ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

bibliographies

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -bibliographies-, *bibliographies*, bibliographie, bibliography
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา bibliographies มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *bibliographi*)
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
bibliographies
bibliographic
bibliographical

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
bibliographies

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Online bibliographic searchingการค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographic citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Author bibliographiesบรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example: เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online bibliographic searchingการค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic controlการควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical informationรายละเอียดทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliography of bibliographiesบรรณานุกรมของบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic citationการอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic serviceบริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Standard Bibliographic Descriptionsมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Universal Bibliographical Controlการควบคุมทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Searching, Bibliographicalการค้นทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic formatรูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical citationsการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Bibliographical servicesบริการทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Bibliography of bibliographiesบรรณานุกรมของบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Machine-readable bibliographic dataข้อมูลทางบรรณานุกรมที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ [TU Subject Heading]
Online bibliographic searchingการสืบค้นข้อมูลบรรณานุกรมแบบออนไลน์ [TU Subject Heading]
Bibliographic instructionการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม, Example: <b>การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม (Bibliographic instruction)</b> เป็นบริการที่บรรณารักษ์ต้องเป็นผู้ให้ บริการแก่ผู้ใช้โดยการสอนหรือสร้างทักษะการรู้สารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประกอบด้วยโปรแกรมการเรียนการสอนที่ออกแบบมาเพื่อสอนผู้ใช้ห้องสมุดเกี่ยวกับวิธีการค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเป็นการช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ด้วยตนเอง ในการสอนมักจะครอบคลุมถึงระบบของห้องสมุด โครงสร้างของวรรณกรรมในสาขา วิธีการวิจัยที่เหมาะสมในสาขาวิชา ทรัพยากรโดยเฉพาะ และเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหา (บัตรรายการห้องสมุด ดัชนีและบริการสาระสังเขป ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฯลฯ ) โดยการสอนแนวคิดและตรรกะในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินผล และโดยสนับสนุนความเป็นอิสระของสารสนเทศและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนการใช้ห้องสมุดเกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในชั้นเรียนแบบเป็นทางการ ในกลุ่มขนาดเล็ก การพบกันแบบตัวต่อตัว การนำเสนอด้วยวีดิทัศน์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน<br> <br>ในห้องสมุดมหาวิทยาลัย การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมอาจเป็นการสอนโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาหรือเป็นการสอนแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ห้องสมุดที่มีห้องปฏิบัติการการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ที่มีอุปกรณ์ครบครันสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสอนเกี่ยวกับการใช้บัตรรายการออนไลน์ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และทรัพยากรอินเทอร์เน็ต ซึ่งหน้าที่สอนการเข้าถึงรายการบรรณานุกรมเป็นหน้าที่หลักสำคัญของบรรณารักษ์ผู้ให้บริการที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นพิเศษและมีประสบการณ์ในด้านวิธีการสอน อย่างไรก็ตามการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เรียนในหลักสูตรนั้น คณาจารย์อาจต้องร่วมมือกับบรรณารักษ์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีค้นสารสนเทศด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป นอกจากนั้นห้องสมุดมหาวิทยาลัยบางแห่งอาจจัดช่วงเวลาให้กับผู้ใช้ที่ทำวิจัย โดยบรรณารักษ์จะทำงานกับผู้ใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่งเพื่อช่วยให้คำปรึกษาการทำวิจัยแก่ผู้ใช้ที่ทำวิจัยโดยเฉพาะ [Assistive Technology]

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bibliographic(n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
บรรณานุกรม[bannānukrom] (n) EN: bibliography  FR: bibliographie [ f ]
ดรรชนีชื่อหนังสือ[datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index  FR: bibliographie [ f ]
ค้นคว้าเพิ่มเติม[khonkhwā phoēmtoēm] (n, exp) FR: références bibliographiques [ fpl ]

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
bibliographic
bibliographies
bibliographical

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
bibliographies

WordNet (3.0)
bibliographic(adj) relating to or dealing with bibliography, Syn. bibliographical

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Bibliographical

{ } a. [ Cf. F. bibliographique. ] Pertaining to bibliography, or the history of books. -- Bib`li*o*graph"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

Variants: Bibliographic

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
传略[zhuànlu:è, ㄓㄨㄢˋlu:ㄜˋ,   /  ] bibliographic sketch #92,885 [Add to Longdo]
传记性[zhuàn jì xìng, ㄓㄨㄢˋ ㄐㄧˋ ㄒㄧㄥˋ,    /   ] bibliographic #276,482 [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Allgemeinbibliographie { f }general bibliography; universal bibliography [Add to Longdo]
Auswahlbibliographie { f }selective bibliography [Add to Longdo]
Bibliografie { f }; Bibliographie { f } | Bibliografien { pl }; Bibliographien { pl } | abgeschlossene Bibliographiebibliography | bibliographies | closed bibliography [Add to Longdo]
Literaturangabe { f }; Literaturliste { f }bibliographical reference; bibliography [Add to Longdo]
bibliographischbibliographic [Add to Longdo]
bibliographische Beschreibung { f }bibliographic description [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
参照[さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo]
書誌参照[しょしさんしょう, shoshisanshou] (n) bibliographic reference [Add to Longdo]
書誌標示[しょしひょうじ, shoshihyouji] (n) bibliographic identification; biblid [Add to Longdo]
書誌要素[しょしようそ, shoshiyouso] (n) bibliographic element [Add to Longdo]
著作目録[ちょさくもくろく, chosakumokuroku] (n) bibliographical catalogue; author bibliography [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
参照[さんしょう, sanshou] bibliographical reference [Add to Longdo]
書誌参照[しょしさんしょう, shoshisanshou] bibliographic reference [Add to Longdo]
書誌要素[しょしようそ, shoshiyouso] bibliographic element [Add to Longdo]

Japanese-German: JDDICT Dictionary
書誌学[しょしがく, shoshigaku] Bibliographie, Buecherkunde [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top