน์ต่อคดี | ประกาศตัว | (v) declare oneself, See also: announce, proclaim, Example: กลุ่มผู้ประท้วงได้พยายามเคลื่อนไหวที่จะประกาศตัวจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นเพื่อต่อต้านรัฐบาล | ปลื้มปิติ | (v) rejoice at/over, See also: be glad, be joyful, be delighted, be pleased, Syn. ดีใจ, ปิติยินดี, ปิติ, ปลื้มใจ, Example: ประชาชนพากันปลื้มปิติเพราะกองทัพได้ชัยชนะ | ปูพื้น | (v) lay the foundation, See also: provide the basis, Example: บ้านหลังนี้ปูพื้นด้วยหินอ่อนซึ่งสั่งมาจากต่างประเทศ, Thai Definition: ลาดพื้นด้วยวัสดุชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น เสื่อ, ผ้า, กระเบื้อง | ปูพื้น | (v) lay the floor, See also: put down the flooring, Syn. ปูพื้นฐาน, Example: เนื้อหาสาระในวิชานี้ จะปูพื้นให้นิสิตนักศึกษาได้ทราบเกี่ยวกับฐานข้อมูลอย่างกว้างๆ เท่านั้น, Thai Definition: ทำให้เข้าใจในสิ่งที่เป็นพื้นฐาน | ผิดกฎหมาย | (v) be illegal, See also: be against the law, Ant. ถูกกฎหมาย, Example: กสท. ยืนยันว่าบริการอินเทอร์เน็ตฟรีของทศท. นั้นผิดกฎหมาย, Thai Definition: ไม่เป็นไปตามกฎหมายที่กำหนดไว้ | ผู้ฆ่า | (n) killer, See also: slayer, Syn. คนฆ่า, Example: เจ้าหน้าที่ตำรวจพยายามสืบหาผู้ฆ่าเจ้าของบริษัท, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ทำให้ตาย | ผู้บงการ | (n) instigator, See also: manipulator, Syn. คนบงการ, Example: เจ้าพ่อชิคาโกผู้นี้ เคยเป็นผู้บงการสั่งฆ่าคนนับไม่ถ้วน, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ควบคุมดูแลสั่งการอย่างเฉียบขาด | ผู้ร้องทุกข์ | (n) complainer, See also: one who registers a complaint, Ant. ผู้รับร้องทุกข์, Example: นายดุสิตได้เดินทางไปให้ปากคำที่กองปราบปรามในฐานะผู้ร้องทุกข์, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่เข้ามาบอกถึงความทุกข์เพื่อขอให้ช่วยเหลือ | ผู้รักษาการ | (n) one acting temporarily in place of, Syn. คนรักษาการ, Example: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แต่งตั้งผู้รักษาการในตำแหน่งรองอธิการบดี, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่แทนชั่วคราว | ผู้เรียกร้อง | (n) one who demands, See also: claimant, Syn. คนเรียกร้อง, Ant. ผู้ให้, Example: ไม่มีใครเชื่อว่าเขาคือผู้เรียกร้อง ให้นายกรัฐมนตรีปลดรองอธิบดีออกจากตำแหน่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้แสดงความต้องการให้ผู้อื่นให้สิ่งของหรือให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง | ผู้ละเมิด | (n) violator, See also: transgressor, Syn. ผู้ล่วงละเมิด, Example: ผู้ละเมิดกฎแห่งศีลธรรมจรรยาของสังคมย่อมถูกลงโทษ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้กระทำการล่วงออกไปจากกรอบที่กำหนดไว้ | ผังงาน | (n) plan, See also: scheme, chart, Syn. แผนผังงาน, Example: โปรแกรมที่ซับซ้อนต้องเขียนผังงานหลายหน้ากระดาษ, Count Unit: ผัง, Thai Definition: แบบที่เขียนย่อหรือขยายจากของต่างๆ เพื่อใช้ในการทำงาน | พระบรมราโชวาท | (n) royal guidance/tutelage, Example: ..ความสงบความรู้ความเข้าใจคือหลักใหญ่ในการพัฒนา” คือ พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Count Unit: องค์, Thai Definition: ถ้อยคำที่พระมหากษัตริย์แนะนำตักเตือนหรือสั่งสอน มักกล่าวแก่ที่ประชุม | พังครืน | (v) collapse, See also: crash, Example: ความแรงของน้ำที่ไหลบ่ามาทำให้ขอบตลิ่งพังครืน, Thai Definition: พังทลายลงมา | พื้นหญ้า | (n) grassland, See also: green, Example: สนามแห่งนั้นเป็นพื้นหญ้าสีเขียวขจี และมีอุปกรณ์การเล่นสำหรับเด็กจัดตั้งไว้อย่างเป็นสัดส่วน, Thai Definition: พื้นที่มีหญ้าปกคลุม | มั่นคงถาวร | (v) last, See also: be permanent, be constant, Syn. คงทนถาวร, Ant. ชั่วครั้งชั่วคราว, Thai Definition: อยู่ได้นาน | มีแผน | (v) plan, See also: have a plan, Example: เขาสงสัยว่าที่หลานชายทำดีกับเขานั้น ต้องมีแผนอะไรสักอย่าง, Thai Definition: กำหนดสิ่งที่จะกระทำไว้ล่วงหน้า | มีระดับ | (v) be high class, See also: be luxurious, be lavish, fancy, be first-class, Syn. หรูหรา, Example: เธอพิถีพิถันกับการแต่งตัว เสื้อผ้าทุกชิ้นจะต้องมีระดับ | มืดทึบ | (adj) pitch-dark, See also: pitch-black, Ant. สว่างจ้า, ใสสว่าง, Example: ชายแก่เดินออกมาจากมุมห้องอันมืดทึบ, Thai Definition: ลักษณะที่มืดมากเพราะแสงสว่างเข้าไม่ถึง | ยอดนิยม | (adj) highly popular, See also: highly fashionable, Example: จูเลียโรเบิร์ตครองรางวัลดาราหญิงยอดนิยมจากรายการพีเพิลส์ช้อยส์อวอร์ดส์, Thai Definition: มีคนนิยมมาก | พืชพรรณ | (n) florae, See also: various kinds of plants, Syn. พรรณไม้, Example: การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์มีวัตถุประสงค์ เพื่อชื่นชม ศึกษาเรียนรู้และเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพ พืชพรรณ และสัตว์ป่า, Count Unit: ชนิด, Thai Definition: พืชชนิดต่างๆ | ระดับโลก | (adj) world-class, See also: outstanding, Syn. ยิ่งใหญ่, สุดยอด, Example: ภายในห้องแสดงนิทรรศการเต็มไปด้วยชุดเครื่องเพชร จากร้านเพชรชื่อดังระดับโลก | ยาบำรุง | (n) tonic, See also: pick-me-up, stimulant, restorative, Example: ยาบำรุงที่คุณหมอให้ระหว่างตั้งครรภ์ มีส่วนประกอบหลักคือธาตุเหล็ก | ราบเรียบ | (adv) smoothly, See also: flatly, evenly, levelly, Ant. ขรุขระ, Example: เรือลำนั้นเคลื่อนไปข้างหน้าอย่างราบเรียบ, Thai Definition: อย่างราบเสมอกัน | ราบเรียบ | (adj) smooth, See also: flat, even, level, Example: ชายหนุ่มหันมาถามเธอด้วยน้ำเสียงราบเรียบ, Thai Definition: ลักษณะที่ราบเสมอกัน | ระยะหลัง | (adv) later, See also: in time, later on, Syn. ช่วงหลัง, Ant. ระยะแรก, ระยะต้น, ระยะเริ่มต้น, Example: การป้อนคำสั่งที่ต้องใช้ตัวอักษรหลายตัวเรียงต่อเนื่องกันทำให้เสียเวลา ระยะหลังจึงมีคนคิดพยายามหาวิธีการป้อนข้อมูลในรูปแบบอื่นขึ้นมา | ระวังตัว | (v) be alert, See also: be watchful, be vigilant, be on one's guard, be wide-awake, be on the lookout, Syn. ระวังเนื้อระวังตัว, รักษาตัว, ดูแลตัว, Example: ตลาดหลักทรัพย์ฯเริ่มมีมาตรการบางอย่าง เพื่อเตือนนักลงทุนให้ระวังตัวอยู่เสมอ | ร่ายยาว | (n) talk long in details, See also: thoroughly explain, Example: การแต่งร่ายยาวจะแต่งให้ยาวเท่าไรก็ได ้เป็นแต่ต้องเรียงคำให้คล้องจองกันตามข้อบังคับเท่านั้น, Thai Definition: ชื่อคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองแบบหนึ่ง |
| อาชีพอิสระ | [āchīp itsara] (n, exp) EN: freelance FR: indépendant [ m ] | แอลเอสดี | [Aēl.Ēs.Dī.] (n) EN: LSD (lysergic acid diethylamide) FR: L.S.D. = LSD [ m ] ; lysergamide [ m ] | แอ่ง | [aeng] (n) EN: depressed ground ; low-lying land ; shallow lake FR: dépression [ f ] ; enfoncement [ m ] | แอ่งดินเหนียว | [aeng dinnīo] (n, exp) FR: glaisière [ f ] | แอ่ว | [aēo] (v) EN: court ; woo ; serenade ; sing to FR: faire la cour ; courtiser | แอบ ๆ ซ่อน ๆ | [aēp-aēp søn-søn] (adv) EN: furtively ; surreptitiously ; covertly ; secretly ; stealthily FR: furtivement ; subrepticement ; sournoisement ; en secret ; à la dérobée | แอบอ้าง | [aēp-āng] (v) EN: claim, pretend that something is true FR: affirmer ; prétendre ; soutenir (que) | แอบดู | [aēp dū] (v, exp) EN: peep at ; peek at ; steal a glance at FR: épier ; regarder en douce ; observer secrètement | แอบมอง | [aēp møng] (v, exp) EN: steal a glance ; take a furtive glance ; peek ; peep FR: jeter un coup d'oeil (furtif) ; regarder furtivement | แอบมองดู | [aēp møngdū] (v, exp) FR: regarder à la dérobée | แอสตัน วิลล่า | [Aēstan Willā] (tm) EN: Aston villa FR: Aston Villa [ m ] | อาหาร | [āhān] (n) EN: food ; meal ; dish ; nutrition FR: nourriture [ f ] ; alimentation [ f ] ; aliment [ m ] ; repas [ m ] ; plat [ m ] ; cuisine [ f ] | อาหารมื้อสุดท้าย | [Āhān Meū Sutthāi] (n, prop) EN: The Last Supper FR: Cène [ f ] | อาหารนม | [āhān nom] (n, exp) EN: dairy product FR: produit lacté [ m ] | อาหารป่า | [āhān pā] (n, exp) EN: wild food ; jungle food FR: gibier [ m ] ; spécialité culinaire de la forêt [ f ] | อาหารประจำ | [āhān prajam] (n, exp) EN: regular meal | อาหารสำเร็จ | [āhān samret] (n, exp) EN: prepared food FR: plat préparé [ m ] | อาหารไทย | [āhān Thai] (n, exp) EN: Thai food ; Thai cuisine FR: cuisine thaïe [ f ] ; cuisine thaïlandaise [ f ] ; nourriture thaïe [ f ] | อาหารท้องถิ่น | [āhān thøngthin] (n, exp) EN: local dishes FR: plat du terroir [ m ] ; cuisine du terroir [ f ] | อาหารว่าง | [āhānwāng] (n, exp) EN: snack ; light meal ; refreshment FR: collation [ f ] ; léger repas [ m ] | อโหสิกรรม | [ahōsikam] (n) EN: non-existence of the consequences for sins ; cancellation of penalties for all sins ; forgiveness of sin FR: pardon [ m ] | ไอร์แลนด์ | [Ailaēn] (n, prop) EN: Ireland FR: Irlande [ f ] | เหนือ | [Ailaēn Neūa] (n, prop) EN: Northern Ireland FR: Irlande du Nord [ f ] | ไอศกรีม | [aisakrīm] (n) EN: ice cream FR: glace [ f ] | ไอศกรีมวานิลลา | [aisakrīm wānillā] (n, exp) FR: glace à la vanille [ f ] | ไอติม | [aitim] (n) EN: ice cream FR: glace [ f ] | อัยการ | [aiyakān] (n) EN: public prosecutor ; crown prosecutor ; public attorney ; state attorney FR: procureur général [ m ] ; procureur de la République [ m ] | อาจิณ | [ājin] (adv) EN: regularly ; always ; often ; frequently ; habitually FR: habituellement | อากาศเลว | [ākāt lēo] (n, exp) EN: bad weather ; foul weather FR: la météo est médiocre | อากาศยาน | [ākātsayān] (n) EN: aircraft ; airplane ; aeroplane ; airship FR: avion [ m ] | อากาเว่ | [ākāwē] (n, exp) EN: Century Plant ; Agave ; maguey ; Agave americana FR: agave [ m ] | อาคารเรียน | [ākhān rīen] (n, exp) EN: school building ; education building FR: bâtiment scolaire [ m ] | อาเค่น | [Ākhēn] (tm) EN: Aachen FR: Aix-la-Chapelle | อาเขย | [ā khoēi] (n, exp) EN: uncle-in-law | อัคคีภัย | [akkhīphai] (n) EN: fire ; conflagration ; blaze FR: incendie [ m ] | อักเสบ | [aksēp] (n) EN: inflammation FR: inflammation [ f ] | อักเสบ | [aksēp] (v) EN: inflame ; swell FR: infecter ; envenimer | อักษรกลาง | [aksøn klāng] (n, exp) EN: medium tone consonant ; middle-class letters FR: consonne moyenne [ f ] | อักษรโรมัน | [aksøn rōman] (n, exp) EN: Roman alphabet ; Latin alphabet FR: alphabet roman [ m ] | อักษรสามหมู่ | [aksøn sām mū] (n, exp) FR: les trois classes de consonnes [ fpl ] ; les trois classes consonantiques [ fpl ] | อักษรเสียงกลาง | [aksøn sīeng klāng] (n, exp) EN: medium tone consonant ; middle-class letters FR: consonne moyenne [ f ] | อักษรเสียงสูง | [aksøn sīeng sūng] (n, exp) EN: high-level consonant ; high-class letter FR: consonne haute [ f ] | อักษรเสียงต่ำ | [aksøn sīeng tam] (n, exp) EN: low-tone consonants ; low-class letters ; low consonant FR: consonne basse [ f ] | อักษรสูง | [aksøn sūng] (n, exp) EN: high-level consonant ; high-class letter FR: consonne haute [ f ] | อักษรต่ำ | [aksøn tam] (n, exp) EN: low-tone consonants ; low-class letters ; low consonant FR: consonne basse [ f ] | อลาเบส | [Alābēs] (tm) EN: Alaves FR: Alavés [ m ] | อะไหล่ | [alai] (n) EN: spares ; spare parts ; replacement parts FR: pièce détachée [ f ] ; pièce de rechange [ f ] | อาหลั่ย | [ālai] (n) EN: spares ; spare parts ; replacement parts FR: pièces détachées [ fpl ] ; pièce de rechange [ f ] | อำมาตย์ | [ammāt] (n) EN: elite bureaucrats ; high-ranking civil servants ; elite FR: élite bureaucratique [ f ] ; nomenklatura [ f ] ; aristocratie [ f ] | อมตะ | [ammata] (adj) EN: immortal ; imperishable ; deathless ; everlasting ; eternal ; undying ; long-lasting FR: immortel ; impérissable ; éternel ; sans fin |
| | | acanthocephala | (n) phylum or class of elongated wormlike parasites that live in the intestines of vertebrates: spiny-headed worms, Syn. phylum Acanthocephala | a cappella | (adj) sung without instrumental accompaniment | a cappella | (adv) without musical accompaniment | acerola | (n) acid red or yellow cherry-like fruit of a tropical American shrub very rich in vitamin C, Syn. surinam cherry, West Indian cherry, barbados cherry | acicula | (n) a needlelike part or structure of a plant or animal or crystal; as a spine or bristle or crystal | adrenal medulla | (n) the medulla of the adrenal gland; secretes epinephrine | agricola | (n) Roman general who was governor of Britain and extended Roman rule north to the Firth of Forth (37-93), Syn. Gnaeus Julius Agricola | akwa'ala | (n) a member of the Akwa'ala community in Baja California | akwa'ala | (n) a community of Native Americans who speak a Hokan language and live in Baja California | akwa'ala | (n) the Yuman language spoken by the Akwa'ala | ala | (n) a flat wing-shaped process or winglike part of an organism | ala | (n) a wing of an insect | alaska peninsula | (n) a peninsula of southwestern Alaska (a continuation of the Aleutian Islands) | albula | (n) type and sole genus of the family Albulidae, Syn. genus Albula | alsophila | (n) geometrid moths, Syn. genus Alsophila | alula | (n) scalelike structure between the base of the wing and the halter of a two-winged fly, Syn. calypter | ampulla | (n) the dilated portion of a canal or duct especially of the semicircular canals of the ear | ampulla | (n) a flask that has two handles; used by Romans for wines or oils | amygdala | (n) an almond-shaped neural structure in the anterior part of the temporal lobe of the cerebrum; intimately connected with the hypothalamus and the hippocampus and the cingulate gyrus; as part of the limbic system it plays an important role in motivation and emotional behavior, Syn. corpus amygdaloideum, amygdaloid nucleus | andryala | (n) any plant of the genus Andryala having milky sap and heads of bright yellow flowers | anemonella | (n) one species: rue anemone, Syn. genus Anemonella | angola | (n) a republic in southwestern Africa on the Atlantic Ocean; achieved independence from Portugal in 1975 and was the scene of civil war until 1990, Syn. Republic of Angola | anguilla | (n) a British colony in the West Indies | anguilla | (n) type genus of the Anguillidae: eels, Syn. genus Anguilla | anguillula | (n) a genus of Cephalobidae, Syn. genus Anguillula, Turbatrix, genus Turbatrix | anomala | (n) genus of beetles whose grubs feed mainly on roots of plants; includes several pests of cultivated grasses, Syn. genus Anomala | antarctic peninsula | (n) a large peninsula of Antarctica that extends some 1200 miles north toward South America; separates the Weddell Sea from the South Pacific, Syn. Palmer Peninsula | apalachicola | (n) a river in northwestern Florida formed by the confluence of the Chattahoochee River and the Flint River at the Florida border, Syn. Apalachicola River | aquila | (n) a constellation in the Milky Way near Cygnus; contains the star Altair | aquila | (n) the provincial capital of the Abruzzi region in central Italy, Syn. Aquila degli Abruzzi, L'Aquila | aquila | (n) a genus of Accipitridae, Syn. genus Aquila | arabian peninsula | (n) a peninsula between the Red Sea and the Persian Gulf; strategically important for its oil resources, Syn. Arabia | arcella | (n) an amoeba-like protozoan with a chitinous shell resembling an umbrella | areola | (n) small space in a tissue or body part such as the area between veins on a leaf or an insect's wing | areola | (n) small circular area such as that around the human nipple or an inflamed area around a pimple or insect bite, Syn. ring of color | armilla | (n) (archeology) a bracelet worn around the wrist or arm | armillariella | (n) a honey-colored diminutive form of genus Armillaria; grows in clusters; edible (when cooked) but most attention has been on how to get rid of it, Syn. genus Armillariella | artiodactyla | (n) an order of hooved mammals of the subclass Eutheria (including pigs and peccaries and hippopotami and members of the suborder Ruminantia) having an even number of functional toes, Syn. order Artiodactyla | arvicola | (n) in some classifications considered synonymous with Microtus, Syn. genus Arvicola | asperula | (n) woodruff, Syn. genus Asperula | attila | (n) king of the Huns; the most successful barbarian invader of the Roman Empire (406-453), Syn. Scourge of God, Attila the Hun, Scourge of the Gods | auricula | (n) yellow-flowered primrose native to Alps; commonly cultivated, Syn. bear's ear, Primula auricula | auricula | (n) a pouch projecting from the top front of each atrium of the heart, Syn. auricular appendage, auricular appendix | azolla | (n) a genus of fern sometimes placed in its own family Azollaceae, Syn. genus Azolla | bairdiella | (n) drumfish, Syn. genus Bairdiella | balkan peninsula | (n) a large peninsula in southeastern Europe containing the Balkan Mountain Range, Syn. Balkans | banderilla | (n) a decorated dart that is implanted in the neck or shoulders of the bull during a bull fight | barilla | (n) Algerian plant formerly burned to obtain calcium carbonate, Syn. Halogeton souda | barranquilla | (n) a port city of northern Colombia near the Caribbean on the Magdalena River | battle of kerbala | (n) a battle in 680 in which the grandson of Mohammed and his followers were killed |
| Acanthocephala | ‖n. pl. [ NL., from Gr. &unr_; a spine, thorn + &unr_; head. ] (Zool.) A group of intestinal worms, having the proboscis armed with recurved spines. [ 1913 Webster ] | A cappella | ‖ [ It. See Chapel. ] (Mus.) (a) In church or chapel style; -- said of compositions sung in the old church style, without instrumental accompaniment; as, a mass a capella, i. e., a mass purely vocal. (b) A time indication, equivalent to alla breve. [ 1913 Webster ] | Acephala | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. &unr_;, adj. neut. pl., headless. See Acephal. ] (Zool.) That division of the Mollusca which includes the bivalve shells, like the clams and oysters; -- so called because they have no evident head. Formerly the group included the Tunicata, Brachiopoda, and sometimes the Bryozoa. See Mollusca. [ 1913 Webster ] | Acicula | ‖n.; pl. Aciculæ [ L., a small needle, dimin. of acus needle. ] (Nat. Hist.) One of the needlelike or bristlelike spines or prickles of some animals and plants; also, a needlelike crystal. [ 1913 Webster ] | Actinula | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. &unr_;, &unr_;, a ray. ] (Zool.) A kind of embryo of certain hydroids (Tubularia), having a stellate form. [ 1913 Webster ] | ala | ‖n.; pl. Alæ [ L., a wing. ] (Biol.) A winglike organ, or part. [ 1913 Webster ] | Albula | prop. n. A genus of fish, the type and sole genus of the family Albulidae. Syn. -- genus Albula. [ WordNet 1.5 ] | Alfilerilla | { ‖ ‖ } n. [ Mex. Sp., fr. Sp. alfiler pin. ] Same as Alfilaria. [ Webster 1913 Suppl. ] Variants: Alfileria | Algarovilla | ‖n. The agglutinated seeds and husks of the legumes of a South American tree (Inga Marthae). It is valuable for tanning leather, and as a dye. [ 1913 Webster ] | Alsophila | n. 1. 1 a genus comprising the geometrid moths. Syn. -- genus Alsophila. [ WordNet 1.5 ] | Alula | ‖n. [ NL., dim. of L. ala a wing. ] (Zool.) A false or bastard wing. See under Bastard. [ 1913 Webster ] | Ametabola | ‖n. pl. [ NL. ] (Zool.) A group of insects which do not undergo any metamorphosis. [ Written also Ametabolia. ] [ 1913 Webster ] | Ampulla | ‖ n.; pl. Ampullæ [ L. ] 1. (Rom. Antiq.) A narrow-necked vessel having two handles and bellying out like a jug. [ 1913 Webster ] 2. (Eccl.) (a) A cruet for the wine and water at Mass. (b) The vase in which the holy oil for chrism, unction, or coronation is kept. Shipley. [ 1913 Webster ] 3. (Biol.) Any membranous bag shaped like a leathern bottle, as the dilated end of a vessel or duct; especially the dilations of the semicircular canals of the ear. [ 1913 Webster ] | amygdala | ‖n.; pl. -læ /plu>. [ L., an almond, fr. Gr. 'amygda`lh. See Almond. ] 1. An almond. [ Webster 1913 Suppl. ] 2. (Anat.) (a) One of the tonsils of the pharynx. (b) One of the rounded prominences of the lower surface of the lateral hemispheres of the cerebellum, each side of the vallecula. [ Webster 1913 Suppl. ] | Andorra la Vella | prop. n. (Geography) The capital city of Andorra. Population (2000) = 22, 390. [ PJC ] | Anemonella | n. 1. 1 a genus consisting of one species: the rue anemone. Syn. -- genus Anemonella. [ WordNet 1.5 ] | Angola | n. [ A corruption of Angora. ] A fabric made from the wool of the Angora goat. [ 1913 Webster ] | Anguilla | n. 1. a British colony, comprising an island in the Caribbean Sea, east of Puerto Rico, with a total area of 91 sq km. Its population in 1996 was estimated at 10, 424. The official language is English. [ WordNet 1.5 +PJC ] 2. 1 the type genus of the Anguillidae: eels. Syn. -- genus Anguilla. [ WordNet 1.5 ] | anisodactyls | { ‖ } n. pl. [ NL. anisodactyla, fr. Gr. 'a`nisos unequal ('an priv. + 'i`sos equal) + da`ktylos finger. ] (Zool.) (a) A group of herbivorous mammals characterized by having the hoofs in a single series around the foot, as the elephant, rhinoceros, etc. (b) A group of perching birds which are anisodactylous. [ 1913 Webster ] Variants: anisodactyla | Anopla | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. 'a`noplos unarmed. ] (Zool.) One of the two orders of Nemerteans. See Nemertina. [ 1913 Webster ] | Aquila | ‖n.; pl. Aquilæ [ L., an eagle. ] 1. (Zool.) A genus of eagles. [ 1913 Webster ] 2. (Astron.) A northern constellation southerly from Lyra and Cygnus and preceding the Dolphin; the Eagle. [ 1913 Webster ] Aquila alba [ L., white eagle ], an alchemical name of calomel. Brande & C. [ 1913 Webster ]
| arcella | n. An amoebalike protozoan with a chitinous shell resembling an umbrella. [ WordNet 1.5 ] | Archencephala | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. pref. &unr_; + &unr_; the brain. ] (Zool.) The division that includes man alone. R. Owen. [ 1913 Webster ] | Archiblastula | ‖n. [ Pref. archi + blastula. ] (Biol.) A hollow blastula, supposed to be the primitive form; a cœloblastula. [ 1913 Webster ] | Areola | n.; pl. Areolæ [ L. areola, dim. of area: cf. F. aréole. See Area. ] 1. An interstice or small space, as between the cracks of the surface in certain crustaceous lichens; or as between the fibers composing organs or vessels that interlace; or as between the nervures of an insect's wing. [ 1913 Webster ] 2. (Anat. & Med.) The colored ring around the nipple, or around a vesicle or pustule. [ 1913 Webster ] | Argala | ‖n. [ Native name. ] (Zool.) The adjutant bird. [ 1913 Webster ] | Armilla | ‖n.; pl. E. Armillas L. Armillæ [ L., a bracelet. ] 1. An armil. [ 1913 Webster ] 2. (Zool.) A ring of hair or feathers on the legs. [ 1913 Webster ] | Arolla | n. [ F. arolle. ] (Bot.) The stone pine (Pinus Cembra). [ Webster 1913 Suppl. ] | Arteriole | /mhw>, n. [ NL. arteriola, dim. of L. arteria: cf. F. artériole. ] A small artery with a muscular wall. [ 1913 Webster +PJC ] Variants: Arteriola | Artiodactyla | ‖n. pl. [ NL., fr. Gr. &unr_; even + &unr_; finger or toe. ] (Zool.) One of the divisions of the ungulate animals. The functional toes of the hind foot are even in number, and the third digit of each foot (corresponding to the middle finger in man) is asymmetrical and paired with the fourth digit, as in the hog, the sheep, and the ox; -- opposed to Perissodactyla. [ 1913 Webster ] | arugula | n. 1. an erect European annual (Eruca vesicaria sativa) of the mustard family, often grown as a salad crop to be harvested when young and tender. Syn. -- rocket, roquette, garden rocket, rocket salad, Eruca sativa. [ WordNet 1.5 ] | Arvicola | n. a genus of mice in some classifications considered synonymous with Microtus. Syn. -- genus Arvicola. [ WordNet 1.5 ] | Audita querela | ‖ [ L., the complaint having been heard. ] (Law) A writ which lies for a party against whom judgment is recovered, but to whom good matter of discharge has subsequently accrued which could not have been availed of to prevent such judgment. Wharton. [ 1913 Webster ] | Aureole | { ‖ } n. [ F. auréole, fr. L. aureola, (fem adj.) of gold (sc. corona crown), dim. of aureus. See Aureate, Oriole. ] 1. (R. C. Theol.) A celestial crown or accidental glory added to the bliss of heaven, as a reward to those (as virgins, martyrs, preachers, etc.) who have overcome the world, the flesh, and the devil. [ 1913 Webster ] 2. The circle of rays, or halo of light, with which painters surround the figure and represent the glory of Christ, saints, and others held in special reverence. [ 1913 Webster ] ☞ Limited to the head, it is strictly termed a nimbus; when it envelops the whole body, an aureola. Fairholt. [ 1913 Webster ] 3. A halo, actual or figurative. [ 1913 Webster ] The glorious aureole of light seen around the sun during total eclipses. Proctor. [ 1913 Webster ] The aureole of young womanhood. O. W. Holmes. [ 1913 Webster ] 4. (Anat.) See Areola, 2. [ 1913 Webster ] 5. the outermost region of the sun's atmosphere; visible from earth during a solar eclipse, or in outer space by the use of special instruments; a corona{ 5 }. Syn. -- corona. [ WordNet 1.5 +PJC ] Variants: Aureola | Auricula | ‖n.; pl. L. Auriculæ E. Auriculas [ L. auricula. See Auricle. ] 1. (Bot.) (a) A species of Primula, or primrose, called also, from the shape of its leaves, bear's-ear. (b) (b) A species of Hirneola (Hirneola auricula), a membranaceous fungus, called also auricula Judæ, or Jew's-ear. P. Cyc. [ 1913 Webster ] 2. (Zool.) (a) A genus of air-breathing mollusks mostly found near the sea, where the water is brackish. (b) One of the five arched processes of the shell around the jaws of a sea urchin. [ 1913 Webster ] | Avicula | ‖n. [ L., small bird. ] (Zool.) A genus of marine bivalves, having a pearly interior, allied to the pearl oyster; -- so called from a supposed resemblance of the typical species to a bird. [ 1913 Webster ] | Axilla | ‖n.; pl. Axillae [ L. ] (Anat.) The armpit, or the cavity beneath the junction of the arm and shoulder. [ 1913 Webster ] 2. (Bot.) An axil. [ 1913 Webster ] | Azolla | n. a genus of ferns, someties placed in its own family Azollaceae. Syn. -- genus Azolla. [ WordNet 1.5 ] | Baggala | ‖n. [ Ar. “fem. of baghl a mule.” Balfour. ] (Naut.) A two-masted Arab or Indian trading vessel, used in the Indian Ocean. [ 1913 Webster ] | Bandala | ‖n. A fabric made in Manila from the older leaf sheaths of the abaca (Musa textilis). [ 1913 Webster ] | Banderilla | ‖n. [ Sp., dim. of bandera banner. See Banner, and cf. Banderole. ] A barbed dart carrying a banderole which the banderillero thrusts into the neck or shoulder of the bull in a bullfight. [ Webster 1913 Suppl. ] | Barilla | n. [ Sp. barrilla. ] 1. (Bot.) A name given to several species of Salsola from which soda is made, by burning the barilla in heaps and lixiviating the ashes. [ 1913 Webster ] 2. (Com.) (a) The alkali produced from the plant, being an impure carbonate of soda, used for making soap, glass, etc., and for bleaching purposes. (b) Impure soda obtained from the ashes of any seashore plant, or kelp. Ure. [ 1913 Webster ] Copper barilla (Min.), native copper in granular form mixed with sand, an ore brought from Bolivia; -- called also Barilla de cobre. [ 1913 Webster ]
| bengola | n. A Bengal light. [ 1913 Webster ] | Beteela | n. [ Pg. beatilha. ] An East India muslin, formerly used for cravats, veils, etc. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] | Biscutella | n. a genus off Eurasian herbs and small shrubs: buckler mustard. Syn. -- genus Biscutella. [ WordNet 1.5 ] | Bitola | prop. n. The second largest city of the Republic of Macedonia (the Former Yugoslav Republic of Macedonia), population 84, 002 (2000). It is also known as city of consuls. The city of Bitola is situated in Pelagonian flat, at the foot of Baba mountain. It was established by Slavs and it was given the slavic name Obitel - Bitola. It is assumed that the city got this name because of the many monasteries being built there. Later, during the rule of Turks, the Turks called it Monastir and it was a significant administrative and military center with 12 consulates. It managed to preserve the primacy of a leading city, especially in the XIX century when it rapidly grew to about 40.000 inhabitants. Bitola developed trading relations with Vienna, Paris, Leipzig, London and Thessalonika to the south. In that time Bitola exceeded Skopje, both in wealth and beauty. During World War II it was destroyed by heavy bombing. Bitola started to grow and develop economically only after liberation in 1945. See also Macedonia{ 2 }. Goce Vasilevski [ PJC ] | Blastula | ‖n. [ NL., dim. of Gr. blasto`s a sprout. ] (Biol.) That stage in the development of the ovum in which the outer cells of the morula become more defined and form the blastoderm. [ 1913 Webster ] | Bombycilla | n. 1. waxwings. Syn. -- genus Bombycilla. [ WordNet 1.5 ] | brassavola | n. any of various tropical American orchids with usually solitary fleshy leaves and showy white to green nocturnally fragrant blossoms solitary or in racemes of up to 7. [ WordNet 1.5 ] | brotula | n. any fish of the family Brotulidae. [ WordNet 1.5 ] |
| 了 | [le, ㄌㄜ˙, 了] (modal particle intensifying preceding clause); (completed action marker) #3 [Add to Longdo] | 了 | [liào, ㄌㄧㄠˋ, 了 / 瞭] look afar from a high place #3 [Add to Longdo] | 和 | [hú, ㄏㄨˊ, 和] to complete a set in mahjong or playing cards #7 [Add to Longdo] | 个 | [gè, ㄍㄜˋ, 个 / 個] individual; this; that; size; classifier for people or objects in general #10 [Add to Longdo] | 也 | [yě, ㄧㄝˇ, 也] also; too; (in classical Chinese) final particle serving as copula #11 [Add to Longdo] | 这 | [zhè, ㄓㄜˋ, 这 / 這] this; these; (commonly pronounced zhei4 before a classifier, esp. in Beijing) #12 [Add to Longdo] | 上 | [shàng, ㄕㄤˋ, 上] on; on top; upon; first (of two parts); previous or last (week etc); upper; higher; above; previous; to climb; to go into; above; to go up; to attend (class or university); third tone of putonghua #15 [Add to Longdo] | 到 | [dào, ㄉㄠˋ, 到] to (a place); until (a time); up to; to go; to arrive #25 [Add to Longdo] | 与 | [yú, ㄩˊ, 与 / 與] (same as 歟|欤, final particle expression doubt or surprise, similar to 吗 or 呢) #28 [Add to Longdo] | 会 | [kuài, ㄎㄨㄞˋ, 会 / 會] to balance an account; accounting #34 [Add to Longdo] | 大 | [dà, ㄉㄚˋ, 大] big; huge; large; major; great; wide; deep; oldest; eldest #35 [Add to Longdo] | 来 | [lái, ㄌㄞˊ, 来 / 來] to come; to arrive; to come round; ever since; next #36 [Add to Longdo] | 等 | [děng, ㄉㄥˇ, 等] class; rank; grade; equal to; same as; wait for; await; et cetera; and so on; et al. (and other authors); after; as soon as; once #38 [Add to Longdo] | 而 | [ér, ㄦˊ, 而] and; as well as; and so; but (not); yet (not); (indicates causal relation); (indicates change of state); (indicates contrast) #39 [Add to Longdo] | 地 | [dì, ㄉㄧˋ, 地] earth; ground; field; place; land #40 [Add to Longdo] | 后 | [hòu, ㄏㄡˋ, 后 / 後] back; behind; rear; afterwards; after; later #42 [Add to Longdo] | 被 | [bèi, ㄅㄟˋ, 被] by (indicates passive-voice sentences or clauses); to cover; to wear #45 [Add to Longdo] | 从 | [cōng, ㄘㄨㄥ, 从 / 從] lax; yielding; unhurried #49 [Add to Longdo] | 元 | [yuán, ㄩㄢˊ, 元] Chinese monetary unit; dollar; primary; first; the Yuan or Mongol dynasty (1279-1368); surname Yuan #55 [Add to Longdo] | 下 | [xià, ㄒㄧㄚˋ, 下] down; downwards; below; lower; later; next (week etc); second (of two parts); to decline; to go down #58 [Add to Longdo] | 把 | [bǎ, ㄅㄚˇ, 把] to hold; to contain; to grasp; to take hold of; a handle; particle marking the following noun as a direct object; classifier for objects with handle #62 [Add to Longdo] | 做 | [zuò, ㄗㄨㄛˋ, 做] to do; to make; to produce; to write; to compose; to act as; to engage in; to hold (a party); to be; to become; to function (in some capacity); to serve as; to be used for; to form (a bond or relationship); to pretend; to feign; to act a part; to put on a #66 [Add to Longdo] | 出 | [chū, ㄔㄨ, 出] to go out; to come out; to occur; to produce; to go beyond; to rise; to put forth; to occur; to happen; classifier for dramas, plays, operas etc #67 [Add to Longdo] | 那 | [nà, ㄋㄚˋ, 那] that; those; commonly pr. nei4 before a classifier, esp. in Beijing #71 [Add to Longdo] | 里 | [lǐ, ㄌㄧˇ, 里 / 裏] inside; internal; interior; lining; village; basic unit of city administration #83 [Add to Longdo] | 里 | [lǐ, ㄌㄧˇ, 里 / 裡] inside; internal; interior; lining; village; basic unit of city administration #83 [Add to Longdo] | 家 | [jiā, ㄐㄧㄚ, 家] home; family; classifier for families or businesses; refers to the philosophical schools of pre-Han China; noun suffix for specialists in some activity such as musician or revolutionary, corresponds to English -ist, -er, -ary or -ian; surname Jia #92 [Add to Longdo] | 次 | [cì, ㄘˋ, 次] next in sequence; second; the second (day, time etc); secondary; vice-; sub-; infra-; inferior quality; substandard; order; sequence; hypo- (chem., meaning extra oxygen atom); classifier for enumerated events: time #96 [Add to Longdo] | 本 | [běn, ㄅㄣˇ, 本] roots or stems of plants; origin; source; this; the current; root; foundation; basis; (classifier for books, periodicals, files etc) #107 [Add to Longdo] | 名 | [míng, ㄇㄧㄥˊ, 名] name; noun (part of speech); place (e.g. among winners); famous; classifier for people #108 [Add to Longdo] | 所 | [suǒ, ㄙㄨㄛˇ, 所] actually; place; classifier for houses, small buildings, institutions etc; that which; particle introducing a relative clause or passive #111 [Add to Longdo] | 种 | [zhǒng, ㄓㄨㄥˇ, 种 / 種] seed; breed; species; race; strain; kind; type; sort; classifier meaning kind, type, sort; classifier for languages #113 [Add to Longdo] | 种 | [zhòng, ㄓㄨㄥˋ, 种 / 種] to plant; to grow; to cultivate #113 [Add to Longdo] | 不是 | [bù shi, ㄅㄨˋ ㄕ˙, 不 是] fault; blame #114 [Add to Longdo] | 位 | [wèi, ㄨㄟˋ, 位] position; location; classifier for people; place; seat; classifier for binary bits (e.g. 十六位 16-bit or 2 bytes) #117 [Add to Longdo] | 道 | [dào, ㄉㄠˋ, 道] direction; way; method; road; path; classifier for long thin stretches, rivers, roads etc; principle; truth; morality; reason; skill; method; Dao (of Daoism); to say; to speak; to talk #123 [Add to Longdo] | 只 | [zhī, ㄓ, 只 / 隻] classifier for birds and certain animals, one of a pair, some utensils, vessels etc #136 [Add to Longdo] | 起 | [qǐ, ㄑㄧˇ, 起] to rise; to raise; to get up; to initiate (action); classifier for cases or unpredictable events #145 [Add to Longdo] | 当 | [dāng, ㄉㄤ, 当 / 當] to be; to act as; manage; withstand; when; during; ought; should; match equally; equal; same; obstruct; just at (a time or place); on the spot; right; just at #165 [Add to Longdo] | 当 | [dàng, ㄉㄤˋ, 当 / 當] at or in the very same...; to pawn; suitable; adequate; fitting; proper; replace; represent #165 [Add to Longdo] | 打 | [dǎ, ㄉㄚˇ, 打] to beat; to strike; to hit; to break; to type; to mix up; to build; to fight; to fetch; to make; to tie up; to issue; to shoot; to calculate; since; from #171 [Add to Longdo] | 无 | [wú, ㄨˊ, 无 / 無] -less; not to have; no; none; not; to lack; un- #187 [Add to Longdo] | 一定 | [yī dìng, ㄧ ㄉㄧㄥˋ, 一 定] surely; certainly; necessarily; fixed; a certain (extent etc); given; particular #194 [Add to Longdo] | 车 | [chē, ㄔㄜ, 车 / 車] car; vehicle; CL:輛|辆[ liang4 ]; machine; to shape with a lathe; surname Che #195 [Add to Longdo] | 车 | [jū, ㄐㄩ, 车 / 車] vehicle on land #195 [Add to Longdo] | 要求 | [yāo qiú, ㄧㄠ ㄑㄧㄡˊ, 要 求] request; require; stake a claim (to something); to ask; to demand #196 [Add to Longdo] | 话 | [huà, ㄏㄨㄚˋ, 话 / 話] dialect; language; spoken words; speech; talk; words; conversation; what sb said #204 [Add to Longdo] | 像 | [xiàng, ㄒㄧㄤˋ, 像] (look) like; similar (to); appearance; to appear; to seem; image; portrait; resemble; seem #215 [Add to Longdo] | 啦 | [lā, ㄌㄚ, 啦] (onomat.); (phonetic) #219 [Add to Longdo] | 啦 | [la, ㄌㄚ˙, 啦] (an auxiliary word performing the grammatical functions of mood); fusion of le + a; follows after 比如 listed examples #219 [Add to Longdo] |
| 差す | [さす, sasu] TH: กางร่ม EN: to raise umbrella | 指す | [さす, sasu] TH: กางร่ม EN: to put up umbrella |
| Arbeitsplatz | (n) |der, pl. Arbeitsplätze| ตำแหน่งงาน | Ausland | (n) |das| ต่างประเทศ | Christlich Demokratische Union Deutschlands | พรรคการเมืองหนึ่งในเยอรมนี | Deutschland | ประเทศเยอรมนี | Dollar | (n) |der, pl. Dollars| เงินดอลล่าร์ | Er kommt erst heute nach seinem Urlaub. | เขาเพิ่งจะมาวันนี้หลังจากที่หยุดพักร้อนมา, erst ใช้เสริมเหตุการณ์ที่ผู้พูดรู้สึกว่า เพิ่งเกิดขึ้น, ไม่นานมานี้ | Lage | (n) |die, pl. Lagen| สถานการณ์, สถานะ, สถานภาพ | Lage | (n) |die, pl. Lagen| ตำแหน่ง | Land | (n) |das| ชนบท เช่น auf dem Land wohnen | Land | (n) |das, pl. Länder| ประเทศ | Länder | (n) |pl.| ประเทศต่างๆ, See also: Land | Parlament | (n) |das, pl. Parlamente| รัฐสภา | Platz | (n) |der, pl. Plätze| ที่นั่ง, สถานที่, ที่ว่างเปล่า | Russland | ประเทศรัสเซีย | Sozialdemokratische Partei Deutschlands | ชื่อพรรคการเมืองหนึ่งในเยอรมนี | bislang | จนถึงขณะนี้แล้ว | erklären | (vt) |erklärte, hat erklärt| อธิบาย, ทำให้กระจ่างชัด | planen | (vt) |plante, hat geplant| วางแผน, See also: vorhaben | wie geplant | อย่างที่คิดไว้, อย่างที่วางแผนไว้, See also: planen | klar | ชัดเจน | lang | (adj) ยาว, นาน | lange | See also: lang | langen | See also: lang | lassen | ยอมให้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาช่วย) | lassen | วางไว้ ปล่อยไว้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาแท้) | ließ, gelassen | | laut | ดัง (เสียง), หนวกหู | längst | ตั้งนานแล้ว | läuft | See also: laufen | läßt | See also: lassen | verlassen | ออกจาก, ละทิ้ง | verließ, verlassen | | klar | (adj) |klarer, klarst-| กระจ่าง ใส ชัดเจน, See also: wolkenlos, deutlich, eindeutig | klar! | (adj) แน่นอนอยู่แล้ว, See also: selbstverständlich | Klavier | (n) |das, pl. Klaviere| เปียโน, See also: Piano | Klimaanlage | (n) |die, pl. Klimaanlagen| เครื่องปรับอากาศ, See also: die Heizung | Zulassung | (n) |die, pl. Zulassungen| การอนุญาต | Länge | (n) |die, pl. Längen| ความยาว | schlank | (adj) ผอม | langsam | (adj) ช้า อืดอาด, See also: schnell | schlafen | (vi) |schlief, hat geschlafen| นอนหลับ | einschlafen | (vi) |schlief ein, ist eingeschlafen| หลับ เริ่มนอนหลับ | laufen | (vi) |lief, ist gelaufen| เดิน, See also: rennen | laufen | (vi) |lief, ist gelaufen| ทำงาน (เช่น เครื่องจักร), See also: fuktionieren | laufen | (vi) |lief, ist gelaufen| ดำเนิน, See also: verlaufen | Schokolade | (n) |die| ช็อกโกแล็ต, See also: eine Tafel Schokolade | Tafel Schokolade | (n) |die, pl. Tafeln Schokolade| ช็อกโกแล็ตแบบแท่ง | Platz nehmen | (phrase) นั่งที่, See also: sich setzen, hinsitzen | Bitte nehmen Sie Platz! | (phrase) เชิญนั่ง | Glas | (n) |das, pl. Gläser| แก้วน้ำ | Ausländer | (n) |der, pl. Ausländer| ชาวต่างชาติ | Ausländerin | (n) |die, pl. Ausländerinnen| ชาวต่างชาติที่เป็นผู้หญิง |
| *erfallen; ablaufen | verfallend; ablaufend | verfa* | (adj) ที่หมดอายุแล้ว เช่น abgelaufenes Fleisch เนื้อที่หมดอายุแล้ว | *estatten; zulassen; bewilligen | gestattend; zulas* | (vi) อนุญาต | Beckenbodenmuskulatur { f } [ anat. ] | (n) กล้ามเนื้อของอุ้งเชิงกราน | Cola { f } | (uniq) โค้ก | das Entwicklungsland, die Entwicklungsländer | (n) ประเทศกำลังพัฒนา | das Teilnahmeformular, -e | (n) ใบสมัคร เพื่อเข้าร่วมงาน/กิจกรรม/สมาคม ฯลฯ | Defibrillation { f } [ med. ] | การช็อคกระตุ้นการเต้นของหัวใจ | Delicious Flat Chest | (n, vi, vt, name) ย่อมาจาก Delicious Flat Chest แปลว่า ยัยนมแบน!! เป็นคำชมนะอิ ๆ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA), See also: DFC, Syn. dfc | Durchlaufzeit { f } | (n) ช่วงเวลาระหว่างการวางแผนงานกับการผลิต | eine Zeitlang | ชั่วครู่, ชั่วขณะ | Elastizitätsmodul { n } | (n) อตราการยืดหรือหดของวัตถุเมื่อได้รับการบีบหรือดึง, Syn. E-Modul { | Klavier | (n) เปียโน | Lack (m) | (n) แล็กเกอร์, สารเคลือบมัน | Landesherr | ลันเดสแฮร์ เป็นตำแหน่งเจ้าศักดินาในยุคกลาง มีอำนาจเฉกเช่นเจ้าแผ่นดินเหนือดินแดนหนึ่ง ดินแดนนั้นอาจมีสถานะเป็นรัฐอิสระ หรือรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ได้ | Papayasalat | (n) ส้มตำ | Plakette { f }; Aufkleber { m } | (n) เหรียญหรือหมุดที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ | Reichsflaggengesetz | ไรชกิจจานุเบกษา | Schlachtschiff | (n) (Das) เรือประจัญบาน | Souvernirladen | (n) ร้านขายของฝาก, ร้ายขายของที่ระลึก | spekulationsobjekt | สิ่งของที่นำไปเล่นพนัน Wohnung ist keine Spekulationsobjekt. | Tachyplylaxie { f } [ med. ] | การตอบสนองต่อ ยาหรือสารเคมีซึ่งลดลงอย่างรวดเร็ว หลังจากที่ให้ตัวยาหรือสารเคมีตัวเดิม เข้าไป | verlaufen | (vi) หลงทาง |
| | faire de la natation | (vt) ว่ายน้ำ หรือ ไปว่ายน้ำ, Syn. nager à la piscine | faire de la randonnée | (vt) เดินเที่ยวตามป่าเขา | faire du patin à glace | (vt) เล่นสเก็ตน้ำแข็ง | faire de la danse | (vt) เต้นรำ Image: | faire de la musique | (vt) เล่นดนตรี Image: | faire des grillades | (vt) ปิ้งหรือย่างอาหารบนเตา (ส่วนใหญ่คนยุโรปนิยมจัดงานปิ้งเนื้อในฤดูร้อน ระหว่างเพื่อนฝูงและภายในครอบครัว) | Thaïlande | (n) |f| ประเทศไทย, See also: thaïlandais Image: | anglais | (adj) |-aise| ที่เกี่ยวกับประเทศอังกฤษ | à la semaine prochaine! | (phrase) แล้วพบกันอาทิตย์หน้า | thaïlandais | (adj) |-aise| ที่เกี่ยวกับประเทศไทย | appellation | (n) |f| การตั้งชื่อ, การให้คำเรียก | applaudissements | (n) |m/ที่เป็น pl. เสมอ| เสียงปรบมือ | applaudir | (vi) |j'applaudis, tu applaudis, il applaudit, nous applaudissons, vous applaudissez, ils applaudissent| ปรบมือ, See also: finir | à la maison | (phrase) ที่บ้าน | cela ne me fait ni chaud ni froid | (slang) สำหรับฉันแล้ว มันก็ค่าเท่ากันแหละ!, See also: égal, égale | quand le chat n'est pas là, les souris dansent | (slang) แมวไม่อยู่ หนูร่าเริง | boulangerie | (n) |f, pl. boulangeries| ร้านขายขนมปัง, See also: pâtisserie | la | คำนำหน้านามเพศหญิงที่เฉพาะเจาะจง เช่น la jupe กระโปรงนี้, ใช้ l' ถ้าคำนามนั้นขึ้นต้นด้วยสระหรือ h ที่ไม่ออกเสียง เช่น l'adresse ที่อยู่นี้, See also: le | du commencement à la fin | (phrase) จากต้นจนจบ | syllabe | (n) |f, pl. -s| พยางค์ | blanc | (adj) |f. blanche| ที่มีสีขาว | faire de la monnaie | (phrase) แลกเหรียญ, แลกเงิน | à la place de | แทนที่ของ เช่น Est-ce que je peux avoir des légumes verts à la place des frites? | faire la queue | (vt) ต่อแถว, เข้าคิว เช่น Les gens font la queue devant la boulangerie pour acheter du pain. ผู้คนต่อแถวที่หน้าร้านเบเกอรี่เพื่อซื้อขนมปัง, See also: faire | glace | (n) |f| ไอศกรีม เช่น glace au chocolat ไอศกรีมรสช็อกโกแลต | lapine | (n) |f| กระต่ายตัวเมีย | lapin | (n) |m| กระต่ายตัวผู้ | faire la grasse matinée | หลับกลางวัน | maquillage | (n) |m| การแต่งหน้า, See also: maquiller, maquiller v | lave-linge | (n) |m| เครื่องซักผ้า | mal à la tête | อาการปวดศรีษะ อาการปวดหัว เช่น J'ai mal à la tête. ฉันมีอาการปวดหัว | avoir la pêche | มีสุขภาพสมบูรณ์พร้อมมาก | plan de la ville | (n) |m| ผังเมือง, แผนที่เมือง | salaire | (n) |m| เงินเดือน, ค่าจ้าง เช่น Le salaire minimum est fixé par le gouvernement du Québec., Syn. la paie | escalier roulant | (n) |m| บันไดเลื่อน เช่น Dirigez-vous vers le nord jusqu'aux escaliers roulants. |
| | を | [wo] (prt) (1) indicates direct object of action; (2) indicates subject of causative expression; (3) indicates an area traversed; (4) indicates time (period) over which action takes place; (5) indicates point of departure or separation of action; (6) (See が) indicates object of desire, like, hate, etc.; (P) #3 [Add to Longdo] | も | [mo] (prt) (1) also; too; words of similar weight; (2) about (emphasizing an upper limit); as much as; even; (adv) (3) (See もう・3) more; further; other; again; (P) #18 [Add to Longdo] | から | [kara] (prt) (1) from (e.g. time, place, numerical quantity); since; (2) from (originator); (3) because; (4) out of (constituent, part); (5) through (e.g. window, vestibule); (6) after; since (following te-form verb); (P) #25 [Add to Longdo] | や | [ya] (prt) (1) such things as (non-exhaustive list related to a specific time and place); and ... and; (2) (See や否や) (after the dictionary form of a verb) the minute (that) ...; no sooner than ...; (int) (3) punctuational exclamation in haiku, renga, etc.; (aux) (4) (ksb #31 [Add to Longdo] | です | [desu] (aux) (pol) (See だ・1) polite copula in Japanese; (P) #34 [Add to Longdo] | 削除 | [さくじょ, sakujo] (n, vs, adj-no) elimination; cancellation; deletion; erasure; DEL (key); (P) #37 [Add to Longdo] | よう | [you] (aux-v) (1) (non-五段 verbs, e.g. 食べよう) indicates speculation; (2) indicates will; (3) indicates invitation #44 [Add to Longdo] | 編集(P);編修;編輯 | [へんしゅう, henshuu] (n, vs, adj-no) editing; compilation; editorial (e.g. committee); (P) #47 [Add to Longdo] | う | [u] (aux-v) (1) (after the imperfective form of certain verbs and adjectives) indicates speculation; (2) indicates will; (3) indicates invitation #63 [Add to Longdo] | 方針 | [ほうしん, houshin] (n) objective; plan; policy; (P) #75 [Add to Longdo] | だ | [da] (aux) (1) (See です) plain copula; (aux-v) (2) (た after certain verb forms) (See た・1) indicates past or completed action; (3) (See た・2) indicates light imperative; (P) #79 [Add to Longdo] | 中 | [なか, naka] (suf) (1) through; throughout; in the course of; (2) all over or throughout (e.g. a place) #80 [Add to Longdo] | 後 | [のち, nochi] (n, adj-no) (1) (See 後ずさり) behind; rear; (2) (See その後) after; later; (3) after one's death; (4) remainder; the rest; (5) descendant; successor; heir; (6) (arch) past; previous; (n-adv) (7) more (i.e. five more minutes); (P) #84 [Add to Longdo] | 後 | [のち, nochi] (n, adj-no) (1) later; afterwards; since; (2) future; (3) after one's death; (4) (arch) descendant; (P) #84 [Add to Longdo] | 選手 | [せんしゅ, senshu] (n) player (in game); team member; (P) #93 [Add to Longdo] | 大 | [だい, dai] (pref) (See 大・だい・2) big; large #110 [Add to Longdo] | 大 | [だい, dai] (pref) (1) the large part of; (2) big; large; great; (suf) (3) approximate size; no larger than; (4) (abbr) (See 大学・1) -university; (n) (5) large (e.g. serving size); loud (e.g. volume setting) #110 [Add to Longdo] | 上 | [じょう, jou] (n, adj-no, n-adv, n-suf) (1) above; up; over; elder (e.g. daughter); (2) top; summit; (3) surface; on; (4) before; previous; (5) superiority; one's superior (i.e. one's elder); (6) on top of that; besides; what's more; (7) upon (further inspection, etc.); based on (and occurring after); (8) matters concerning...; as concerns ...; (9) (as ...上は) since (i.e. "for that reason"); (n-suf) (10) (hon) (See 父上) suffix indicating higher social standing; (11) (arch) place of one's superior (i.e. the throne); (12) (arch) emperor; sovereign; shogun; daimyo; (13) (arch) noblewoman (esp. the wife of a nobleman); (P) #111 [Add to Longdo] | 上 | [じょう, jou] (n-suf) (1) from the standpoint of; as a matter of (e.g. fact); in the field of; being of the type of; (2) aboard (a ship or vehicle); on top of; on; above; (n) (3) (See 下・げ・2) first volume (e.g. book); (n, pref) (4) superior quality; best; top; high class; (5) going up; (6) governmental; imperial; (7) presenting; showing; (pref) (8) ana- (medical, biol.); (P) #111 [Add to Longdo] | 日本語 | [にほんご(P);にっぽんご, nihongo (P); nippongo] (n, adj-no) Japanese (language); (P) #114 [Add to Longdo] | 位 | [くらい, kurai] (ctr) (1) rank; place (e.g. first place); (2) decimal place; (3) counter for ghosts; (P) #116 [Add to Longdo] | 位 | [くらい, kurai] (adv, suf) (1) (orig. from 座居, meaning "seat") throne; crown; (nobleman's) seat; (2) (See 位階) government position; court rank; (3) social standing; rank; class; echelon; rung; (n) (4) grade (of quality, etc.); level; tier; rank; (5) (See 桁・2) digit (e.g. the tens, the hundreds, etc.); place; (6) (See どの位) degree; extent; amount; (P) #116 [Add to Longdo] | 国(P);邦;國(oK) | [くに, kuni] (n) (1) country; (the) state; (2) region; (3) (obs) (See 国郡里制) province (of Japan); (4) home (i.e. hometown, home country); (5) (arch) land; earth; (P) #117 [Add to Longdo] | 一覧 | [いちらん, ichiran] (n, vs) (1) at a glance; (a) look; (a) glance; (a) summary; (2) (school) catalog; catalogue; (P) #119 [Add to Longdo] | 村 | [むら, mura] (n) village; (P) #124 [Add to Longdo] | 線 | [せん, sen] (n, n-suf) (1) line; stripe; stria; (2) line (e.g. telephone line); wire; (3) (See X線) ray (e.g. X-ray); beam; (4) line (e.g. of a railroad); track; route; lane; (5) outline; contours; form; (6) level; (7) division; (8) (See いい線) line (of action); position; approach; policy; principle; (9) (See 線が太い, 線が細い) impression one leaves; air one gives off; (P) #134 [Add to Longdo] | なら(P);ならば(P) | [nara (P); naraba (P)] (aux) (1) (hypothetical form of the copula だ, from なり and sometimes classed as a particle) if; in case; if it is the case that; if it is true that; (2) (なら only) as for; on the topic of; (conj) (3) (col) (abbr) (See それなら) if that's the case; if so; that being the case; (4) (ならば only) if possible; if circumstances allow; (P) #141 [Add to Longdo] | 分 | [ぶん, bun] (n, n-suf, pref) (1) part; segment; share; ration; (2) rate; (3) (See 身分) degree; one's lot; one's status; relation; duty; kind; lot; (4) in proportion to; just as much as; (P) #146 [Add to Longdo] | 前 | [まえ, mae] (n-pref) (1) (See 前・まえ) the last (i.e. immediately preceding) (e.g. "the last mayor"); previous; one-time; former; (2) (before the name of an era) pre- (e.g. "premodern"); (adj-no, n) (3) before; earlier; (P) #147 [Add to Longdo] | に関する | [にかんする, nikansuru] (exp) related to; in relation to #153 [Add to Longdo] | 出身 | [しゅっしん, shusshin] (n, adj-no) (1) person's origin (town, city, country, etc.); (2) institution from which one graduated; (3) director in charge of employee relations; (P) #155 [Add to Longdo] | 仮 | [け, ke] (n) { Buddh } lacking substance and existing in name only; something without substance #156 [Add to Longdo] | 方 | [ほう, hou] (n) (1) (also ほう) direction; way; (2) (hon) person; lady; gentleman; (n, n-suf) (3) method of; manner of; way of; (n-suf) (4) care of ..; (5) (also がた) person in charge of ..; (6) (also がた) side (e.g. "on my mother's side"); (P) #160 [Add to Longdo] | 方 | [ほう, hou] (n) (1) direction; way; side; area (in a particular direction); (2) side (of an argument, etc.); one's part; (3) type; category; (4) field (of study, etc.); (5) indicates one side of a comparison; (6) way; method; manner; means; (7) length (of each side of a square); (P) #160 [Add to Longdo] | 数 | [すう, suu] (pref) (1) several; a number of; (n) (2) number; numeral; figure; (3) destiny; fate; (4) law; (P) #162 [Add to Longdo] | 関連(P);関聯 | [かんれん, kanren] (n, adj-no, vs, suf) relation; connection; relevance; (P) #166 [Add to Longdo] | 元(P);本(P);素;基 | [もと, moto] (n) (1) (usu. 元) origin; source; (2) (esp. 基) base; basis; foundation; root; (3) (also 因, 原) cause; (4) (esp. 素) ingredient; material; (5) (元 only) (somebody's) side; (somebody's) location; (6) original cost (or capital, principal, etc.); (7) (plant) root; (tree) trunk; (8) (See 和歌) first section of a waka; (ctr) (9) (本 only) counter for blades of grass, tree trunks, etc., and for falcons (in falconry); (n) (10) handle (chopsticks, brush, etc.); grip; (P) #170 [Add to Longdo] | 局 | [つぼね, tsubone] (n) (1) court lady; lady-in-waiting (Heian period); (2) (See 曹司・1) separate room in a palace (esp. for a lady) (Heian period); (3) room for a very low class prostitute; (4) (See 局女郎) very low class prostitute #177 [Add to Longdo] | 目(P);眼(P) | [め, me] (n) (1) eye; eyeball; (2) (See 目が見える) eyesight; sight; vision; (3) look; stare; glance; (4) an experience; (5) viewpoint; (6) (See 編み目) stitch; texture; weave; (suf) (7) ordinal number suffix; (8) (See 大きめ) somewhat; -ish; (P) #185 [Add to Longdo] | とき | [toki] (n) regular (stops at every station) Jouetsu-line Shinkansen #186 [Add to Longdo] | 曲 | [くせ;クセ, kuse ; kuse] (n) (1) (uk) long segment of a noh play forming its musical highlight; (n-pref) (2) (See 曲者・1) wrong; improper; indecent #188 [Add to Longdo] | 社 | [やしろ, yashiro] (n, n-suf) (1) (abbr) (See 会社) company; association; society; (2) regional Chinese god of the earth (or a village built in its honour); (ctr, suf) (3) counter for companies, shrines, etc. #189 [Add to Longdo] | 説明 | [せつめい, setsumei] (n, vs, adj-no) explanation; exposition; (P) #192 [Add to Longdo] | 水 | [みず, mizu] (n) (1) (abbr) (See 水曜日) Wednesday; (2) (See 氷水) shaved ice (served with flavored syrup); (3) (See 五行・1) water (fifth of the five elements) #197 [Add to Longdo] | 新しい(P);新らしい(io) | [あたらしい, atarashii] (adj-i) new; novel; fresh; recent; latest; up-to-date; modern; (P) #198 [Add to Longdo] | 道(P);途;路;径 | [みち, michi] (n) (1) road; street; way; path; course; route; lane; (2) distance; ways (e.g. "a long ways"); (3) the way (of proper conduct, etc.); one's way; morals; (4) teachings (esp. Confucian or Buddhist); dogma; (5) field (of medicine, etc.); subject; (6) way; method; means; (P) #201 [Add to Longdo] | 間 | [ま, ma] (n-adv, n) (1) space (between); gap; interval; distance; (n-adv, n-t) (2) time (between); pause; break; (n-adv, n, n-t) (3) span (temporal or spatial); stretch; period (while); (n-adv, n) (4) relationship (between, among); (5) members (within, among); (conj) (6) (あいだ only) (arch) due to; because of; (P) #202 [Add to Longdo] | 間 | [ま, ma] (n) (1) 1.818 m (6 shaku); (ctr) (2) counter used to number the gaps between pillars #202 [Add to Longdo] | 型 | [かた(P);がた, kata (P); gata] (n) (1) model; type (e.g. of machine, goods, etc.); (2) (がた when a suffix) (See 朝型) type; style; pattern; (3) mold (mould); template; model; (4) kata (standard form of a movement, posture, etc. in martial arts, sport, etc.); (5) form (i.e. customary procedure); (6) size (i.e. clothing, shoes); (7) (obsc) (See 品種) (taxonomical) form; (P) #203 [Add to Longdo] | 地 | [ち, chi] (n) (1) (abbr) ground; land; earth; soil; (2) the region in question; the local area; (3) skin; (4) texture; fabric; material; weave; (5) base; background; (6) one's true nature; (7) narrative (i.e. descriptive part of a story); (8) real life; actuality; (9) (in the game of go) captured territory; (10) (See 地謡) noh chorus; (11) (in Japanese dance) accompaniment music; (12) (in Japanese music) basic phrase (usu. repetitive); (13) base part (of multiple shamisens) #208 [Add to Longdo] |
| 2変量補間 | [2へんりょうほかん, 2 henryouhokan] bivariable interpolation [Add to Longdo] | LANエミュレーション | [LAN えみゅれーしょん, LAN emyure-shon] LAN emulation [Add to Longdo] | ちらつき防止フィルタ | [ちらつききぼうフィルタ, chiratsukikibou firuta] glare filter [Add to Longdo] | アイドルフラグ | [あいどるふらぐ, aidorufuragu] idle flag [Add to Longdo] | アキュムレータ | [あきゅむれーた, akyumure-ta] accumulator [Add to Longdo] | アクティブマトリクスディスプレイ | [あくていぶまとりくすでいすぷれい, akuteibumatorikusudeisupurei] active matrix display [Add to Longdo] | アセンブラ言語 | [アセンブラげんご, asenbura gengo] assembly language [Add to Longdo] | アセンブリ言語 | [アセンブリげんご, asenburi gengo] assembly language [Add to Longdo] | アダプテーションレイヤ | [あだぷてーしょんれいや, adapute-shonreiya] adaptation layer [Add to Longdo] | アダプテーション層 | [アダプテーションそう, adapute-shon sou] adaptation layer [Add to Longdo] | アドレス指定可能な記憶域をもたない計算器 | [アドレスしていかのうなきおくいきをもたないけいさんき, adoresu shiteikanounakiokuikiwomotanaikeisanki] calculator without addressable storage [Add to Longdo] | アドレス変換 | [アドレスへんかん, adoresu henkan] address translation, address mapping [Add to Longdo] | アドレス変換バッファ | [アドレスへんかんバッファ, adoresu henkan baffa] Translation Look-aside Buffer, TLB [Add to Longdo] | アドレス変換機構 | [アドレスへんかんきこう, adoresu henkankikou] address translator [Add to Longdo] | アドレス変換例外 | [アドレスへんかんれいがい, adoresu henkanreigai] (address) translation exception [Add to Longdo] | アナログディスプレイ | [あなろぐでいすぷれい, anarogudeisupurei] analog display [Add to Longdo] | アプリケーション層 | [アプリケーションそう, apurike-shon sou] application layer [Add to Longdo] | アベイラブルビットレイト | [あべいらぶるびっとれいと, abeiraburubittoreito] available bit rate [Add to Longdo] | アラームプロファイル | [あらーむぷろふぁいる, ara-mupurofairu] alarm profile [Add to Longdo] | アラームランプ | [あらーむらんぷ, ara-muranpu] alarm lamp [Add to Longdo] | アラーム検出 | [アラームけんしゅつ, ara-mu kenshutsu] alarm detection [Add to Longdo] | アラーム重要度 | [アラームじょうようど, ara-mu jouyoudo] alarm severity [Add to Longdo] | アンダフロー | [あんだふろー, andafuro-] underflow (e.g. in calculators) [Add to Longdo] | インストーラ | [いんすとーら, insuto-ra] installer (installation program) [Add to Longdo] | インストールプログラム | [いんすとーるぷろぐらむ, insuto-rupuroguramu] installation program [Add to Longdo] | インストレーション | [いんすとれーしょん, insutore-shon] installation (vs) [Add to Longdo] | インストレーションプログラム | [いんすとれーしょんぷろぐらむ, insutore-shonpuroguramu] installation program [Add to Longdo] | インターネットリレーチャット | [いんたーねっとりれーちゃっと, inta-nettorire-chatto] Internet relay chat (IRC) [Add to Longdo] | インタプリータ型言語 | [インタプリータかたげんご, intapuri-ta katagengo] interpretive language [Add to Longdo] | インタプリタ型言語 | [インタプリタかたげんご, intapurita katagengo] interpretive language [Add to Longdo] | インタレース | [いんたれーす, intare-su] interlace [Add to Longdo] | エコーキャンセル | [えこーきゃんせる, eko-kyanseru] echo cancellation [Add to Longdo] | エフエム | [えふえむ, efuemu] FM, frequency modulation [Add to Longdo] | エミュレーション | [えみゅれーしょん, emyure-shon] emulation (vs) [Add to Longdo] | エミュレータ | [えみゅれーた, emyure-ta] emulator [Add to Longdo] | エミュレート | [えみゅれーと, emyure-to] emulate (vs) [Add to Longdo] | エラー状態 | [エラーじょうたい, era-joutai] error condition (in calculators) [Add to Longdo] | エンキャプシュレーション | [えんきゃぷしゅれーしょん, enkyapushure-shon] encapsulation [Add to Longdo] | オーサリングプラットフォーム | [おーさりんぐぷらっとふぉーむ, o-saringupurattofo-mu] authoring platform [Add to Longdo] | オーディオカセットプレーヤ | [おーでいおかせっとぷれーや, o-deiokasettopure-ya] tape player, audio cassette player [Add to Longdo] | オーバーフロー | [おーばーふろー, o-ba-furo-] overflow (e.g. in calculators) [Add to Longdo] | オーバーレイネットワーク | [おーばーれいねっとわーく, o-ba-reinettowa-ku] overlay network [Add to Longdo] | オーバラップ | [おーばらっぷ, o-barappu] overlap [Add to Longdo] | オーバレイ | [おーばれい, o-barei] overlay (segment) (vs) [Add to Longdo] | オーバレイアドレッシング | [おーばれいあどれっしんぐ, o-bareiadoresshingu] overlay addressing [Add to Longdo] | オーバレイモデル | [おーばれいもでる, o-bareimoderu] overlay model [Add to Longdo] | オーバレイルーチング | [おーばれいるーちんぐ, o-bareiru-chingu] overlay routing [Add to Longdo] | オーバレイ区分 | [オーバレイくぶん, o-barei kubun] overlay (segment) [Add to Longdo] | オーバレイ構造 | [オーバレイこうぞう, o-barei kouzou] overlay structure [Add to Longdo] | オープンプラットフォーム | [おーぷんぷらっとふぉーむ, o-punpurattofo-mu] open platform [Add to Longdo] |
| お転婆 | [おてんば, otenba] ausgelassenes_Maedchen, Wildfang [Add to Longdo] | ひょう窃 | [ひょうせつ, hyousetsu] Plagiat [Add to Longdo] | みかん畑 | [みかんばたけ, mikanbatake] Mandarinenpflanzung [Add to Longdo] | わが国 | [わがくに, wagakuni] unser_Land [Add to Longdo] | サラダ一皿 | [さらだひとさら, saradahitosara] ein_Teller_mit_Salat [Add to Longdo] | ドイツ | [どいつ, doitsu] Deutschland [Add to Longdo] | ドイツ連邦共和国 | [どいつれんぽうきょうわこく, doitsurenpoukyouwakoku] BRD, Bundesrepublik_Deutschland [Add to Longdo] | ビール瓶 | [ビールびん, bi-ru bin] Bierflasche [Add to Longdo] | ローマ字 | [ローマじ, ro-ma ji] lateinische_Buchstaben [Add to Longdo] | 一升瓶 | [いっしょうびん, isshoubin] 1, 8_Liter-Flasche [Add to Longdo] | 一周 | [いっしゅう, isshuu] eine_Runde, ein_Umlauf [Add to Longdo] | 一杯 | [いっぱい, ippai] ein_Glas, ein_Trunk, -voll [Add to Longdo] | 一流 | [いちりゅう, ichiryuu] erstklassig [Add to Longdo] | 一生涯 | [いっしょうがい, isshougai] das_ganze_Leben_hindurch, das_ganze_Leben_lang [Add to Longdo] | 一石二鳥 | [いっせきにちょう, issekinichou] 2 Fliegen_mit_einer_Klappe [Add to Longdo] | 一等 | [いっとう, ittou] erste_Klasse, erster_Grad [Add to Longdo] | 一覧表 | [いちらんひょう, ichiranhyou] tabellarische_Uebersicht, -Tafel [Add to Longdo] | 丁 | [てい, tei] GERADE ZAHL, BLATT (PAPIER), STUECK, HAEUSERBLOCK [Add to Longdo] | 丁 | [てい, tei] gerade_Zahl, Blatt (Papier), Stueck, Haeuserblock [Add to Longdo] | 丁 | [てい, tei] gerade_Zahl, Blatt (Papier), Stueck, Haeuserblock [Add to Longdo] | 万国 | [ばんこく, bankoku] alle_Laender, Welt [Add to Longdo] | 丈 | [たけ, take] (LAENGENMASS [Add to Longdo] | 上陸 | [じょうりく, jouriku] Landung, das_Landen [Add to Longdo] | 下げる | [さげる, sageru] herablassen, herunternehmen [Add to Longdo] | 下す | [くだす, kudasu] herablassen, herunternehmen [Add to Longdo] | 下ろす | [おろす, orosu] herablassen, herunternehmen [Add to Longdo] | 不信 | [ふしん, fushin] Untreue, Misstrauen, Unglaube [Add to Longdo] | 不十分 | [ふじゅうぶん, fujuubun] ungenuegend, unzulaenglich [Add to Longdo] | 不可欠 | [ふかけつ, fukaketsu] unerlaesslich [Add to Longdo] | 不平 | [ふへい, fuhei] Unzufriedenheit, Klagen [Add to Longdo] | 不徳 | [ふとく, futoku] mangelnde_Tugend, Laster [Add to Longdo] | 不振 | [ふしん, fushin] Flauheit, Stillstand, Stagnation [Add to Longdo] | 不況 | [ふきょう, fukyou] Rezession, wirtschaftliche_Flaute [Add to Longdo] | 不眠 | [ふみん, fumin] Schlaflosigkeit [Add to Longdo] | 不眠症 | [ふみんしょう, fuminshou] Schlaflosigkeit [Add to Longdo] | 両院 | [りょういん, ryouin] beide_Haeuser (Parlament) [Add to Longdo] | 中世 | [ちゅうせい, chuusei] Mittelalter [Add to Longdo] | 中距離競走 | [ちゅうきょりきょうそう, chuukyorikyousou] Mittelstreckenlauf [Add to Longdo] | 中風 | [ちゅうふう, chuufuu] Laehmung (nach Schlaganfall) [Add to Longdo] | 久しい | [ひさしい, hisashii] -lange, lange_Zeit [Add to Longdo] | 久しぶり | [ひさしぶり, hisashiburi] lange_Zeit, seit_langer_Zeit, nach_langer_Zeit [Add to Longdo] | 久し振り | [ひさしぶり, hisashiburi] lange_Zeit, seit_langer_Zeit, nach_langer_zeit [Add to Longdo] | 乗せる | [のせる, noseru] fahren_lassen, aufnehmen, tragen, jemanden_taeuschen [Add to Longdo] | 乾漆像 | [かんしつぞう, kanshitsuzou] lackierte_Buddha-Statue (aus Holz) [Add to Longdo] | 予定 | [よてい, yotei] Plan, Programm, Erwartung [Add to Longdo] | 予算 | [よさん, yosan] Voranschlag, Etat, Budget [Add to Longdo] | 事情 | [じじょう, jijou] Umstaende, Sachlage, Verhaeltnisse [Add to Longdo] | 事態 | [じたい, jitai] Sachlage, Situation, Tatbestand [Add to Longdo] | 五十音順 | [ごじゅうおんじゅん, gojuuonjun] Abfolge_der_50_jap.Silbenlaute [Add to Longdo] | 亜麻 | [あま, ama] Flachs, -Lein, Leinpflanze [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |