ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: radiö, -radiö- Possible hiragana form: らぢ |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ radio | (prf) แท่ง, See also: รัศมี, รังสี | radio | (n) วิทยุ, See also: เครื่องรับวิทยุ | radio | (n) การสื่อสารทางวิทยุ | radio | (vt) ติดต่อกันทางวิทยุ | radio | (adj) ที่เกี่ยวกับวิทยุ, See also: ที่ส่งโดยวิทยุ | radio | (adj) ที่เกี่ยวกับรังสี | radiogram | (n) วิทยุโทรเลข, Syn. telegram | radiogram | (n) ภาพเอ็กซเรย์, Syn. x-ray | radioland | (sl) สถานที่สมมุติของนักฟังวิทยุ, See also: สถานที่ในจินตนาการของนักฟังวิทยุ | radiology | (n) รังสีวิทยา | radio wave | (n) คลื่นวิทยุ | radiograph | (n) ภาพบนฟิล์มเอ็กซเรย์, See also: ภาพเอ็กซเรย์, Syn. roentgenogram, X-rays | radiometer | (n) เครื่องวัดพลังงานรังสี | radiophoto | (n) ภาพที่ส่งด้วยคลื่นวิทยุ, Syn. radiophotograph | radioscopy | (n) การถ่ายภาพเอ็กซเรย์เพื่อดูโครงสร้างภายในของสิ่งต่างๆ | radioactive | (adj) เกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี | radiocarbon | (n) กัมมันตภาพรังสีในรูปของคาร์บอนที่ใช้คำนวณอายุของอินทรีย์วัตถุ | radiologist | (n) แพทย์รังสีวิทยา | pirate radio | (n) การกระจายคลื่นวิทยุ | Radio Rental | (sl) บ้าคลั่ง | radiographer | (n) ผู้ถ่ายภาพบนฟิล์มเอ็กซเรย์ | radioisotope | (n) ไอโซโทปที่มีกัมมันตภาพรังสีของธาตุใช้ทางการแพทย์หรือชีววิทยา | radiotherapy | (n) รังสีบำบัด, See also: การรักษาโรคด้วยรังสี, Syn. radiation therapy | two-way radio | (n) วิทยุติดต่อ, Syn. intercom system, walkie-talkie | radiobroadcast | (n) การกระจายเสียงทางวิทยุ | radio astronomy | (n) สาขาหนึ่งทางดาราศาสตร์ที่ศึกษาคลื่นวิทยุที่ได้รับจากอวกาศ | radio-telephone | (n) โทรศัพท์ที่ถ่ายทอดด้วยการส่งและรับคลื่นวิทยุ, See also: วิทยุโทรศัพท์ | radiophotograph | (n) ภาพที่ส่งด้วยคลื่นวิทยุ, Syn. radiophoto | xeroradiography | (n) การถ่ายภาพด้วยรังสีเอ็กซเรย์ | radio-controlled | (adj) ซึ่งควบคุมด้วยสัญญาณวิทยุจากระยะไกล |
| autoradiograph | (ออโทรเร'ดีโอกราฟ) n. ภาพถ่ายแสดงการมีสารกัมมันตภาพรังสีสะสมอยู่., Syn. radioautograph -autoradiography n. | gradiometer | n. เครื่องวัดความเอียงลาด | radio | (เร'ดิโอ) n. วิทยุ. adj. เกี่ยวกับวิทยุหรือใช้รังสี. -v. ถ่ายทอดโดยวิทยุ | radio button | ปุ่มวิทยุหมายถึงปุ่มประเภทหนึ่งบนจอภาพ ใช้แทนคำสั่งบางคำสั่งได้ ส่วนมากจะอยู่ติด ๆ กันเหมือนปุ่มบนเครื่องวิทยุ ปุ่มประเภทนี้ เมื่อกดปุ่มหนึ่งแล้ว ปุ่มที่เหลือจะถูกยกเลิกโดยอัตโนมัติเหมือนปุ่มวิทยุ จึงเรียกกันว่าปุ่มวิทยุ ใช้กับคอมพิวเตอร์ หมายถึงปุ่มคำสั่งที่กดเลือกได้เพียงอันเดียว ถ้ากดเลือกปุ่มคำสั่งอันใดอันหนึ่งหนึ่งแล้ว ปุ่มคำสั่งอื่นหรือปุ่มที่เลือกไว้เก่าก็จะถูกยกเลิก | radio- | Pref. วิทยุ, ธาตุradium, มีกัมมันตภาพรังสี, เป็นรังสี, ปล่อยออกจากจุดกลาง | radioactive | (เรดิโอแอค'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับหรือเกิดจากกัมมันตภาพรังสี. | radioactivity | (เรดิโอแอคทิฟ'วิที) n. ุภาวะกัมมันตภาพรังสี | radiocarbon | (เรดิโอคาร์'เบิน) n. ไอโซโทบ (isotope) กัมมันตภาพรังสีที่มีมวลเท่ากับ14และมีค่าhalf-lifeเท่ากับ5.568ปีใช้ในการคำนวณอายุของวัตถุอินทรีย์., Syn. carbon14, carbon-14 | radiofrequency | (เรดิโอฟรี'เควินซี) n. ความถี่ของคลื่นวิทยุ | radiogram | (เร'ดิโอแกรม) n. ภาพเอกซฺเรย์หรือแกมม่าเรย์ของอวัยวะภายในร่างกาย, เอกซูเรย์, โทรเลข | radiograph | (เร'ดิโอกราฟ) n. =radiogram vt. ถ่ายภาพ radiogram | radiography | (เรดิออก'กระฟี) n. การถ่ายภาพเอกซฺเรย์หรือแกมมาเรย์ของอวัยวะภายในร่างกาย., See also: radiographer n. radiographic adj. radiographical adj. | radiology | (เรดิออล'โลจี) n. รังสีวิทยา., See also: radiologist n. | radiophone | (เร'ดิโอโฟน) n., v. (ส่ง) โทรศัพท์วิทยุ, เครื่องรับส่งโทรศัพท์วิทยุ, See also: radiophonic adj. radiophony n. | radiophoto | (เร'ดิโอโฟ'โทกราฟ) n. ภาพที่ถ่ายทอดโดยวิทยุ., See also: radiophotography n ., Syn. radiophotogram | radiophotograph | (เร'ดิโอโฟ'โทกราฟ) n. ภาพที่ถ่ายทอดโดยวิทยุ., See also: radiophotography n ., Syn. radiophotogram | radioset | (เร'ดิโอเซท) n. เครื่องรับวิทยุ | radiotelegram | (-เทล'ละแกรม) n. วิทยุโทรเลข | radiotelegraph | (เรดิโอเทล'ละกราฟ) n., v. (ส่ง) โทรเลขที่ส่งโดยวิทยุ, วิทยุโทรเลข., See also: radiotelegraphic adj. | radiotelephone | (เรดิโอเทล'ละโฟน) n., v. (ส่ง) โทรศัพท์ที่ถ่ายทอดโดยคลื่นวิทยุ, วิทยุโทรศัพท์., See also: radiotelephony radiotelephonic adj. | radioteletype | (เรดิโอเทล'ลิไทพฺ) n. เครื่องโทรพิมพ์วิทยุ., Syn. radioteletypewriter |
|
| | | Radio frequency identification systems | รหัสประจำตัวระบบคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radioactive waste | กากกัมมันตรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radioactive element | ธาตุกัมมันตรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radio wave propagation | การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radio frequency | คลื่นความถี่ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radio frequency identification system | ระบบกำหนดรหัสประจำตัวด้วยคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radioactive substance | สารกัมมันตรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radioactivity | กัมมันตภาพรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Neutron radiography | การถ่ายภาพด้วยนิวตรอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radiography | การบันทึกภาพด้วยรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radioactive contamination of milk | การปนเปื้อนกัมมันตรังสีในน้ำนม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radio frequency modulation | การแปรรูปคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radiotherapy | การรักษาด้วยรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Autoradiograph | ภาพรังสีในตัว, ภาพบันทึกการกระจายของรังสีจากสารกัมมันตรังสีในวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต โดยวางวัตถุนั้นไว้ใกล้แผ่นฟิล์มถ่ายภาพหรือเยื่อไวแสง (emulsion) รังสีที่แผ่ออกมาจะทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์มหรือเยื่อไวแสง (ดู radiography ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Cosmogenic radionuclides | นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดจากรังสีคอสมิก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นเมื่อรังสีคอสมิกชนกับโมเลกุลของแก๊สในชั้นบรรยากาศของโลก เช่น ทริเทียม (<sup>3</sup>H) คาร์บอน-14 (C-14) โซเดียม-22 (Na-22) และ เบริลเลียม-7 (Be-7) [นิวเคลียร์] | Decay, radioactive | การสลาย(กัมมันตรังสี), การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] | Disintegration, radioactive | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] | Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] | Radiosensitizer | สารเพิ่มผลของรังสี, สารหรือยาเพิ่มประสิทธิภาพของรังสีในการทำลายเซลล์ เช่น ออกซิเจน สารไมโซนิดาโซล (misonidazole) และสาร 5-โบรโมดีออกซียูริดีน (5-bromodeoxyuridine) [นิวเคลียร์] | Radioprotector | สารลดผลของรังสี, สารหรือยาลดประสิทธิภาพของรังสีในการทำลายเซลล์ เช่น สารประกอบที่มีกลุ่มซัลฟ์ไฮดริล (sulfhydryl, -SH) ทั้งนี้เซลล์จะต้องมีสารกลุ่มนี้อยู่ในขณะที่ได้รับรังสีจึงจะเกิดผลในการป้องกันการทำลายเซลล์ ถึงแม้เซลล์ได้รับสารนี้ในทันทีหลังการได้รับรังสี ก็จะไม่มีผลในการป้องกันใดๆ [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radionuclide purity | ความบริสุทธิ์นิวไคลด์กัมมันตรังสี [นิวเคลียร์] | Radionuclide imaging | การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Radionuclide | นิวไคลด์กัมมันตรังสี, นิวไคลด์ที่ไม่เสถียร มีการสลายเพื่อลดระดับพลังงานโดยการปลดปล่อยรังสี เช่น แอลฟา บีตา แกมมา ออกมา นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ และที่มาจากการผลิตของมนุษย์มีมากกว่า 1, 300 ชนิด ตัวอย่างนิวไคลด์กัมตรังสีที่มีในธรรมชาติ เช่น $ _{ 92 }^{ 235 } $U $ _{ 92 }^{ 238 } $U $ _{ 19 }^{ 40 } $K และที่มนุษย์ผลิตขึ้นเช่น $ _{ 27 }^{ 60 } $Co $ _{ 43 }^{ 99 } $Tc $ _{ 95 }^{ 241 } $AM [นิวเคลียร์] | Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] | Radiolysis | การแยกสลายด้วยรังสี, การแตกตัว หรือสลายตัว ของโมเลกุลด้วยรังสี เช่น ขณะเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จะมีน้ำส่วนหนึ่งที่อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เกิดการแตกตัวเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจน [นิวเคลียร์] | Radiological survey | การสำรวจทางรังสี, การประเมินภาวะทางรังสีและอันตรายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการผลิต การใช้ การขนถ่าย การปลดปล่อย การขจัด หรือการที่มีวัสดุกัมมันตรังสีหรือต้นกำเนิดรังสีอยู่ในที่นั้นๆ [นิวเคลียร์] | Radiological half-life | ครึ่งชีวิต, ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีใช้ในกระบวนการการสลายกัมมันตรังสี เพื่อลดกัมมันตภาพเหลือครึ่งหนึ่งของกัมมันตภาพตั้งต้น, Example: [นิวเคลียร์] | Radioisotope | ไอโซโทปกัมมันตรังสี, ไอโซโทปของธาตุที่ไม่เสถียร มีการสลายเพื่อลดระดับพลังงานโดยการปลดปล่อยรังสีออกมา มักใช้แทนคำว่า นิวไคลด์กัมมันตรังสี (ดู radionuclide ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] | Radioimmunoassay | อาร์ไอเอ, เทคนิคการหาปริมาณสารต่างๆ ในสิ่งส่งตรวจ เช่น เลือด ปัสสาวะ โดยใช้สารประกอบติดฉลากรังสีเป็นตัวติดตามผลของปฏิกิริยาจำเพาะระหว่างสารก่อภูมิต้านทาน(antigen) และสารภูมิต้านทาน(antibody) [นิวเคลียร์] | Radiography | การถ่ายภาพรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออน เช่น รังสีเอกซ์ หรือ รังสีแกมมา ถ่ายภาพวัตถุบนแผ่นฟิล์มโดยอาศัยหลักการดูดกลืนรังสี ส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้น้อยกว่าจะปรากฏภาพเงาบนฟิล์มทึบกว่าส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้มากกว่า [นิวเคลียร์] | Radioecology | นิเวศวิทยารังสี, การศึกษาผลกระทบของสารกัมมันตรังสีที่มีในธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นต่อระบบนิเวศ สารกัมมันตรังสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของตัวมันเอง และมีวัฏจักรการเคลื่อนย้ายในระบบนิเวศภายในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (หิน ดิน น้ำ และอากาศ) ในสภาวะแวดล้อมต่างๆ กัน เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต ส่งผลกระทบทางชีววิทยาและการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ [นิวเคลียร์] | Radiochemical purity | ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี, ความบริสุทธิ์ของสารประกอบกัมมันตรังสี ซึ่งมีสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการ โดยคำนวณจากสัดส่วนกัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการต่อกัมมันตภาพของสารประกอบกัมมันตรังสีทั้งหมด <br>ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ใช้เป็นค่ากำหนดคุณภาพของสารเภสัชรังสีซึ่งมีสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ เจือปนอยู่น้อยที่สุด ตามมาตรฐานเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกา (United States Pharmacopoeia, USP) เภสัชตำรับอังกฤษ (British Pharmacopoeia, BP) และ เภสัชตำรับยุโรป (European Pharmacopoeia, EP) เช่น ในการผลิตสารไอโอดีน-131 (<sup>131I</sup>) ตามเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกาต้องมีอัตราส่วนของสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปโซเดียมไอโอไดด์ (Na<sup>131</sup>I) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 และสารประกอบกัมมันตรังสีที่มีธาตุไอโอดีนอยู่ในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ ไม่เกินร้อยละ 5</br> [นิวเคลียร์] | Radiocarbon dating | การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี, การหาอายุของวัตถุโบราณโดยหาปริมาณของคาร์บอน-14 เทียบกับคาร์บอนทั้งหมดที่มีอยู่ในวัตถุนั้น วิธีนี้เหมาะสำหรับหาอายุของวัตถุโบราณที่มีอายุสูงสุดประมาณ 100, 000 ปี ดร. ดับเบิลยู. เอฟ. ลิบบี (Dr. W. F. Libby) เป็นผู้ค้นพบวิธีการนี้ <br>(ดู carbon-14 ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] | Radioactivity | กัมมันตภาพรังสี, ปรากฏการณ์ที่นิวไคลด์กัมมันตรังสีสลายตัว และมีการปล่อยรังสีออกมาด้วย โดยทั่วไปการสลายตัวจะให้นิวไคลด์ใหม่ ปรากฏการณ์นี้ค้นพบโดย อองรี เบ็กเคอเรล ใน พ.ศ. 2439 [นิวเคลียร์] | Radioactive waste | กากกัมมันตรังสี, วัสดุที่อยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือ แก๊ส ที่เป็น หรือประกอบด้วย หรือปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตรังสีที่มีค่ากัมมันตภาพรังสีสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ซึ่งผู้ครอบครองวัสดุนั้นไม่ประสงค์จะใช้งานอีกต่อไป และให้หมายความรวมถึงวัสดุอื่นใดที่คณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ กำหนดให้เป็นกากกัมมันตรังสีด้วย <br>(ดู clearance level ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Radioactive tracer | สารกัมมันตรังสีตามรอย, สารกัมมันตรังสีปริมาณน้อย ใช้ในกระบวนการทางชีวภาพ เคมี หรือกระบวนการอื่นๆ โดยติดตามการเคลื่อนที่ของสารกัมมันตรังสีในกระบวนการนั้น [นิวเคลียร์] | Radioactive standard | สารมาตรฐานกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสี ที่รู้จำนวนและชนิดของอะตอมกัมมันตรังสี ณ เวลาอ้างอิงใดๆ ใช้เป็นสารมาตรฐานสำหรับปรับเทียบอุปกรณ์วัดรังสี หรือใช้ในการวัดเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการ ปกติใช้สารกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตยาวเป็นสารมาตรฐานกัมมันตรังสี, Example: [นิวเคลียร์] | Radioactive source | ต้นกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [นิวเคลียร์] | Radioactive series | อนุกรมกัมมันตรังสี, อนุกรมของนิวไคลด์ที่เริ่มต้นจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เรียกว่านิวไคลด์แม่ สลายตัวเป็นนิวไคลด์ลำดับต่อ ๆ กันไป ที่เรียกว่านิวไคลด์ลูก จนถึงผลผลิตสุดท้ายที่เป็นนิวไคลด์เสถียร <br> (ดู decay, radioactive ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Radioactive material | วัสดุกัมมันตรังสี, วัสดุที่มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีเป็นองค์ประกอบ ทำให้มีการแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา, Example: [นิวเคลียร์] | Radioactive isotope | ไอโซโทป(กัมมันต)รังสี, ไอโซโทปของธาตุที่ไม่เสถียร มีการสลายเพื่อลดระดับพลังงานโดยการปลดปล่อยรังสีออกมา มักใช้แทนคำว่า นิวไคลด์กัมมันตรังสี <br>(ดู radionuclide ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Radioactive half-life | ครึ่งชีวิต, ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีใช้ในกระบวนการการสลายกัมมันตรังสี เพื่อลดกัมมันตภาพเหลือครึ่งหนึ่งของกัมมันตภาพตั้งต้น [นิวเคลียร์] | Radioactive fallout | ฝุ่นกัมมันตรังสี, ฝุ่นกัมมันตรังสี [นิวเคลียร์] | Radioactive discharge | การระบายสิ่งเจือปนสารกัมมันตรังสี, การระบายแก๊สหรือของเหลวที่เจือปนสารกัมมันตรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อม โดยมีแผนงานและการควบคุมตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ <br>(ดู disposal, waste ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Radioactive decontamination | การขจัดการเปื้อนสารกัมมันตรังสี, การใช้กระบวนการทางเคมี ฟิสิกส์ หรือชีวภาพ เพื่อให้สารกัมมันตรังสีทั้งหมดหรือบางส่วน หลุดออกจากสิ่งที่เปื้อน [นิวเคลียร์] | Radioactive decay | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิ วไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] | Radioactive dating | การหาอายุจากสารกัมมันตรังสี, การหาอายุของวัตถุหรือตัวอย่างโดยใช้สัดส่วนของสารกัมมันตรังสีหรือผลผลิตจากการสลายกัมมันตรังสีที่มีในวัตถุนั้น เช่น ใช้สัดส่วนของคาร์บอน-14 ต่อคาร์บอนทั้งหมดบอกอายุของกระดูก ไม้ หรือตัวอย่างวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ หรือใช้สัดส่วนของโพแทสเซียม-40 ต่ออาร์กอน-41 บอกอายุของหินหรือแร่ที่มีโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบได้ <br>(ดู carbon-14 ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
| | สถานีวิทยุกระจายเสียง | (n) radio station, Syn. สถานีวิทยุ, Example: คุณสามารถรับฟังเทคนิคการผลิตทางการเกษตรจาสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งนี้ได้ทุกวัน, Count Unit: สถานี, Thai Definition: หน่วยที่ตั้งหรือเป็นที่ทำการเพื่อส่งคลื่นวิทยุ | ช่างวิทยุ | (n) radio technician, See also: radio repairman, Syn. ช่างซ่อมวิทยุ, Example: วิทยุเสียต้องส่งไปให้ช่างวิทยุซ่อม, Count Unit: คน | ผู้จัดรายการ | (n) radio presenter, See also: DJ, disc jockey, disk jockey, Example: สถานีนี้มีแต่ผู้จัดรายการสูงอายุทั้งนั้น ไม่ดึงดูดวัยรุ่นอย่างพวกเราเลย, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ทำหน้าที่วางระเบียบหรือเรียงเรื่องราวตามลำดับให้ผู้ชมหรือผู้ฟังรับทราบ เป็นต้น | รังสี | (n) radioactivity, See also: radiation, ray, light, Example: จากการตรวจวัดรังสีพบว่า จำนวนปริมาณรังสีแพร่กระจายออกมามีขนาดไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะเป็นอันตราย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิทยุ | (n) radio, See also: wireless, radio message, radio receiver, Example: เมื่อภรรยาของข้าพเจ้าทราบข่าวจากวิทยุและหนังสือพิมพ์ เธอก็เป็นลมแล้วฟื้นอยู่หลายครั้ง, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องเปลี่ยนคลื่นเสียงให้เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ออกสู่อากาศ | วิทยุกระจายเสียง | (n) radio broadcast, Example: การใช้วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ มีข้อจำกัดในเรื่องการรับฟังและรับชม | วิทยุโทรภาพ | (n) radio facsimile, See also: radio picture, Syn. โทรทัศน์, Example: นายกรัฐมนตรีกล่าวคำปราศรัยกับประชาชนทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรภาพ เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่, Count Unit: เครื่อง | วิทยุโทรเลข | (n) radio telegraph, See also: radiogram, wireless telegraph, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: โทรเลขไม่มีสาย | วิทยุโทรศัพท์ | (n) radio telephone, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: โทรศัพท์ที่ใช้ระบบวิทยุ | วิทยุสื่อสาร | (n) radio communication, Example: ไต๋เรือกรอกเสียงลงไปยังปากพูดวิทยุสื่อสารอย่างร้อนรน เพื่อขอความช่วยเหลือ, Count Unit: เครื่อง | ส่งสัญญาณ | (v) transmit, See also: relay, radio, broadcast, disseminate, send out, Ant. รับสัญญาณ, Example: เครื่องรับชนิดนี้ส่งสัญญาณไปได้ในรัศมีเพียง 200-300 เมตร | เครื่องรับ | (n) receiver, See also: radio-receiver, radio, Ant. เครื่องส่ง, Example: ในสถานีวิทยุมีทั้งเครื่องรับและเครื่องส่งสัญญาณวิทยุ, Count Unit: เครื่อง | เครื่องรับวิทยุ | (n) receiver, See also: radio-receiver, radio, Count Unit: เครื่อง | วิทยุศึกษา | (n) educational radio service, Syn. รายการวิทยุศึกษา, Example: สมาคมฯ เผยแพร่การจัดทำภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทางวิทยุศึกษาทุกวันเสาร์-อาทิตย์ | ส่งวิทยุ | (v) radio, See also: transmit, Example: หน่วยเตือนภัยทางทะเลส่งวิทยุแจ้งภัยให้ชาวประมงทราบ, Thai Definition: ติดต่อสื่อสารทางวิทยุ | สถานีวิทยุ | (n) radio station, See also: radio broadcasting station, Example: ต้นตอของข่าวลือครั้งนี้ทราบว่า มาจากสถานีวิทยุแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ | สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย | (n) Radio Thailand, Example: ผมรับฟังข่าวสารจากสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเป็นประจำทุกวัน | รังสีวิทยา | (n) radiology, Thai Definition: วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสีรวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค, Notes: (อังกฤษ) | รังสีแพทย์ | (n) radiologist, Example: เขาได้รับการอบรมให้เป็นรังสีแพทย์ประจำศูนย์บริการชุมชน, Thai Definition: แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา | กัมมันตภาพรังสี | (n) radioactivity, Example: สารกัมมันตภาพรังสีมีพิษร้ายแรง, Count Unit: ธาตุ | กัมมันตรังสี | (v) radioactive, See also: radioactive ray, Example: ยูเรเนียมเป็นธาตุกัมมันตรังสี, Count Unit: ธาตุ | กากนิวเคลียร์ | (n) nuclear waste, See also: radioactive waste, Syn. ขยะนิวเคลียร์, Example: การขจัดกากนิวเคลียร์ทำยาก | คลื่นวิทยุ | (n) radio wave, Example: การสื่อสารแบบไร้สายจะใช้การติดต่อกันโดยอาศัยคลื่นวิทยุเป็นตัวกลางในการสื่อสารแทน, Thai Definition: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งผ่านบรรยากาศด้วยความถี่วิทยุ | ความถี่วิทยุ | (n) radio frequency, Example: ความถี่วิทยุมีขนาดต่ำสุดตั้งแต่ 10 ถึง 30 กิโลเฮิรตซ์, Count Unit: กิโลเฮิรตซ์, เมกะเฮิรตซ์, Thai Definition: ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งวิทยุหรือโทรทัศน์ | โทรภาพ | (n) radio photo, See also: telephoto, wire photo, radio photograph, radio facsimile, Thai Definition: กรรมวิธีในการถอดแบบเอกสารตีพิมพ์หรือรูปภาพโดยทางคลื่นวิทยุหรือทางสาย | ละครวิทยุ | (n) radio play, Example: ปริศนาเป็นนิยายอมตะของว.ณประมวญมารคที่สร้างเป็นภาพยนต์ ละครทีวี และละครวิทยุหลายครั้ง, Count Unit: เรื่อง | ท.ทบ. | (n) Royal Thai Army Radio and Television, Syn. สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก | รายการวิทยุ | (n) radio program |
| ช่างซ่อมวิทยุ | [chang sǿm witthayu] (n, exp) EN: radio technician | เอ็กซเรย์ = เอ๊กซเรย์ | [eksaraē] (n) EN: X-ray FR: radiographie [ f ] | ฟังวิทยุ | [fang witthayu] (v, exp) EN: listen to the radio FR: écouter la radio | ฟิล์มเอ็กซเรย์ | [fīm eksaraē] (n, exp) EN: X-ray film FR: film radiographique [ m ] | แก้วิทยุ | [kaē witthayu] (v, exp) EN: repair a radio FR: réparer une radio | กัมมันตภาพรังสี | [kammantaphāprangsī] (n) EN: radioactivity FR: radioactivité [ f ] | การสลายตัว | [kān salāitūa] (n, exp) EN: radioactive decay ; decomposition | การถ่ายภาพเอ็กซเรย์ | [kān thāiphāp eksaraē] (n, exp) EN: radioscopy FR: radioscopie [ f ] | ข่าว | [khāo] (n) EN: news ; report ; information FR: actualité [ f ] ; nouvelle [ fpl ] ; information [ f ] ; info [ f ] (fam.) ; journal télévisé [ m ] ; journal radiodiffusé [ m ] | คลื่นวิทยุ | [khleūn witthayu] (n, exp) EN: radio wave FR: onde radio [ f ] | เครื่อง | [khreūang] (n) EN: [ classifier : machines ; tools ; appliances (TVs, radios, refrigerators ...) ] FR: [ classificateur : machines ; outils ; appareils électroménagers (télévisions, radios, réfrigérateurs ...) ; appareillages électriques ] | เครื่องรับวิทยุ | [khreūang rap witthayu] (n, exp) EN: receiver ; radio-receiver ; radio FR: poste de radio [ m ] ; radio [ f ] ; poste récepteur [ m ] ; récepteur radiophonique [ m ] ; transistor [ m ] | ความถี่วิทยุ | [khwāmthī witthayu] (n, exp) EN: radio frequency FR: radiofréquence [ f ] | กล้องโทรทรรศน์วิทยุ | [klǿng thōrathat witthayu] (n, exp) EN: radio telescope FR: radiotélescope [ m ] | กระจายเสียง | [krajāisīeng] (v) EN: broadcast ; transmit ; put on the air ; show FR: radiodiffuser ; émettre | รายการวิทยุ | [rāikān witthayu] (n, exp) EN: radio program FR: programme de radio [ m ] | รังสี = รังสิ | [rangsī = rangsi] (n) EN: ray ; beam of light ; radiation ; radioactivity FR: rayonnement [ m ] ; radiation [ f ] ; rayon [ m ] ; faisceau lumineux [ m ] | รังสีแพทย์ | [rangsīphaēt] (n) EN: radiologist FR: radiologue [ m ] | รังสีวิทยา | [rangsīwitthayā] (n) EN: radiology FR: radiologie [ f ] | สถานีวิทยุ | [sathānī witthayu] (n, exp) EN: radio station ; broadcasting station FR: station de radio [ f ] | ส่งสัญญาณ | [song sanyān] (v, exp) EN: transmit ; relay ; radio ; broadcast ; disseminate ; send out FR: émettre ; diffuser | ทำให้เกิดภาวะกัมมันตภาพรังสี | [thamhaikoēt phāwa kammantaphāprangsī] (x) EN: activate FR: rendre radioactif | วิทยุ | [witthayu] (n) EN: radio ; wireless ; radio message ; radio receiver FR: radio [ f ] ; transistor [ m ] ; récepteur radio [ m ] | วิทยุเทป | [witthayu thep] (n, exp) EN: radio cassette recorder FR: deck radio-cassette [ m ] ; combiné radio-cassette [ m ] | วิทยุโทรศัพท์ | [witthayu thōrasap] (n, exp) EN: radio telephone FR: radiotéléphone [ m ] | วิทยุโทรทรรศน์ | [witthayu thōrathat] (n) EN: radio telescope FR: radiotélescope [ m ] | วิทยุทรานซิสเตอร์ | [witthayu thrānsistoē] (n) EN: portable radio FR: transistor [ m ] ; poste à transistors [ f ] |
| | | 架 | [jià, ㄐㄧㄚˋ, 架] to support; frame; rack; framework; classifier for planes, large vehicles, radios etc #1,467 [Add to Longdo] | 主持人 | [zhǔ chí rén, ㄓㄨˇ ㄔˊ ㄖㄣˊ, 主 持 人] tv or radio presenter; host; anchor #1,914 [Add to Longdo] | 射 | [shè, ㄕㄜˋ, 射] radio- (chem.); shoot #2,280 [Add to Longdo] | 放射 | [fàng shè, ㄈㄤˋ ㄕㄜˋ, 放 射] to radiate; radioactive #7,481 [Add to Longdo] | 转播 | [zhuǎn bō, ㄓㄨㄢˇ ㄅㄛ, 转 播 / 轉 播] relay; broadcast (on radio or TV) #10,599 [Add to Longdo] | 放射性 | [fàng shè xìng, ㄈㄤˋ ㄕㄜˋ ㄒㄧㄥˋ, 放 射 性] radioactive #12,209 [Add to Longdo] | 收音机 | [shōu yīn jī, ㄕㄡ ㄧㄣ ㄐㄧ, 收 音 机 / 收 音 機] radio #14,844 [Add to Longdo] | 点播 | [diǎn bō, ㄉㄧㄢˇ ㄅㄛ, 点 播 / 點 播] webcast; to request item for broadcast on radio program; dibble seeding; spot seeding #21,482 [Add to Longdo] | 兆赫 | [zhào hè, ㄓㄠˋ ㄏㄜˋ, 兆 赫] mega-Hertz (mHz, radio frequency) #22,777 [Add to Longdo] | 射频 | [shè pín, ㄕㄜˋ ㄆㄧㄣˊ, 射 频 / 射 頻] a radio frequency; RF #23,582 [Add to Longdo] | 钚 | [bù, ㄅㄨˋ, 钚 / 鈈] plutonium Pu94, radioactive actinoid element #28,585 [Add to Longdo] | 频段 | [pín duàn, ㄆㄧㄣˊ ㄉㄨㄢˋ, 频 段 / 頻 段] (radio) band; frequency band #31,437 [Add to Longdo] | 中国国际广播电台 | [zhōng guó guó jì guǎng bō diàn tái, ㄓㄨㄥ ㄍㄨㄛˊ ㄍㄨㄛˊ ㄐㄧˋ ㄍㄨㄤˇ ㄅㄛ ㄉㄧㄢˋ ㄊㄞˊ, 中 国 国 际 广 播 电 台 / 中 國 國 際 廣 播 電 台] China Radio International; CRI #35,857 [Add to Longdo] | 旋钮 | [xuán niǔ, ㄒㄩㄢˊ ㄋㄧㄡˇ, 旋 钮 / 旋 鈕] knob (e.g. handle or radio button) #47,520 [Add to Longdo] | 砹 | [ài, ㄞˋ, 砹] astatine At, radioactive halogen (or metalloid), atomic number 85 #48,371 [Add to Longdo] | 短波 | [duǎn bō, ㄉㄨㄢˇ ㄅㄛ, 短 波] short-wave (radio) #54,107 [Add to Longdo] | 锘 | [nuò, ㄋㄨㄛˋ, 锘 / 鍩] nobelium No102, radioactive actinoid element #57,476 [Add to Longdo] | 钔 | [mén, ㄇㄣˊ, 钔 / 鍆] mendelevium Md101, radioactive actinoid element #58,980 [Add to Longdo] | 射电 | [shè diàn, ㄕㄜˋ ㄉㄧㄢˋ, 射 电 / 射 電] radio wave (astronomy) #61,413 [Add to Longdo] | 衰变 | [cuī biàn, ㄘㄨㄟ ㄅㄧㄢˋ, 衰 变 / 衰 變] radioactive decay #61,733 [Add to Longdo] | 无线电波 | [wú xiàn diàn bō, ㄨˊ ㄒㄧㄢˋ ㄉㄧㄢˋ ㄅㄛ, 无 线 电 波 / 無 線 電 波] radio waves; wireless electric wave #66,515 [Add to Longdo] | 美国之音 | [Měi guó zhī yīn, ㄇㄟˇ ㄍㄨㄛˊ ㄓ ㄧㄣ, 美 国 之 音 / 美 國 之 音] Voice of America radio #68,037 [Add to Longdo] | 锔 | [jú, ㄐㄩˊ, 锔 / 鋦] curium Cm96, radioactive actinoid element #68,920 [Add to Longdo] | 锎 | [kāi, ㄎㄞ, 锎 / 鐦] californium Cf98, radioactive actinoid element #69,818 [Add to Longdo] | 超短波 | [chāo duǎn bō, ㄔㄠ ㄉㄨㄢˇ ㄅㄛ, 超 短 波] ultra short wave (radio); UHF #70,690 [Add to Longdo] | 无线电话 | [wú xiàn diàn huà, ㄨˊ ㄒㄧㄢˋ ㄉㄧㄢˋ ㄏㄨㄚˋ, 无 线 电 话 / 無 線 電 話] radio telephony; wireless telephone #71,706 [Add to Longdo] | 镄 | [fèi, ㄈㄟˋ, 镄 / 鐨] fermium Fm100, radioactive actinoid element #71,756 [Add to Longdo] | 香港电台 | [Xiāng Gǎng Diàn tái, ㄒㄧㄤ ㄍㄤˇ ㄉㄧㄢˋ ㄊㄞˊ, 香 港 电 台 / 香 港 電 台] Radio Television Hong Kong #73,552 [Add to Longdo] | 锿 | [āi, ㄞ, 锿 / 鎄] einsteinium Es99, radioactive actinoid element #73,612 [Add to Longdo] | 广播员 | [guǎng bō yuán, ㄍㄨㄤˇ ㄅㄛ ㄩㄢˊ, 广 播 员 / 廣 播 員] (radio) broadcaster #77,918 [Add to Longdo] | 毫米波 | [háo mǐ bō, ㄏㄠˊ ㄇㄧˇ ㄅㄛ, 毫 米 波] millimeter wave (radio signal) #79,181 [Add to Longdo] | 分频 | [fēn pín, ㄈㄣ ㄆㄧㄣˊ, 分 频 / 分 頻] frequency sharing; subdivision of radio waveband #80,585 [Add to Longdo] | 报务员 | [bào wù yuán, ㄅㄠˋ ㄨˋ ㄩㄢˊ, 报 务 员 / 報 務 員] telegraph operator; radio operator #89,396 [Add to Longdo] | 检波 | [jiǎn bō, ㄐㄧㄢˇ ㄅㄛ, 检 波 / 檢 波] to detect (e.g. radio waves) #118,350 [Add to Longdo] | 中央广播电台 | [Zhōng yāng guǎng bō diàn tái, ㄓㄨㄥ ㄧㄤ ㄍㄨㄤˇ ㄅㄛ ㄉㄧㄢˋ ㄊㄞˊ, 中 央 广 播 电 台 / 中 央 廣 播 電 臺] Radio Taiwan International (RTI) #152,281 [Add to Longdo] | 速调管 | [sù tiáo guǎn, ㄙㄨˋ ㄊㄧㄠˊ ㄍㄨㄢˇ, 速 调 管 / 速 調 管] klystron (electronic tube used to produce high frequency radio waves) #167,699 [Add to Longdo] | 辐射计 | [fú shè jì, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ, 辐 射 计 / 輻 射 計] radiometer #170,397 [Add to Longdo] | 铹 | [láo, ㄌㄠˊ, 铹 / 鐒] lawrencium Lr103, radioactive actinoid element #402,403 [Add to Longdo] | 西弗 | [Xī fú, ㄒㄧ ㄈㄨˊ, 西 弗] Sievert (Sv), unit of radiation damage used in radiotherapy #460,307 [Add to Longdo] | 中子射线摄影 | [zhōng zǐ shè xiàn shè yǐng, ㄓㄨㄥ ㄗˇ ㄕㄜˋ ㄒㄧㄢˋ ㄕㄜˋ ㄧㄥˇ, 中 子 射 线 摄 影 / 中 子 射 線 攝 影] neutron radiography [Add to Longdo] | 乙种射线 | [yǐ zhǒng shè xiàn, ㄧˇ ㄓㄨㄥˇ ㄕㄜˋ ㄒㄧㄢˋ, 乙 种 射 线 / 乙 種 射 線] beta ray (electron stream from radioactive decay) [Add to Longdo] | 乙种粒子 | [yǐ zhǒng lì zǐ, ㄧˇ ㄓㄨㄥˇ ㄌㄧˋ ㄗˇ, 乙 种 粒 子 / 乙 種 粒 子] beta particle (electron, esp. high speed electron emitted by radioactive nucleus) [Add to Longdo] | 剩余放射性 | [shèng yú fàng shè xìng, ㄕㄥˋ ㄩˊ ㄈㄤˋ ㄕㄜˋ ㄒㄧㄥˋ, 剩 余 放 射 性 / 剩 餘 放 射 性] residual radioactivity [Add to Longdo] | 各位听众 | [gè wèi tīng zhòng, ㄍㄜˋ ㄨㄟˋ ㄊㄧㄥ ㄓㄨㄥˋ, 各 位 听 众 / 各 位 聽 眾] Ladies and Gentlemen (on radio); Dear Listeners... [Add to Longdo] | 报话机 | [bào huà jī, ㄅㄠˋ ㄏㄨㄚˋ ㄐㄧ, 报 话 机 / 報 話 機] walkie-talkie; portable radio transmitter [Add to Longdo] | 射频噪声 | [shè pín zào shēng, ㄕㄜˋ ㄆㄧㄣˊ ㄗㄠˋ ㄕㄥ, 射 频 噪 声 / 射 頻 噪 聲] radio frequency noise [Add to Longdo] | 射频干扰 | [shè pín gān rǎo, ㄕㄜˋ ㄆㄧㄣˊ ㄍㄢ ㄖㄠˇ, 射 频 干 扰 / 射 頻 干 擾] radio interference; RF interference [Add to Longdo] | 希沃特 | [Xī wò tè, ㄒㄧ ㄨㄛˋ ㄊㄜˋ, 希 沃 特] Sievert (Sv), unit of radiation damage used in radiotherapy; Rolf Maximilian Sievert (1896-1966), Swedish physicist [Add to Longdo] | 广播剧 | [guǎng bō jù, ㄍㄨㄤˇ ㄅㄛ ㄐㄩˋ, 广 播 剧 / 廣 播 劇] radio drama [Add to Longdo] | 强辐射区 | [qiáng fú shè qū, ㄑㄧㄤˊ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄑㄩ, 强 辐 射 区 / 強 輻 射 區] radioactive hot spot [Add to Longdo] |
| 局 | [つぼね, tsubone] (n, n-suf) (1) channel (i.e. TV or radio); station; department; (2) affair; situation; (P) #177 [Add to Longdo] | ラジオ | [rajio] (n) radio; (P) #490 [Add to Longdo] | 声優 | [せいゆう, seiyuu] (n) voice actor or actress (radio, animation, etc.) #1,084 [Add to Longdo] | 無線 | [むせん, musen] (n, adj-no) wireless; radio; (P) #3,022 [Add to Longdo] | 電波 | [でんぱ, denpa] (n) (1) (See 電磁波) electro-magnetic wave; radio wave; (n, adj-na) (2) (sl) (See 電波な奴) nonsense; (P) #4,083 [Add to Longdo] | 特番 | [とくばん, tokuban] (n) (abbr) (See 特別番組) special radio or television programme #5,529 [Add to Longdo] | 受信 | [じゅしん, jushin] (n, vs, adj-no) (See 送信) reception (e.g. radio); receipt (e.g. email message); (P) #5,579 [Add to Longdo] | 了解(P);諒解 | [りょうかい, ryoukai] (n, vs) comprehension; consent; understanding; roger (on the radio); (P) #6,357 [Add to Longdo] | スペクトル | [supekutoru] (n) spectrum (radio, etc.) (fre #8,962 [Add to Longdo] | ラジオドラマ | [rajiodorama] (n) radio drama #10,686 [Add to Longdo] | 聴取 | [ちょうしゅ, choushu] (n, vs) listening; hearing; audition; radio reception; (P) #11,182 [Add to Longdo] | ハム | [hamu] (n) (1) ham (cured pig meat); (2) ham (amateur radio enthusiast); (3) hum; (P) #12,233 [Add to Longdo] | 放送大学 | [ほうそうだいがく, housoudaigaku] (n) continuing education courses offered via radio or television #14,413 [Add to Longdo] | 感度 | [かんど, kando] (n) sensitivity; reception (e.g. radio and television); severity (quake); (P) #15,400 [Add to Longdo] | 放射能 | [ほうしゃのう, houshanou] (n) radioactivity; (P) #16,629 [Add to Longdo] | 変調 | [へんちょう, henchou] (n, vs) (1) change of tone; variation (music); irregularity; anomaly; abnormality; (2) modulation (in radio) #17,250 [Add to Longdo] | チューナー(P);チューナ | [chu-na-(P); chu-na] (n) (1) tuner (e.g. radio); (2) tuna (edible fish, Thunnus spp.); (P) #18,453 [Add to Longdo] | CB | [シービー, shi-bi-] (n) (1) Citizens' Band; CB (radio); (2) (See 転換社債) convertible bond; (3) (See 慢性気管支炎) chronic bronchitis; (4) chemical and biological (weapons); (5) (See センターバック) center back; (6) community business [Add to Longdo] | CDラジカセ | [シーディーラジカセ, shi-dei-rajikase] (n) CD radio-cassette [Add to Longdo] | CM | [シーエム, shi-emu] (n) (1) (See コマーシャルメッセージ) commercial message; commercial (radio, TV, etc.); ad; (2) (See コンストラクションマネージメント) construction management; (3) contract manufacturer; (4) customer management; (5) court martial; (P) [Add to Longdo] | RF | [アールエフ, a-ruefu] (n) radio frequency (RF) [Add to Longdo] | RFID;RF−ID | [アールエフアイディー, a-ruefuaidei-] (n) (See ICタグ) RFID (radio frequency identification) [Add to Longdo] | ながら族;乍ら族 | [ながらぞく, nagarazoku] (n) people who study or work while listening to the radio (or watching television, etc.) [Add to Longdo] | ふつおた;フツオタ | [futsuota ; futsuota] (n) (from 普通のお便り) listeners' corner (portion of radio programming for correspondence from listeners) [Add to Longdo] | アマチュア無線 | [アマチュアむせん, amachua musen] (n) amateur radio [Add to Longdo] | アマチュア無線局 | [アマチュアむせんきょく, amachua musenkyoku] (n) amateur radio station [Add to Longdo] | インターネットラジオ | [inta-nettorajio] (n) Internet radio [Add to Longdo] | エストラジオール | [esutorajio-ru] (n) estradiol; oestradiol [Add to Longdo] | オートラジオグラフィー | [o-torajiogurafi-] (n) autoradiography [Add to Longdo] | カーラジオ | [ka-rajio] (n) car radio [Add to Longdo] | キスジゲンロクダイ | [kisujigenrokudai] (n) goldengirdled coralfish (Coradion chrysozonus); orangebanded coralfish [Add to Longdo] | キュリー | [kyuri-] (n) curie (unit of radioactivity); (P) [Add to Longdo] | ソフトウェア無線 | [ソフトウェアむせん, sofutouea musen] (n) software-defined radio; SDR [Add to Longdo] | タキゲンロクダイ | [takigenrokudai] (n) highfin butterflyfish (Coradion altivelis); highfin coralfish; altivelis butterfly [Add to Longdo] | タキゲンロクダイ属 | [タキゲンロクダイぞく, takigenrokudai zoku] (n) Coradion (genus of tropical fish in the family Chaetodontidae) [Add to Longdo] | ツーアイドコーラルフィッシュ | [tsu-aidoko-rarufisshu] (n) twospot coralfish (Coradion melanopus); twoeye coralfish [Add to Longdo] | デジタルオーディオラジオサービス | [dejitaruo-deiorajiosa-bisu] (n) { comp } digital audio radio service; DARS [Add to Longdo] | デジタルラジオ | [dejitarurajio] (n) { comp } digital radio [Add to Longdo] | トランジスターラジオ | [toranjisuta-rajio] (n) transistor radio [Add to Longdo] | トランジスタラジオ | [toranjisutarajio] (n) transistor radio [Add to Longdo] | パノラマX線撮影法 | [パノラマエックスせんさつえいほう, panoramaekkusu sensatsueihou] (n) panoramic radiography; panoramic x-ray photography [Add to Longdo] | パノラマ撮影 | [パノラマさつえい, panorama satsuei] (n) (1) panoramic photography; (2) (See パノラマX線撮影法) panoramic radiography [Add to Longdo] | フォールアウト;フォルアウト | [fo-ruauto ; foruauto] (n) fallout (atomic, radioactive, etc.); fall-out; fall out [Add to Longdo] | フラジオマイシン | [furajiomaishin] (n) fradiomycin [Add to Longdo] | プロポ | [puropo] (n) (abbr) (See プロポーショナルコントロールシステム) transmitter for radio-controlled toys, etc. [Add to Longdo] | マジックアイ | [majikkuai] (n) magic eye (in radio receivers, etc.) [Add to Longdo] | ラジオアイソトープ | [rajioaisoto-pu] (n) radioisotope [Add to Longdo] | ラジオイムノアッセイ | [rajioimunoassei] (n) radioimmunoassay [Add to Longdo] | ラジオカー | [rajioka-] (n) radio car [Add to Longdo] | ラジオカーボン | [rajioka-bon] (n) radiocarbon [Add to Longdo] |
| スペクトル | [すぺくとる, supekutoru] spectrum (radio) [Add to Longdo] | デジタルオーディオラジオサービス | [でじたるおーでいおらじおさーびす, dejitaruo-deiorajiosa-bisu] digital audio radio service (DARS) [Add to Longdo] | デジタルラジオ | [でじたるらじお, dejitarurajio] digital radio [Add to Longdo] | ラジオボタン | [らじおぼたん, rajiobotan] radio button [Add to Longdo] | 国際無線通信諮問委員会 | [こくさいむせんつうしんしもんいいんかい, kokusaimusentsuushinshimon'iinkai] Comite Consultatif International des Radiocommunications, CCIR [Add to Longdo] | 受信機 | [じゅしんき, jushinki] (television, radio, etc.) receiver [Add to Longdo] | 無線周波数 | [むせんしゅうはすう, musenshuuhasuu] radio frequency, RF [Add to Longdo] |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |