ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ถอนตัว, -ถอนตัว- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ถอนตัว | (v) withdraw from, See also: quit, secede from, leave, pull out, resign, Example: เขาขอถอนตัวก่อนการแข่งขัน เพราะรู้สึกมึนหัวอย่างรุนแรง, Thai Definition: เอาตัวออกจากพันธะหรือข้อกำหนด, ไม่เข้าร่วม | ถอนตัว | (v) withdraw, Ant. เข้าร่วม, Example: สมปองถอนตัวจากการแข่งขันครั้งนี้, Thai Definition: ขอยุติไม่ร่วมต่อ, ไม่ขอร่วมต่อไป, Notes: (สำนวน) |
| ถลำตัว | ก. พลั้งพลาดไปจนยากที่จะหลุดพ้นออกมาได้ เช่น เขาถลำตัวเสพยาเสพติดจนถอนตัวไม่ขึ้น. | ถอน | เอาตัวออกจากพันธะ เช่น ถอนตัว |
| withdrawal | ๑. การถอน๒. การถอนตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
|
| Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] | Nuclear Test Ban | หมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
| การถอนตัว | [kān thøn tūa] (n, exp) EN: withdrawal | ถอนตัว | [thøntūa] (v) EN: withdraw (from) ; quit ; secede from ; leave ; pull out ; resign ; stop taking part FR: se retirer ; quitter | ถอนตัวจาก | [thøntūa jāk] (v, exp) EN: withdraw from |
| abdicate | (vt) ทำให้สละราชสมบัติ, See also: ทำให้สละราชบัลลังก์, ทำให้สละอำนาจ, ทำให้ถอนตัวจากอำนาจ, ตำแหน่ง, สิทธิ์ | abdicate | (vi) สละราชสมบัติ, See also: สละราชบัลลังก์, สละอำนาจ, ถอนตัวจากอำนาจ, ตำแหน่ง, สิทธิ์, Syn. renounce, relinguish | cash in | (phrv) ถอนตัว (ธุรกิจ), Syn. withdraw | draw back | (phrv) ถอนตัวจาก (ข้อตกลง, สัญญา), See also: ถอนสัญญา, Syn. pull back | lever out | (phrv) ดึงออกมาจาก, See also: ถอนตัวจาก | retire | (vi) ถอนตัว, See also: ปลีกตัว, Syn. forsake, withdraw | retired | (adj) ถอนตัว, See also: ปลีกตัว, Syn. having withdrawn | retirement | (n) การปลดเกษียณ, See also: การถอนตัว, การอยู่อย่างเงียบๆ, ความสันโดษ, การอยู่ตามลำพัง, Syn. relinquishment, resignation, seclusion, withdrawal, Ant. entrance, exposure | retreat | (n) การปลดเกษียณ, See also: การถอนตัวจากตำแหน่ง, Syn. retirement, withdrawal | retreat | (vi) ถอนตัว, Syn. leave, withdraw | scratch | (vt) ถอนตัวจากการแข่งขัน | scratch | (vi) ถอนตัวจากการแข่งขัน | secede | (vi) แยกตัวออก, See also: แยกตัวออกอย่างเป็นทางการ, ถอนตัว, Syn. break away, retract, schismatize, withdraw | secession | (n) การแยกตัวออก, See also: การถอนตัวออกอย่างเป็นทางการ, Syn. dissent, withdrawal, schism, breakaway, separation | secessionist | (n) ผู้สนับสนุนการแบ่งแยกดินแดน, See also: ผู้สนับสนุนการถอนตัวออก, ผู้ถอนตัวออกไป, Syn. rebel, seceder, schismatic | separate | (vi) แยกทาง, See also: แตกกัน, แยกกัน, ถอนตัว, Syn. isolate, insulate, sequester, Ant. reconcile | secede from | (phrv) ถอนตัวจาก, See also: แบ่งแยกจาก, เลิกเป็นอาณานิคมของ | vacate | (vt) พ้นตำแหน่ง, See also: สละตำแหน่ง, ลาออก, ถอนตัวจาก, ออกจากงาน, Syn. resign, leave, quit | withdraw from | (phrv) ถอนตัวจาก, See also: ถอนจาก, เลิกจาก | withdraw into | (phrv) แยกตัว, See also: ถอนตัว, ออกห่างจาก, Syn. retire into |
| cash | (แคช) { cashed, cashing, cashes } n. เงินสด, เหรียญเงิน, ธนบัตร. vt. จ่ายเงินสด, รับเงินสด, ขึ้นเป็นเงินสด -Phr. (cash in ขึ้นเป็นเงินสด, หยุดกิจการ, ถอนตัว) -Phr. (cash in on หากำไรจาก), See also: cashable adj. ดูcash, Syn. curren | retire | (รีไท'เออะ) vi. ถอยออก, ถอนตัว, ไปนอน, เข้านอน, ปลด, ปลดเกษียณ, ออกไป, จากไป, ปลีกตัว, ซ่อนตัว, สละโลก vt. ถอน, ถอนกลับ, เอาออก, ถอนตัว, รับคืนธนบัตร, See also: retirer n., Syn. quit, resign, withdraw | retired | (รีไท'เออร์ด) adj. ถอนตัว, ปลดเกษียณ, อยู่อย่างสันโดษ, See also: retired lyadv. retiredness n., Syn. withdrawn | scratch | (สแครทชฺ) vt..vi. ข่วน, เกา, ถู, ครูด, ขุด, ขีด, ตะกุย, คุ้ยเขี่ย, ถอนตัวออกจากการแข่งขัน, ขีดออก, ขีดทิ้ง , ดำเนินชีวิตไปด้วยความลำบากมาก, ถอนตัวออกจากการแข่งขัน, ไม่สามารถปฎิบัติตามคำมั่นสัญญา, รวบรวมหรือกินอย่างรีบเร่ง. n. รอยข่วน (เกา, ถู, ครูด, ขุด, ขีด, ตะกุย) , การถอนตัวจากการแข่งขัน, บุคคลที่ไม่สำคัญ, เงินสด | secede | (ซีซีด') vt. ถอนตัว (อย่างเป็นทางการจากการเป็นพันธมิตร จากองค์การ จากสมาคมหรืออื่น ๆ) , แบ่งแยกดินแดน., See also: seceder n. | secession | (ซีเซส'เชิน) n. การถอนตัวออก, การแบ่งแยกดินแดน, See also: secessionist n., adj. secessionism n., Syn. abandonment, withdrawal | segregate | (เซก'ระเกท) vt. แยกออกจากกัน, แบ่งแยก (เชื้อชาติ, ผิว, กลุ่ม) vi. แยกออก, แบ่งออก, ถอนตัวออก, หันไปเกาะ, (พันธุศาสตร์) แยกออกระหว่างการแบ่งเซลล์แบบmeiosis (ดู) , หันไปรวม., See also: segregable adj. segregative adv. segregator n. คำที่มีความหมายเหมื | withdrawn | (วิธ'ดรอน) vi., vt. กริยาช่อง 3 ของ draw adj. ถอนตัวออก, ถอนคำ, ยกเลิก, เลิก, See also: withdrawnness n., Syn. unsociable |
| retire | (vi) ปลีกตัว, ลาออก, ซ่อนตัว, ปลดเกษียณ, ถอนตัว, พักงาน | retire | (vt) เอาออก, ถอนออก, ถอนตัว, ถอนคืน | retired | (adj) ถอนตัวออก, ลาออกแล้ว, ปลดเกษียณแล้ว | scratch | (n) การเกา, รอยข่วน, รอยขูด, เส้นออกวิ่ง, การถอนตัวจากการแข่งขัน | withdraw | (vi) ถอนคืน, เอากลับ, ถอนตัว, เลิก | withdrawal | (n) การถอนตัว, การถอย, การชัก, การหด, การเลิก |
| 浸る | [ひたる, hitaru] TH: จมหรือติดอยู่ในสภาพนั้นจนถอนตัวไม่ขึ้น EN: to be flooded |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |