(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา sialoma มีน้อย ระบบจึงเลือกคำใหม่ให้โดยอัตโนมัติ: diploma) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| diploma | (n) อนุปริญญา, See also: ประกาศนียบัตร, ใบประกาศนียบัตร, Syn. graduation certificate, parchment, honor | diplomat | (n) นักการทูต, See also: เอกอัครราชทูต, ทูต, ผู้ที่ต่อรองอย่างมีชั้นเชิง, ผู้ชำนาญในการคบค้าสมาคม, Syn. diplomatist, envoy representative | diplomacy | (n) การทูต, See also: การต่างประเทศ, ศิลปะการทูต, Syn. tact, address, savoir, faire, Ant. tactlessness, crudeness | diplomacy | (n) ความเชี่ยวชาญในการคบค้าสมาคม, See also: ทักษะในการเจรจาต่อรอง, Syn. tact, artfulness statesmanship, Ant. tactlessness, crudeness | diplomate | (n) ผู้ได้รับประกาศนียบัตร, Syn. graduate | diplomatic | (adj) เกี่ยวกับการทูต, See also: เกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง, Syn. polite, statesmanlike, wise, Ant. direct, blunt | diplomatist | (n) ทูต | diplomatically | (adv) อย่างมีชั้นเชิง |
| | diploma | (n) ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, อนุปริญญา, หนังสือสำคัญ | diplomacy | (n) การทูต, ศิลปะการทูต | diplomat | (n) ทูต, นักการทูต, ทูตานุทูต | diplomatic | (adj) เกี่ยวกับการทูต, ซึ่งเชี่ยวชาญด้านการทูต |
| | Diplomacy | การฑูต [เศรษฐศาสตร์] | Diplomacy | การทูต [TU Subject Heading] | Diplomacy | การทูต, Example: คำว่าการทูต มีหลายท่านได้ให้คำอธิบายความหมายแตกต่างกัน บางท่านเห็นว่าการทูตเป็นศิลปะหรือศาสตร์ หรือวิธีปฏิบัติขั้นการเจรจากันระหว่างรัฐ บ้างว่า เป็นการจัดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยวิธีการเจรจา ซึ่งจะกระทำโดยเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนการทูตเป็นส่วนใหญ่หนังสือ ?Satow?s A Guide to Diplomatic Practice? ซึ่งเรียบเรียงแก้ไขใหม่เป็นครั้งที่ 4 โดย Sir Neville Bland ได้กล่าวว่า การทูต (Diplomacy) คือการนำเอาสติปัญญา (Intelligence) และปฏิภาณ (Tact) ออกใช้ในการเจรจาเป็นทางการระหว่างรัฐบาลของรัฐเอกราชด้วยกัน หรือหากจะกล่าวโดยสรุปก็หมายถึงการที่รัฐต่อรัฐยกเอาเรื่องต่าง ๆ ขึ้นเจรจากันอย่างเอาจริงเอาจังโดยสันติวิธีนั่นเองวิธีการที่รัฐหันมาใช้ การเจรจากันเพื่อทำความตกลงในเรื่องต่าง ๆ นั้นได้เริ่มกระทำกันมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยอาณาจักรโรมันในระยะหลัง ๆ ก่อนที่อาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรจะล่มสลาย นัยว่าจักรพรรดิทั้งหลายของอาณาจักรไบซานเตอุม (Byzanteum) ในสมัยนั้นมีชื่อโด่งดังว่าเป็นบรมครูหรือปรมาจารย์ในการเจรจาทีเดียว แต่การทูตได้กลายเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นอาชีพอย่างหนึ่ง ก็ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ในตอนที่รัฐต่างๆ ของอิตาลีได้เริ่มแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำเป็นการถาวร แต่ในสมัยนั้นก็ยังไม่มีการกำหนดสถานภาพและระเบียบข้อบังคับของอาชีพการทูต แต่อย่างใด จนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 19 คือใน ค.ศ. 1815 จึงได้มีการทำความตกลงกันระหว่างประเทศกำหนดสถานภาพและกฎข้อบังคับขึ้นเป็น กิจลักษณะ คือหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน รัฐต่าง ๆ ที่เข้าร่มประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา หรือเรียกว่าคองเกรสแห่งเวียนนา ได้ตกลงจัดจำแนกผู้แทนทางการทูตรวมทั้งจัดลำดับอาวุโสขึ้น เพื่อให้รัฐทั้งหลายได้ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติ จะเห็นได้ว่าในทุกวันนี้ การทูตได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง หรือสาขาหนึ่งของระบบการปกครองประเทศในทุกประเทศ ซึ่งทวีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในโลกปัจจุบัน ดังจะเห็นได้จากการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างสงครามเย็น (Cold War) ต่างเพียรพยายามใช้การทูตทุกวิถีทางเพื่อระงับปัญหาหรือข้อพิพาท โดยมิให้เกิดสงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) ซึ่งเป็นหนทางสุดท้ายขึ้น เป็นต้นมีข้อน่าสังเกตว่า แต่เดิมรัฐต่าง ๆ จะใช้วิธีการเจรจาระหว่างรัฐบาลตามปกติ โดยผ่านทางผู้แทนทางการทูตถาวรหรือเอกอัครราชทูต ต่อมาหลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกเกิดความนิยมใช้วิธีระงับปัญหาระหว่าง ประเทศโดยการประชุมโต๊ะกลมมากขึ้น (Round table conferences) ในการประชุมระหว่างประเทศเช่นนี้ รัฐบาลของประเทศที่ร่วมการประชุมจะส่งคนของตนไปร่วมประชุมในฐานะผู้แทนผู้ ได้รับมอบอำนาจเต็มและให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนในการเจรจา แทนที่จะเป็นเอกอัครราชทูตดังแต่ก่อน อย่างไรก็ดี วิธีการประชุมเช่นนี้ยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่สองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควรจะใช้วิธีการประชุมแก้ปัญหาระหว่างประเทศโดยวิถีทางการ ทูตตามปกติ โดยให้เอกอัครราชทูตเป็นหัวหน้าคณะผู้แทน เพราะถือว่าเอกอัครราชทูตเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพการทูตอยู่แล้ว ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งสนับสนุนการประชุมโต๊ะกลม หรือที่เรียกว่า Diplomacy by Conferenceในสมัยปัจจุบัน วิธีเจรจาทางการทูตที่ใช้ปฏิบัติกันมีอยู่หลายวิธี วิธีแรกคือ การเจรจาทางการทูตตามปกติ ซึ่งปฏิบัติกันตลอดมาจนเป็นธรรมเนียม (Normal หรือ Traditional Diplomacy) ในกรณีนี้ เอกอัครราชทูตจะเป็นตัวแทนของประเทศของตนเจรจากับกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับประการที่สอง คือ การทูตด้วยวิธีการประชุม (Conference Diplomacy) ซึ่งคณะผู้แทนเจรจาจะมีบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเต็มเป็นหัวหน้าคณะ และส่งไปจากประเทศที่ร่วมการประชุมประการที่สาม ได้แก่ วิธีที่เรียกว่า การทูตส่วนบุคคล (Personal Diplomacy) ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐสองแห่งหรือมากกว่านั้น จะทำการเจรจากันโดยตรง เพื่อระงับหรือทำความตกลงในเรื่องบางเรื่องที่มีผลประโยชน์ร่วมกันประการที่ สี่ คือ การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) โดยประมุขของรัฐบาลหรือของรัฐจะไปร่วมประชุมกันเพื่อหาทางระงับปัญหาของตน ประการสุดท้าย ได้แก่ การทูตโดยทางองค์กรนิติบัญญัติหรือรัฐสภา (Parliamentary Diplomacy) คือให้นำปัญหาไปพิจารณากันในการประชุมปรึกษา เช่น การประชุมขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งนักเขียนเกี่ยวกับวิชาการทูตบางท่านเรียกว่า การทูตโดยคะแนนเสียง (Diplomacy by ballot)อย่างไรก็ตาม มีผู้ทรงคุณความรู้ด้านการทูตบางท่านเห็นว่า ยังมีวิธีการเจรจาทางการทูตอีกแบบหนึ่ง เรียกว่า การทูตสื่อมวลชน (Diplomacy by News Conference) ในกรณีนี้ ประมุขของรัฐหรือของรัฐบาลประเทศหนึ่งจะแถลงนโยบายของประเทศตนต่อที่ประชุม สื่อมวลชน เกี่ยวกับปัญหาที่กำลังจะเกิดขึ้นกับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งโดยปกติย่อมจะแถลงโดยวิถีทางการทูตตามปกติให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบได้ แต่กลับหันไปใช้วิธีแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบโดยการแถลงต่อที่ประชุมสื่อมวล ชนเท่ากับแจ้งให้ทราบโดยทางอ้อม [การทูต] | Diplomacy for the Peoples | การทูตเพื่อประชาชน หมายถึง การดำเนินนโยบายต่างประเทศหรือกิจกรรมทางการทูต ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประชาชน เช่น โครงการส่งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปช่วยรักษาพยาบาลชาวกัมพูชา [การทูต] | diplomatic agent | ตัวแทนทางทูต คือ หัวหน้าของคณะผู้แทน หรือบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทน [การทูต] | Diplomatic and consular service | สถานทูตและสถานกงสุล [TU Subject Heading] | Diplomatic and consular service, American | สถานทูตและสถานกงสุลอเมริกัน [TU Subject Heading] | Diplomatic and consular service, Thai | สถานทูตและสถานกงสุลไทย [TU Subject Heading] | diplomatic clearance number | หมายเลขการอนุญาตให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งของประเทศหนึ่ง ๆ ผ่านเข้าไปในอาณาเขตของอีกประเทศหนึ่งได้โดยเหตุผลทางการทูต อาทิ อากาศยานเฉพาะกิจ เรือที่ใช้ในการสงคราม ฯลฯ [การทูต] | diplomatic corps | คณะทูตานุทูต หมายถึง กลุ่มเอกอัครราชทูต กงสุล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศ รวมทั้งภริยาและเจ้าหน้าที่ทางการทูตที่อยู่ในประเทศนั้น ๆ [การทูต] |
| | | วงการทูต | (n) diplomatic circles, Syn. แวดวงทูต, Example: แขกที่มาอวยพรคู่บ่าวสาวมีแต่ผู้ที่อยู่ในวงการทูตทั้งนั้น, Count Unit: วงการ, Thai Definition: หน่วยงานและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการทูต | ประกาศนียบัตรชั้นสูง | (n) diploma, Example: มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดรับสมัครนักศึกษารอบเพิ่มเติมประจำปีการศึกษา 2541 ในระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง, Count Unit: ใบ, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ในระดับอุดมศึกษา | พระราชไมตรี | (n) friendly relations, See also: diplomatic relations, Example: เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์มีพระราชไมตรีตอบรับคำเชิญของกระทรวงการต่างประเทศของไทย, Thai Definition: ความเป็นเพื่อน, ความหวังดีต่อกัน, Notes: (ราชา) | อักษรสาสน์ | (n) diplomatic letter, Syn. อักษรสาสน, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศ ซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ | ประกาศนียบัตร | (n) certificate, See also: diploma, testimonial, Syn. ใบสุทธิ, วุฒิบัตร, ใบรับรอง, Example: เขาเรียนจบระดับปวส. โดยมีประกาศนียบัตรรับรองความรู้, Thai Definition: เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปกติต่ำกว่าระดับอุดมศึกษา | การทูต | (n) diplomacy, See also: statecraft, statesmanship, foreign affairs, external affairs, Example: เขาชอบใช้วิธีการทูตในการเจรจาหว่านล้อมและสร้างพันธมิตรทางการค้า | ทูต | (n) ambassador, See also: diplomat, envoy, representative, minister, Syn. นักการทูต, ราชทูต, ทูตา, Example: ประเทศไทยส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสันถวไมตรีเป็นทางราชการ, Notes: (บาลี) | ทูตานุทูต | (n) diplomat, See also: envoy, representative, minister, ambassador, diplomatic body, diplomatic corps, Syn. ตัวแทน, Count Unit: ท่าน, คน , กลุ่ม, คณะ, Thai Definition: ทูตใหญ่น้อย, คณะทูต, Notes: (บาลี) | นักการทูต | (n) diplomat, See also: ambassador, emissary, envoy, consul, minister, statesman, Example: พ่อของฉวีวรรณเป็นนักการทูตที่มีความสามารถมานานมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชำนาญการทูต | วุฒิบัตร | (n) diploma, Example: รางวัลที่หนึ่งจะได้รับทุนการศึกษาและวุฒิบัตร, Thai Definition: เอกสารแสดงความรู้, เอกสารแสดงวุฒิ |
| อนุปริญญา | [anuparinyā] (n) EN: diploma FR: diplôme [ m ] ; certificat [ m ] | ใบสุทธิ | [baisutthi] (n) EN: graduation certificate ; school-leaving certificate ; diploma ; testimonial ; certificate of honourable dismissal FR: attestation [ f ] ; certificat [ m ] | ชั้นเชิง | [chanchoēng] (n) EN: artifice ; tactics ; means ; stratagem ; trick ; tact ; strategy ; trickery ; finesse ; craftiness ; diplomatic skill FR: stratagème [ m ] ; moyen [ m ] ; artifice [ m ] ; finesse [ f ] | โดยวิถีทางการทูต | [dōi withīthāng kānthūt] (xp) EN: through the diplomatic channel FR: par voie diplomatique | การปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต | [kān patibat nāthī thāng kānthūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts | การปฏิบัติหน้าที่ทางทูต | [kān patibat nāthī thāng thūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts | การประชุมทางการทูต | [kān prachum thāng kānthūt] (n, exp) EN: diplomatic conference FR: conférence diplomatique [ f ] | การทูต | [kānthūt] (n) EN: diplomacy ; statecraft ; statesmanship ; foreign affairs ; external affairs FR: diplomatie [ f ] | ไข้การเมือง | [khai kān meūang] (n, exp) EN: diplomatic illness ; political illness FR: maladie diplomatique [ f ] | คณะผู้แทนทางทูต | [khana phūthaēn thāng thūt] (n, exp) EN: diplomatic mission FR: mission diplomatique [ f ] |
| | | | Diploma | n.; pl. Diplomas [ L., fr. Gr. &unr_;, fr. &unr_; to double, fr. diplo`os twofold. See Double. ] A letter or writing, usually under seal, conferring some privilege, honor, or power; a document bearing record of a degree conferred by a literary society or educational institution. [ 1913 Webster ] | Diplomacy | n. [ F. diplomatie. This word, like supremacy, retains the accent of its original. See Diploma. ] 1. The art and practice of conducting negotiations between nations (particularly in securing treaties), including the methods and forms usually employed. [ 1913 Webster ] 2. Dexterity or skill in securing advantages; tact. [ 1913 Webster ] 3. The body of ministers or envoys resident at a court; the diplomatic body. [ R. ] Burke. | Diplomate | v. t. To invest with a title or privilege by diploma. [ R. ] Wood. [ 1913 Webster ] | Diplomate | { , n. [ F. diplomate. ] A diplomatist. [ 1913 Webster ] Variants: Diplomat | Diplomatial | a. Diplomatic. [ R. ] | Diplomatic | n. A minister, official agent, or envoy to a foreign court; a diplomatist. [ 1913 Webster ] | Diplomatical | { } a. [ Cf. diplomatique. ] 1. Pertaining to diplomacy; relating to the foreign ministers at a court, who are called the diplomatic body. [ 1913 Webster ] 2. Characterized by tact and shrewdness; dexterous; artful; as, diplomatic management. [ 1913 Webster ] 3. Pertaining to diplomatics; paleographic. Astle. [ 1913 Webster ] Variants: Diplomatic | Diplomatically | adv. According to the rules of diplomacy; in the manner of a diplomatist; artfully. [ 1913 Webster ] | Diplomatics | n. The science of diplomas, or the art of deciphering ancient writings, and determining their age, authenticity, etc.; paleography. [ 1913 Webster ] | Diplomatism | n. Diplomacy. [ R. ] [ 1913 Webster ] |
| 外交 | [wài jiāo, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ, 外 交] diplomacy; diplomatic; foreign affairs #3,500 [Add to Longdo] | 文凭 | [wén píng, ㄨㄣˊ ㄆㄧㄥˊ, 文 凭 / 文 憑] diploma #12,981 [Add to Longdo] | 外交官 | [wài jiāo guān, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ ㄍㄨㄢ, 外 交 官] diplomat #15,177 [Add to Longdo] | 参赞 | [cān zàn, ㄘㄢ ㄗㄢˋ, 参 赞 / 參 贊] diplomatic officer; attache #28,558 [Add to Longdo] | 使团 | [shǐ tuán, ㄕˇ ㄊㄨㄢˊ, 使 团 / 使 團] diplomatic mission #45,500 [Add to Longdo] | 通牒 | [tōng dié, ㄊㄨㄥ ㄉㄧㄝˊ, 通 牒] diplomatic note #75,506 [Add to Longdo] | 治外法权 | [zhì wài fǎ quán, ㄓˋ ㄨㄞˋ ㄈㄚˇ ㄑㄩㄢˊ, 治 外 法 权 / 治 外 法 權] diplomatic immunity; (hist.) extraterritoriality, the rights (under unequal treaties) of a foreigner to live in China outside Chinese jurisdiction #106,703 [Add to Longdo] | 外交手腕 | [wài jiāo shǒu wàn, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ ㄕㄡˇ ㄨㄢˋ, 外 交 手 腕] diplomatic [Add to Longdo] | 外交风波 | [wài jiāo fēng bō, ㄨㄞˋ ㄐㄧㄠ ㄈㄥ ㄅㄛ, 外 交 风 波 / 外 交 風 波] diplomatic crisis [Add to Longdo] | 豁免权 | [huò miǎn quán, ㄏㄨㄛˋ ㄇㄧㄢˇ ㄑㄩㄢˊ, 豁 免 权 / 豁 免 權] diplomatic immunity; immunity from prosecution [Add to Longdo] |
| | 外交 | [がいこう, gaikou] (n) diplomacy; (P) #2,737 [Add to Longdo] | 国交 | [こっこう, kokkou] (n) diplomatic relations; (P) #11,592 [Add to Longdo] | シャトル外交 | [シャトルがいこう, shatoru gaikou] (n) shuttle diplomacy [Add to Longdo] | ディプロマ | [deipuroma] (n) diploma [Add to Longdo] | ディプロマット | [deipuromatto] (n) diplomat [Add to Longdo] | ドル外交 | [ドルがいこう, doru gaikou] (n) dollar diplomacy [Add to Longdo] | 位記 | [いき, iki] (n) court rank diploma [Add to Longdo] | 奥許し | [おくゆるし, okuyurushi] (n) secret; initiation; diploma [Add to Longdo] | 外交の才 | [がいこうのさい, gaikounosai] (n) diplomatic talent [Add to Longdo] | 外交チャンネル | [がいこうチャンネル, gaikou channeru] (n) diplomatic channel [Add to Longdo] |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |