ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ลำตัว, -ลำตัว- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ปลากระดี่ | [Pla-Kra-Di] (n) Gourami (อินโดนีเซีย: Sepat, อีสาน: กระเดิด) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ย่อย Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae มีรูปร่างโดยทั่วไป คือ แบนข้างคล้ายใบไม้ หัวมีขนาดเล็ก ปลายปากค่อนข้างแหลม ปากมีขนาดเล็ก มีครีบอกคู่แรกเป็นเส้นยาวใหญ่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "ตะเกียบ" เป็นอวัยวะช่วยในการสัมผัส มีก้านครีบแขนง 2-4 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3-9 ก้าน และก้านครีบแขนง 7-11 ครีบ ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 9-14 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 25-40 ก้าน ครีบท้องและครีบก้นต่อยาวเป็นแถวเดียวกัน โดยที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว ปลายครีบหางไม่เว้ามากนัก[ 1 ] เป็นปลาที่มีการแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพบได้แทบทุกประเภทของแหล่งน้ำจืด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ พบทั้งสิ้น 4 ชนิด ได้แก่ ปลากระดี่มุก (Trichogaster leerii) ปลากระดี่นาง (Trichogaster microlepis) ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) ปลากระดี่หม้อ (Trichogaster trichopterus) Image: |
|
| | ถลำตัว | ก. พลั้งพลาดไปจนยากที่จะหลุดพ้นออกมาได้ เช่น เขาถลำตัวเสพยาเสพติดจนถอนตัวไม่ขึ้น. | กดเหลือง | น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Hemibagrus nemurus (Valenciennes) ในวงศ์ Bagridae ไม่มีเกล็ด หัวแบน หนวดยาวถึงครีบก้น ข้างลำตัวสีเหลือง ด้านหลังสีน้ำตาลดำ มีชุกชุมทั่วไป แม้ในเขตน้ำกร่อยใกล้ปากแม่น้ำ ขนาดยาวได้ถึง ๖๕ เซนติเมตร, กดขาว หรือ ชงโลง ก็เรียก. | ก้น | น. ส่วนเบื้องล่างของลำตัวของคนหรือส่วนท้ายของลำตัวของสัตว์, โดยปริยายหมายความถึงบริเวณก้นด้วย เช่น ล้างก้น | ก้นขบ | น. ชื่องูขนาดเล็กชนิด Cylindrophis ruffus (Laurenti) ในวงศ์ Aniliidae หรือ Uropeltidae สีดำแกมม่วง มีลายประตามลำตัวสีขาวเห็นได้ชัดเมื่อยังมีขนาดเล็ก ท้องมีลายดำขาวสลับกัน พื้นท้องของหางเกือบปลายสุดมีสีแดงอมส้ม ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษข้างหางเพราะชูและแผ่หางแบนม้วนให้เห็นเมื่อพบศัตรู. | กบ ๒ | น. ชื่อสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกหลายชนิด ในสกุล Rana วงศ์ Ranidae ลำตัวสั้นป้อมมีขนาดต่าง ๆ กัน ขาคู่หลังใหญ่และยาวกว่าขาคู่หน้า ตีนแบนมีพังผืดติดเป็นพืด เมื่อโตเต็มที่ไม่มีหาง กระโดดได้ไกล ว่ายน้ำ ดำน้ำได้เร็ว เมื่อยังเป็นตัวอ่อนมีหาง อยู่ในน้ำเรียกว่า ลูกอ๊อด ภายหลังจึงงอกขา หางหดหายไป แล้วขึ้นอาศัยบนบก หน้าแล้งอยู่แต่ในรู ไม่ออกหาอาหารชั่วคราว เรียกว่า กบจำศีล เช่น กบนา [ Hoplobatrachus rugulosus (Wiegmann) หรือ R. rugulosus (Wiegmann) ]. | กบทูด | น. ชื่อกบภูเขาขนาดใหญ่ที่สุดชนิด Rana blythii Boulenger ในวงศ์ Ranidae ปากค่อนข้างแหลมเมื่อเทียบกับชนิดอื่น กระดูกขากรรไกรบนยาวแหลมออกมาคล้ายเขี้ยว ขนาดลำตัวอาจยาวถึง ๓๐ เซนติเมตร อาศัยในป่าดงดิบชื้นตามลำธารบนภูเขา, พายัพเรียก เขียดแลว. | กบบัว | น. ชื่อกบขนาดเล็กชนิด Rana erythraea (Schlegel) ในวงศ์ Ranidae ตัวสีเขียวมีแถบสีขาวพาดตามยาวลำตัว อาศัยอยู่ตามกอบัว จึงมีผู้เรียกว่า เขียดบัว และร้องเสียง “จิ๊ก ๆ ” บางครั้งจึงเรียกว่า เขียดจิก. | กรอก ๒ | (กฺรอก-) น. ชื่อนกยางขนาดเล็ก ในวงศ์ Ardeidae นอกฤดูผสมพันธุ์เพศผู้และเพศเมียสีลำตัวคล้ายกัน แต่ในฤดูผสมพันธุ์สีต่างกัน ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ ยางกรอกพันธุ์จีน [ Ardeola bacchus (Bonaparte) ] หัวสีนํ้าตาลแดง หลังสีเทาดำ อกสีแดง ยางกรอกพันธุ์ชวา [ A. speciosa (Horsfield) ] หัวและคอสีเหลือง หลังสีเทาดำ อกสีเหลือง และยางกรอกพันธุ์อินเดีย [ A. grayii (Sykes) ] หัวและคอสีเหลือง หลังสีแดงเข้ม อกสีน้ำตาลเหลือง กินปลาและสัตว์น้ำ. | กระชอน ๒ | น. ชื่อแมลงหลายชนิด ในวงศ์ Gryllotalpidae ลำตัวสีน้ำตาล ยาวประมาณ ๓ เซนติเมตร ปีกสั้น บินได้ในระยะใกล้ ขาคู่หน้าสั้นป้อมและแบนทางข้าง คล้ายอุ้งมือ ปลายมีหนามแข็งใช้ขุดดิน อาศัยอยู่ในดิน กินรากพืชและแมลงเล็ก ๆ ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Gryllotalpa orientalis Burmeister. | กระด้าง ๒ | น. ชื่องูนํ้าขนาดเล็กชนิด Erpeton tentaculatum Lacepède ในวงศ์ Colubridae ลำตัวสีนํ้าตาลหรือดำ มีเส้นหุ้มด้วยเกล็ดเล็ก ๆ ๒ เส้นคล้ายหนวด อาศัยตามแหล่งนํ้าจืดทั่วไป มีพิษอ่อนมาก ปรกติมีนิสัยทำตัวแข็งทื่อ จึงเรียกว่า งูกระด้าง. | กระดาน ๒ | น. ชื่อกุ้งทะเลชนิด Thenus orientalis (Lund) ในวงศ์ Scyllaridae ขนาดยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร หัวและลำตัวหุ้มด้วยเปลือกแข็งสีนํ้าตาล ส่วนหัวและหนวดคู่ที่ ๒ แบน แพนหางแผ่ราบได้กว้าง งอพับเข้าใต้ท้องเมื่อดีดตัวถอยหลังหนีศัตรู อาศัยคืบคลานอยู่ตามพื้นทะเล พบทั่วไป มักเรียกกันว่า กั้งกระดาน. | กระดิ่งทอง | น. ชื่อแมลงพวกด้วงชนิด Martianus dermestoides Chevrolat ในวงศ์ Tenebrionidae ลำตัวยาว ๖-๗ มิลลิเมตร กว้าง ๒-๓ มิลลิเมตร สีน้ำตาลเกือบดำตลอดทั้งลำตัว ขา และปีก กินของแห้งทั้งพืชและสัตว์โดยเฉพาะเมล็ดบัว นิยมนำมาเลี้ยงด้วยเมล็ดบัวแห้ง หัวข้าวเย็นเหนือ หัวข้าวเย็นใต้ โดยเชื่อว่าเมื่อนำมารับประทานจะช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ, ม่าเหมี่ยว ก็เรียก. | กระดี่ ๑ | น. ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Trichogaster วงศ์ Belontiidae เช่นเดียวกับปลาสลิดแต่มีขนาดเล็กกว่า ครีบท้องยาวยื่นเป็นเส้น มี ๓ ชนิด คือ กระดี่หม้อ [ T. trichopterus (Pallas) ] ข้างตัวมีลายหลายเส้นพาดขวาง มีจุดดำที่กลางลำตัวและคอดหางแห่งละ ๑ จุด ขนาดยาวได้ถึง ๑๕ เซนติเมตร, สลาก หรือ สลาง ก็เรียก, กระดี่นาง [ T. microlepis (Günther) ] สีขาวนวล และ กระดี่นางฟ้าหรือกระดี่มุก [ T. leeri (Bleeker) ] พบเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม, บางท้องถิ่นในแถบอีสานเรียก กระเดิด. | กระดูกสันหลัง | น. กระดูกที่อยู่ในแนวกึ่งกลางทางด้านหลังของลำตัว เป็นแกนของร่างกาย มีลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกันเป็นแนวตั้งแต่บริเวณคอต่อจนถึงบริเวณด้านหลังของทวารหนัก ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ไขสันหลัง, โดยปริยายหมายถึงส่วนที่สำคัญ, ส่วนที่เป็นพลังคํ้าจุน, เช่น ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ. | กระต่ายชมจันทร์ | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างหนึ่งตั้งวงสูง ระดับแง่ศีรษะ มืออีกข้างหนึ่งจีบหงายระดับข้างลำตัว เอียงศีรษะข้างเดียวกับมือที่จีบ | กระต่ายต้องแร้ว | น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือทั้งสองตั้งวงระดับข้างลำตัว ลำตัวตั้งตรง เอียงศีรษะข้างใดก็ได้. | กระติ๊ด ๑ | น. ชื่อนกขนาดเล็ก ในวงศ์ Estrildidae ปากสั้นหนารูปกรวยปลายแหลม หัวกลม ลำตัวอ้วนป้อม มีหลายสี ปลายหางแหลม ใช้หญ้าทำรังเป็นรูปกลมอยู่บนพุ่มไม้เตี้ย ๆ หรือกอหญ้า ปากรังอยู่ทางด้านข้าง กินเมล็ดพืช มีหลายชนิด ที่พบมาก คือ กระติ๊ดขี้หมู [ Lonchura punctulata (Linn.) ] ชนิดอื่น ๆ เช่น กระติ๊ดเขียวหรือไผ่ [ Erythrura prasina (Sparrman) ] กระติ๊ดแดงหรือสีชมพูดง [ Amandava amandava (Linn.) ] กระติ๊ดท้องขาว[ Lonchura leucogastra (Blyth) ], กะทิ ก็เรียก. | กระถิก, กระถึก | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Sciuridae เป็นกระรอกขนาดเล็ก ขนสีนํ้าตาล มีแถบสีน้ำตาลเข้ม ๓ แถบพาดตามยาวลำตัว สลับกับแถบสีน้ำตาลจาง ๆ ๔ แถบ ตั้งแต่สันหลังลงไปถึงข้างลำตัว อาศัยอยู่ตามต้นไม้สูง ๆ กินแมลงและผลไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ กระถิกขนปลายหูยาว [ Tamiops rodolphe i (Milne-Edwards) ] และกระถิกขนปลายหูสั้น [ T. mxcclellandi (Horsfield) ], กระเล็น ก็เรียก. | กระทา | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Phasianidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับไก่และไก่ฟ้า ลำตัวกลม ขนลายเป็นกระ ปีกและหางสั้น บินได้ในระยะทางสั้น ๆ คุ้ยเขี่ยหาอาหารบนพื้นดิน กินเมล็ดพืชและแมลง เช่น กระทาทุ่ง [ Francolinus pintadeanus (Scopoli) ] กระทาดงคอสีแสด [ Arborophila rufoyularis (Blyth) ] กระทาป่าไผ่ ( Bambusicola fytchii Anderson) กระทาดงปักษ์ใต้ [ A. chaltionii (Eyton) ]. | กระทิง ๓ | น. ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Mastacembelus วงศ์ Mastacembelidae ลำตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย ปลายจะงอยปากบนเรียวแหลมคล้ายปลาหลด แต่มีครีบหลังและครีบก้นยาวต่อเนื่องกับครีบหาง สีสดสวยกว่าและมีขนาดใหญ่กว่า อาศัยอยู่ในแม่นํ้าลำคลองและที่ลุ่ม ที่พบทั่วไปในประเทศไทย เช่น ชนิด M. armatus (Lacepéde), M. favus Hora, และกระทิงไฟ ( M. erythrotaeniaBleeker) ซึ่งมีขนาดยาวได้ถึง ๘๐ เซนติเมตร. | กระทุงเหว | น. ชื่อปลาผิวนํ้าทุกชนิด ในวงศ์ Belonidae และ Hemiramphidae ลำตัวกลมยาวคล้ายปลาเข็ม กระดูกปากทั้งตอนบนและล่างหรือเฉพาะตอนล่างยื่นยาวแหลม หางเป็นแฉก บ้างก็ตัดเฉียงลงมากน้อยหรือกลมแล้วแต่ชนิดหรือสกุล ส่วนใหญ่พบในเขตนํ้ากร่อยหรือชายทะเล เช่น ชนิดในสกุล Hemiramphus, Hyporhamphus, Rhynchorhamphus, Tylosurus, Strongyluraและ Zenarchopterusชนิดที่พบในทะเลห่างฝั่งและบริเวณรอบเกาะ คือ กระทุงเหวบั้ง [ Ablennes hians (Valenciennes) ] ซึ่งมีชุกชุมที่สุด บางชนิดพบอาศัยอยู่ในนํ้าจืด เช่น กระทุงเหวเมือง [ Xenentodon cancila (Hamilton) ] ขนาดยาวได้ถึง ๑.๒๕ เมตร, เข็ม ก็เรียก. | กระทู้ ๓ | น. ชื่อหนอนผีเสื้อกลางคืนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Noctuidae ลำตัวรูปทรงกระบอก ยาว ๓-๔ เซนติเมตร ผิวเป็นมัน มีขนตามลำตัวน้อย ส่วนใหญ่สีน้ำตาลคลํ้า ทางด้านท้องสีอ่อนกว่า มักมีแถบหรือเส้นสีต่าง ๆ เช่น สีส้มอมนํ้าตาล เหลืองอมขาว พาดตามยาวที่สันหลังและข้างลำตัว มีขาจริง ๓ คู่ ขาเทียม ๕ คู่ กินพืช โดยมักกัดต้นพืชให้ขาดออกจากกัน ทำให้เหลือแต่ตอโผล่เหนือพื้นดิน มองคล้ายกระทู้หรือซอไม้ไผ่ที่ปักเป็นหลัก ชนิดที่รู้จักกันทั่วไป เช่น หนอนกระทู้ควายพระอินทร์หรือหนอนกระทู้คอรวง [ Mythimna separate (Walker) ] ทำลายต้นข้าว, หนอนกระทู้ผัก [ Spodoptera litura (fabricius) ] ที่กัดกินพืชผัก. | กระบอก ๑ | หุ่นชนิดหนึ่ง มีแต่ส่วนหัวและมือ ๒ ข้าง ลำตัวทำด้วยไม้กระบอก มีผ้าเย็บเป็นถุงคลุม เวลาเชิดใช้มือสอดเข้าไปจับไม้กระบอกนั้นเชิด เรียกว่า หุ่นกระบอก | กระบอก ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยและปลาทะเลหลายชนิด ในสกุล Liza, Valamugil, Oedalechilus และ Mugil วงศ์ Mugilidae ลำตัวค่อนข้างกลม ปากเล็ก มีครีบหลัง ๒ ตอน เกล็ดใหญ่สีเงิน มีหลายชนิด ขนาดยาวได้ถึง ๑ เมตร มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น กระบอกท่อนไต้ [ L. vaigiensi (Qnoy & Gaimard) ] กระบอกดำ [ L. parsia (Hamilton-Buchanan) ] กระบอกขาว [ V. seheli (Forsskål) ], กระเมาะ หรือ ละเมาะ ก็เรียก สำหรับปลาขนาดเล็ก, ปักษ์ใต้เรียก หมก หรือ มก. | กระเบน | น. ชื่อปลากระดูกอ่อนพวกหนึ่ง มีหลายชนิด หลายสกุล และหลายวงศ์ ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ลำตัวกว้างตั้งแต่ ๑๕-๓๐๐ เซนติเมตร ลำตัวแบนลงมาก และต่อเนื่องกับครีบอกแผ่ออกด้านข้าง บางชนิดแผ่ออกไปจดด้านหน้าและด้านท้ายเกือบเป็นวงกลมดูคล้ายจานหรือว่าว บางชนิดแผ่ยื่นด้านข้างออกไปเป็นปีกคล้ายนกหรือผีเสื้อ และบางชนิดครีบอกแผ่ไปไม่ถึงส่วนหน้า ทำให้หัวแยกจากลำตัวและส่วนยื่นของหัวเป็นลอน มีเหงือก ๕ คู่ อยู่ด้านล่างของส่วนหัว บริเวณถัดจากส่วนท้ายของนัยน์ตามีรูเปิดข้างละช่อง ซึ่งด้านในติดต่อกับโพรงเหงือกและปาก หางส่วนมากเรียว สั้นบ้างยาวบ้าง มักมีผิวหยาบหรือขรุขระ บางพวกมีเงี่ยงอยู่บนหางตอนใกล้ลำตัว และมีต่อมน้ำพิษอยู่บริเวณโคนเงี่ยง เมื่อใช้เงี่ยงแทงจะปล่อยน้ำพิษออกมาด้วย ทำให้คนหรือสัตว์ที่ถูกแทงรู้สึกปวด | กระเบื้อง ๒ | น. ชื่อแมลงพวกด้วงชนิด Mesomorphus vitalisiChatanay ในวงศ์ Tenebrionidae ลำตัวสีน้ำตาลดำ ยาวประมาณ ๖ มิลลิเมตร มักเกาะกินเชื้อราตามผนังบ้านหรือผนังโบสถ์ที่เก่าและชื้นเป็นจำนวนมาก เห็นเป็นปื้นสีดำคล้ายเอากระเบื้องสีดำมาปะไว้. | กระมัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Puntioplites proctozysron (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลาตะเพียน มีกระดูกครีบก้นใหญ่แข็งและเป็นหยัก ครีบหลังมีขนาดใหญ่ พื้นลำตัวเป็นสีขาว ขนาดยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, เหลี่ยม ก็เรียก. | กระเรียน | น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Grus antigone (Linn.) ในวงศ์ Gruidae ขนลำตัวสีเทา หนังหัวและต้นคอสีแดง คอยาว ขายาว ปีกกว้าง หางกว้างและสั้น เวลาบินคอเหยียดตรง หากินตามที่ราบลุ่ม กินพืช แมลง และสัตว์ขนาดเล็ก, กาเรียน ก็เรียก. | กระสง | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa lucius (Cuvier) ในวงศ์ Channidae รูปร่างคล้ายปลาช่อนซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่หัวแหลมกว่าและแอ่นงอนขึ้นเล็กน้อย มีลายพาดขวางลำตัวข้างละ ๗-๑๒ แถบ ทุกครีบมีจุดประหรือริ้วสีดำ ขนาดยาวได้ถึง ๔๐ เซนติเมตร. | กระสุนพระอินทร์ | น. ชื่อกิ้งกือในสกุล Sphaerotherium วงศ์ Sphaerotheriidae ยาวประมาณ ๔ เซนติเมตร หัวแบนเล็ก ลำตัวโค้งนูน มี ๑๓ ปล้อง ผิวลำตัวเรียบมัน ด้านหลังสีน้ำตาล ดำ ครีม หรือเขียว เมื่อถูกกระทบจะม้วนเข้าสอดกับปล้องสุดท้ายจนกลมคล้ายลูกกระสุนดินปั้น พบชุกชุมช่วงต้นฤดูฝนตามพื้นที่สูงที่มีใบไม้ทับถมและชุ่มชื้น, ปักษ์ใต้เรียก มวนชิด. | กระสูบ | น. ชื่อปลานํ้าจืด ๒ ชนิด ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลาตะเพียน แต่ลำตัวเพรียวกว่า ชนิดแรกคือ กระสูบขาว [ Hampala macrolepidota (van Hasselt) ] มักมีลายดำพาดขวางที่บริเวณลำตัวใต้ครีบหลัง พื้นหางสีแดง ขอบบนและล่างสีดำ ยาวได้ถึง ๗๐ เซนติเมตร อีกชนิดหนึ่งคือ กระสูบจุด ( H. disparSmith) ลำตัวมีจุดดำอยู่ตอนกลาง ปลายครีบหางมนกว่าและไม่มีแถบสีดำ ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร, สูด หรือ สูบ ก็เรียก. | กระแห, กระแหทอง | น. ปลาตะเพียนขนาดกลางชนิด Barbonymus schwanefeldi (Bleeker) หรือ Puntius schwanefeldi (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวสั้นกว้างคล้ายปลาตะเพียนขาว มักมีสีแดงอ่อนบนครีบ เฉพาะส่วนปลายของครีบหลังและขอบทั้งบนและล่างของครีบหางมีสีดำ ขนาดยาวได้ถึง ๔๐ เซนติเมตร, ตะเพียนหางแดง หรือ เลียนไฟ ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ลำปำ. | กระโห้ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Catlocarpio siamensis Boulenger ในวงศ์ Cyprinidae หัวโตมากโดยเฉพาะปลาขนาดเล็ก เกล็ดใหญ่ ลำตัวด้านหลังสีเทาดำ หางและครีบสีแดงคลํ้าหรือส้ม พบในแม่นํ้าใหญ่หลายสายของประเทศไทย เคยพบขนาดยาวได้ถึง ๓ เมตร จัดเป็นปลานํ้าจืดในกลุ่มปลาตะเพียนที่ใหญ่ที่สุดในโลก, กระมัน หรือ หัวมัน ก็เรียก. | กราย ๑ | (กฺราย) น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Chitata ornata (Gray) วงศ์ Notopteridae หัวและลำตัวแบนข้างมาก สันหัวแอ่นลง ท้องเป็นสันคม ครีบท้องเล็กมาก ครีบก้นยาวต่อเนื่องกับครีบหางซึ่งเล็กและมีขอบมน บริเวณเหนือครีบก้นมีจุดสีดำ ๕-๑๐ จุดเรียงเป็นแถวตามยาว ขนาดยาวได้ถึง ๑ เมตร, ตองกราย หรือ หางแพน ก็เรียก. | กวัก ๑ | (กฺวัก) น. ชื่อนกขนาดกลางชนิด Amaurornis phoenicurus (Pennant) ในวงศ์ Rallidae ลำตัวสั้น รูปร่างป้อม ขาและนิ้วยาว หน้าผากและด้านล่างลำตัวสีขาว อาศัยอยู่ตามหนองนํ้า เดินหากินบนพื้นดินหรือบนใบพืชนํ้า เช่น บัว จอก แหน ขณะเดินหางมักกระดกขึ้นกระดกลง ในตอนเช้าหรือพลบคํ่าร้องเสียงดัง “กวัก ๆ ”. | กวาง ๑ | (กฺวาง) น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Cervidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องกีบคู่ มีหลายชนิด รูปร่างลำตัวเพรียว คอยาว ขายาว หางสั้น ตัวเมียเล็กกว่าตัวผู้ ผลัดเขาปีละครั้ง ชนิดที่พบทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเขา ได้แก่ กวางเรนเดียร์ [ Rangifer tarandus (Linn.) ] ชนิดที่ตัวเมียไม่มีเขา ได้แก่ กวางป่าหรือกวางม้า ( Cervus unicolor Kerr) ส่วนพวกที่ตัวผู้และตัวเมียไม่มีเขา ได้แก่ กวางชะมด (Moschus spp.) และกวางวอเตอร์เดียร์ ( Hydropotes inermis Swinhoe). | กอริลลา | น. ชื่อลิงไม่มีหางชนิด Gorilla gorilla Savage & Wyman ในวงศ์ Pongidae เป็นลิงที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ตัวสูงขนาดคนแต่ลํ่าสันและแข็งแรงกว่ามาก ขนลำตัวสีดำหรือสีเทา มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา. | กะตัก | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Encrasicholina และ Stolephorus วงศ์ Engraulidae รูปร่างยาว กลม หรือแบนข้างเล็กน้อยแล้วแต่ชนิด ปากกว้าง ที่สันท้องระหว่างครีบท้องและครีบก้นมีหนามแหลมขนาดเล็กมาก ๒-๗ อัน ข้างลำตัวมีสีเด่นเป็นเพียงแถบสีเงินพาดตลอดตามยาว มักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ใกล้ฝั่ง อาจคละกันหลายชนิด, หัวอ่อน ชินชัง ไส้ตัน เส้นขนมจีน หัวไม้ขีด มะลิ เก๋ย เรียกปะปนกันระหว่างขนาด ชนิด หรือต่างกันตามท้องถิ่นที่จับ ขนาดยาวได้ถึง ๑๔ เซนติเมตร. | กะแท้ | น. ชื่อแมลงพวกมวนหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Cydnidae ลำตัวยาว ๔-๑๒ มิลลิเมตร รูปร่างรูปไข่ ส่วนใหญ่มีสีนํ้าตาลแก่อมดำหรือดำ มักบินเข้าหาแสงไฟ เมื่อจับต้องตัวจะปล่อยกลิ่นฉุนเหม็นติดมือ บางทีคล้ายกลิ่นอุจจาระของคน ที่พบบ่อย ได้แก่ ชนิด Geotomus pygmaeus (Dallas). | กะปูด | น. ชื่อนกขนาดกลางในวงศ์ Cuculidae ปากแหลมสั้นหนา ตาสีแดง ลำตัวเพรียว หัว คอ และลำตัวมีขนสีดำ ปีกสั้นสีน้ำตาลแดง หากินตามพื้นป่าโปร่ง บินได้ในระยะสั้น ๆ ร้องเสียง “ปูด ๆ ” มี ๓ ชนิด คือ กะปูดใหญ่ [ Centropus sinensis (Stephens) ] กะปูดเล็ก [ C. bengalensis (Gmelin) ] และกะปูดนิ้วสั้น ( C. rectunguisStrickland), ปูด หรือ กระปูด ก็เรียก, พายัพเรียก ก้นปูด. | กะพง ๑ | น. ชื่อปลาหลายชนิดในหลายวงศ์ที่มีก้านครีบเป็นกระดูกแข็ง ขนาดยาวได้ถึง ๒ เมตร ลำตัวหนา แบนข้างเล็กน้อย หัวโตลาดลงมาจากด้านหลัง ตาค่อนข้างโต ปากกว้าง เช่น กะพงแดง ( Lutjanus malabaricusSchneider) ในวงศ์ Lutjanidae, กะพงขาว [ Lates calcarifer (Bloch) ] ในวงศ์ Centropomidae, กะพงลาย [ Datnioides quadrifasciatus (Sevastianov) ] ในวงศ์ Lobotidae. | กะราง, กะลาง | น. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิด ใน ๒ วงศ์ ลำตัวอ้วนป้อม หากินเป็นฝูงตามพื้นดิน อาจหากินร่วมกับนกชนิดอื่น ๆ พวกที่อยู่ในวงศ์ Sylviidae มีปากหนาสั้นสีดำปลายแหลม เช่น กะรางหัวหงอก [ Garrulax leucolophus (Hardwicke) ] กะรางคอดำ [ G. chinensis (Scopoli) ] กะรางสร้อยคอเล็ก [ G. monileqer (Hodgson) ] พวกที่อยู่ในวงศ์ Upupidae ได้แก่ กะรางหัวขวาน ( Upupa epops Linn.) ปากยาวแหลมโค้งสีดำ หงอนขนสีส้มขอบดำ ลักษณะหงอนขนเหมือนหมวกของอินเดียนแดง ขนตามลำตัวสีนํ้าตาลอมเหลือง มีแถบดำขาวสลับกัน, ชนิดนี้ การางหัวขวาน หรือ หงอนชบา ก็เรียก. | กัง | น. ชื่อลิงชนิด Macaca nemestrina (Linn.) ในวงศ์ Cercopithecidae ขนลำตัวสีน้ำตาลอมเทา หางสั้นงอโค้งขึ้นไปทางด้านหลัง ทางปักษ์ใต้ใช้เก็บมะพร้าว, กะบุด ก็เรียก. | กั้ง ๑ | น. ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Stomatopoda มีหลายวงศ์ ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Squillidae หายใจด้วยเหงือก ลำตัวแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ ๕ แต่ไม่ถึงปล้องที่ ๘ กรีมีลักษณะแบนราบ มี ๖ ขา, กั้งตั๊กแตน ก็เรียก. | กัด ๓ | น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กชนิด Betta splendens Regan ในวงศ์ Osphronemidae ขนาดยาวได้ถึง ๖.๕ เซนติเมตร ทำรังเป็นหวอดที่ผิวนํ้า ตัวผู้ใหญ่กว่าตัวเมีย มีสีสวยงาม สามารถกางครีบและแผ่นปิดเหงือก เปล่งสีลำตัวให้เข้มขึ้น ในขณะต่อสู้มักกัดกัน จึงเรียกว่า ปลากัด. | กางเขน | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Turdidae ปากยาวปานกลางปลายแหลม หางยาวกว่าลำตัวมาก เช่น กางเขนบ้าน [ Copsychus saularis (Linn.) ] ส่วนบนลำตัวสีดำ ส่วนล่างตั้งแต่อกลงไปสีขาวหม่น ปีกมีลายพาดสีขาว มักอยู่เป็นคู่หรือกลุ่มเล็ก ๆ กินแมลง, ภาคกลางเรียก กางเขน, พายัพเรียก จีแจ๊บ, อีสานเรียก จี่จู้, ปักษ์ใต้เรียก บินหลา, กางเขนดง [ C. malabaricus (Scopoli) ] ปาก หัว หลัง อก และปีกของตัวผู้สีดำเหลือบ หลังส่วนล่างติดโคนหางสีขาว อกส่วนล่างไปจนถึงหางสีน้ำตาลแดง หางยาว ด้านบนสีดำ ใต้หางและขอบหางสีขาว ขาสีน้ำตาลอมชมพู ตัวเมียสีจางไม่สดใสเท่าตัวผู้และหางสั้นกว่า. | ก้างพระร่วง | น. ชื่อปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดจำพวกเดียวกับปลาเนื้ออ่อน ชนิด Kryptopterus bicirrhis (Valenciennes) ในวงศ์ Siluridae ลำตัวยาวแบนข้างมาก ปากเล็กเชิดขึ้น เนื้อมีลักษณะใสจนมองทะลุลำตัวเห็นแถวกระดูกและอวัยวะภายในต่าง ๆ ขนาดยาวไม่เกิน ๑๒ เซนติเมตร, กระจก ก็เรียก. | กาบบัว | น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Mycteria leucocephala (Pennant) ในวงศ์ Ciconiidae คอและขายาว ปากยาวสีเหลือง หัว คอ และลำตัวสีขาว มีแถบดำคาดขวางอก ขนคลุมขนปีกตอนปลายสีชมพู อาศัยอยู่ตามบึงและหนองนํ้า กินปลาและสัตว์น้ำ. | กาฝาก ๒ | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Dicaeidae ปากสั้น หางสั้น แต่ละชนิดมีสีตามลำตัวหลายสี ตัวผู้สีสดกว่าตัวเมีย ยกเว้นบางชนิดที่มีสีคล้ายคลึงกันทั้ง ๒ เพศ กินน้ำต้อยโดยเฉพาะดอกกาฝากและผลไม้ เช่น กาฝากอกเหลือง [ Prionochilus maculates (Temminck & Laugier) ] กาฝากปากหนา [ Dicaeum agile (Tickell) ] กาฝากอกเพลิง [ D. ignipectus (Blyth) ] สีชมพูสวน [ D. cruentatum (L.) ]. | การ์ตูน ๒ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Amphiprion วงศ์ Pomacentridae ลำตัวสั้นและแบนข้าง สีเหลือง แสด หรือแดง บางชนิดมีส่วนบนรวมทั้งครีบหลังดำคลํ้า มักมีแถบสีขาวเด่นพาดขวางบนหัวและลำตัว ๑-๒ แนว แล้วแต่ชนิดหรือขนาดบ้างมีสีส้ม พบอาศัยตามแนวปะการัง โดยเฉพาะอยู่กับดอกไม้ทะเลซึ่งเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังประเภทหนึ่งในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ขนาดยาวได้ถึง ๑๖ เซนติเมตร. |
| | Ataxia, Truncal | ลำตัวโซเซ, ลำตัวส่ายโงนเงน [การแพทย์] | Axillary, Mid | ครึ่งหนี่งของลำตัว [การแพทย์] | Biliary Drainage, Percutaneous Transhepatic | การระบายน้ำดีผ่านผนังลำตัว [การแพทย์] | Body | ลำตัว, ลำตัว, ส่วนลำตัวของกระดูก, ส่วนลำตัว, กาย [การแพทย์] | Body Cavities | ช่องว่างในลำตัว, ช่องต่างๆของร่างกาย [การแพทย์] | Body Corset | เครื่องรัดลำตัว, เครื่องรัดลำตัว [การแพทย์] | Body Jacket | เฝือก, การเข้าเฝือกลำตัว [การแพทย์] | Body Part | ลำตัว [การแพทย์] | Body Surface Area | พื้นที่ของลำตัว, พื้นที่ผิวกาย, เนื้อที่ผิวกาย [การแพทย์] | Body Wall | ผนังลำตัว, ผนังลำตัว [การแพทย์] | Braces, Spinal | เบรสของลำตัว [การแพทย์] | Buffalo Hump | ไขมันพอกเป็นหนอกบริเวณไหล่ด้านหลัง, ไขมันเพิ่มสูงที่บริเวณลำตัว, ไขมันพอกมากที่บริเวณไหล่และใต้ต้นคอลงมา, หนอก, หลังเป็นหนอก, หลังนูนขึ้นมา, หลังเป็นโหนก [การแพทย์] | Burns, Circumferential | บาดแผลไฟไหม้ที่เกิดรอบลำตัวหรือแขนขา [การแพทย์] | Casts, Body | เฝือกลำตัว [การแพทย์] | Casts, Minerva | การเข้าเฝือกลำตัวรวมส่วนศีรษะ [การแพทย์] | Circling, Trunk | หมุนลำตัว [การแพทย์] | Circumference, Trunk | เส้นรอบวงของลำตัว [การแพทย์] | Coelom | ช่องว่างภายในลำตัว [การแพทย์] | Corpus Uteri | ตัวมดลูก, ลำตัวมดลูก [การแพทย์] | Cosmetics, Body | เครื่องสำอางสำหรับลำตัว [การแพทย์] | Costal Margin | ด้านหน้าของลำตัวที่อยู่ระหว่างชายโครง, ขอบชายโครง [การแพทย์] | Craniopagus | แฝดติดกันที่ส่วนล่างหรือส่วนบนของลำตัว [การแพทย์] | Crustaceans | การเปลี่ยนสีผิวของลำตัว [การแพทย์] | Ctenocephalides | หมัดที่อาศัยอยู่ตามลำตัวหรือขนของสุนัขและแมว [การแพทย์] | Cuticle | เปลือกนอก, ชั้นนอกสุด, ผิวชั้นนอกของผนังลำตัว, คิวติเคิล, หนังกำพร้า, ผิวนอก, ผิวหนัง [การแพทย์] | Decerebrate Posture | ลำตัวแอ่น [การแพทย์] | Diameter, Trunk | ความหนาของลำตัว [การแพทย์] | Distal | เจริญงอกยาวออกทางปลาย, ส่วนปลาย, ปลาย, ขอบ, ซึ่งห่างไกลจากลำตัว [การแพทย์] | Exanthematous Rash | จุดแดงละเอียดเกิดขึ้นทั่วลำตัวและมีอาการคัน [การแพทย์] | Exercise, Lateral Trunk | ท่าบริหารบริเวณลำตัวด้านข้าง [การแพทย์] | Exercise, Trunk, Anterior | ท่าบริหารลำตัวด้านหน้า [การแพทย์] | Exercise, Trunk, General | ท่าบริหารลำตัวทั่วไป [การแพทย์] | Exercise, Trunk, Posterior | ท่าบริหารลำตัวด้านหลัง [การแพทย์] | External Oblique | กล้ามเนื้อลำตัวด้านข้าง [การแพทย์] | Fine Motor Skill | การเคลื่อนไหวที่ละเอียดซับซ้อน, ทักษะการเคลื่อนไหวของลำตัวแขนขามือ [การแพทย์] | circular muscle | กล้ามเนื้อวง, กล้ามเนื้อที่เรียงเป็นวงรอบลำตัวของสัตว์บางชนิด เช่น ไส้เดือนดิน เมื่อทำงานร่วมกับกล้ามเนื้อตามยาวแล้วจะทำให้เคลื่อนที่ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | budding | การแตกหน่อ, การแตกตา, การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแบบหนึ่ง เกิดขึ้นโดยส่วนของเซลล์ หรือกลุ่มเซลล์เจริญยื่นออกมาจากลำตัวหรือลำต้นเดิม แล้วค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงรูปร่างจนคล้ายตัวเดิมหรือต้นเดิม จากนั้นจะเจริญขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดสามารถจะดำรงชีวิตได้ด้วยตนเอง มักพบในสิ่งมีชีวิตชั้นต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pectoral fin | ครีบอก, รยางค์ที่อยู่ใกล้บริเวณหัวของปลา มี 1 คู่ ทำหน้าที่พยุงลำตัวปลาและช่วยในการเคลื่อนที่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | notochord | โนโทคอร์ด, โครงสร้างค่อนข้างแข็งมีลักษณะเป็นท่อนยาวขนานกับด้านหลังของลำตัว อยู่ระหว่างทางเดินอาหารและเส้นประสาทใหญ่ของสัตว์ในระยะเอ็มบริโอ และถูกแทนที่ด้วยกระดูกสันหลังเมื่อโตเต็มวัย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | insect | แมลง, อาร์โทรพอดพวกหนึ่ง มีขา 3 คู่ ลำตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว อก และท้อง เช่น ยุง มด เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | open circulatory system | ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด, ระบบหมุนเวียนเลือดของสัตว์บางชนิดที่เลือดไม่ได้ไหลเวียนอยู่เฉพาะในหลอดเลือดเท่านั้น แต่จะไหลเวียนอยู่ระหว่างหลอดเลือด และโพรงเนื้อเยื่อภายในลำตัว เช่น แมลงต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | nematode [ round worm ] | หนอนตัวกลม, สัตว์ในไฟลัมนีมาโทดา ลำตัวกลมยาว ผิวเรียบ มีหลายขนาด สามารถดำรงชีวิตได้แบบปรสิตหรืออิสระ เช่น ไส้เดือนฝอย พยาธิตัวกลม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | flatworm | หนอนตัวแบน, สัตว์ในไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส มีลักษณะลำตัวแบนยาว เช่น พลานาเรีย พยาธิใบไม้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | arthropod | อาร์โทรพอด, สัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา ลำตัวเป็นปล้อง ทั้งขาและหนวดมีลักษณะต่อกันเป็นข้อ เช่น แมลงทุกชนิด เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | inferior vena cava | อินฟีเรียเวนาคาวา, หลอดเลือดใหญ่ที่นำเลือดจากส่วนล่างของลำตัวตั้งแต่ส่วนอกลงไปเข้าสู่หัวใจทางห้องเอเตรียมขวา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | echinodermata | เอคไคโนเดอมาตา, ไฟลัมหนึ่งของสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ทะเลทั้งหมดลักษณะลำตัวไม่มีส่วนหัวและส่วนท้าย ผิวขรุขระหรือเป็นหนาม เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล ปลิงทะเล เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | annelid | แอนเนลิด, สัตว์ในไฟลัมแอนเนลิดา มีลำตัวกลมยาวเป็นปล้องคล้ายวงแหวนต่อกันทั้งภายนอกและภายใน เช่น แม่เพรียง ไส้เดือนดิน ปลิง เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | centipede | เซนติปิด, สัตว์พวกหนึ่งในไฟลัมอาร์โทรโพดา ลำตัวเป็นปล้อง มีขาปล้องละ 1 คู่ เช่น ตะขาบ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | collar cell | คอลลาร์เซลล์, เซลล์ที่เรียงตัวอยู่ด้านในลำตัวของฟองน้ำ ทำหน้าที่ย่อยอาหารและมีแฟลเจลลัมช่วยโบกพัดให้น้ำเคลื่อนผ่านช่องในลำตัว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | gastrovascular cavity | ช่องแก๊สโทรวาสคิวลาร์, ช่องกลวงกลางลำตัวสัตว์ชั้นต่ำ เช่น ไฮดรา ช่องนี้ทำหน้าที่เป็นทั้งหลอดอาหารและทางลำเลียงสารต่าง ๆ ด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| ลำตัว | [lamtūa] (n) EN: torso ; trunk FR: tronc [ m ] ; torse [ m ] | ลำตัว | [lamtūa] (n) EN: fuselage ; body FR: corps [ m ] ; fuselage [ m ] | ลำตัวเครื่องบิน | [lamtūa khreūangbin] (n) EN: fuselage ; airframe FR: fuselage [ m ] | ถลำตัว | [thalam tūa] (v) EN: blunder ; strip off the right track ; go to far ; move a wrong way ; take a wrong step |
| feather | (n) ถ้าพูดถึงขนของสุนัข จะหมายถึงแผงขนที่ห้อยลงมาจากส่วนหลังของขาทั้งสี่ และใต้ลำตัว ลักษณะคล้ายชายครุย | leotard | (n) ชุดรัดรูปที่เป็นชิ้นเดียวยาวตั้งแต่คอ คลุมลำตัว แต่ไม่มีส่วนปกคลุมขา นักกายกรรมและนักเล่นยิมนาสติกมักใส่ชุดประเภทนี้ | stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| basset | (n) สุนัขพันธุ์หนึ่ง ขาสั้น ลำตัวและหูยาว, Syn. basset hound | basset hound | (n) สุนัขพันธุ์หนึ่ง ขาสั้น ลำตัวและหูยาว, Syn. basset | fatback | (n) เนื้อหมูติดมันจากด้านข้างลำตัว | faun | (n) เทพเจ้าโรมันที่มีลำตัวเป็นคน หูแหลม มีเขา หางและขาหลังเป็นแพะ, Syn. woodland deity, satyr | fuselage | (n) ส่วนลำตัวเครื่องบิน | halibut | (n) ปลาที่มีลำตัวแบนจำพวก Hippoglossus | Harpy | (n) สัตว์ประหลาดในนวนิยายที่มีหัวและลำตัวเป็นผู้หญิง แต่มีหาง ขาและกรงเล็บเหมือนนก | issuant | (adj) ี่ที่ลำตัวตั้งตรงและมีเพียงส่วนหน้าโผล่ออกมา (ใช้กับสัตว์) | Old English sheepdog | (n) สุนัขพันธุ์ใหญ่หางยาวสีเทาและลำตัวมีขนสีขาว | outboard | (adj) ที่ตั้งอยู่นอกลำตัวเรือ | Siamese twins | (n) ฝาแฝดซึ่งมีลำตัวติดกันแต่กำเนิด | sphinx | (n) รูปปั้นสัตว์ประหลาดในนิยายกรีก ลำตัวเป็นสิงโตแต่มีหัวเป็นคน, See also: สฟิงซ์ | stringer | (n) ปีกเสริมซึ่งขนานไปกับลำตัวเครื่องบิน | torso | (n) ลำตัว, See also: ตัว | torso | (n) รูปปั้นเฉพาะส่วนลำตัว | trunk | (n) ลำตัว | underbody | (n) ส่วนล่างของลำตัวสัตว์, Syn. hull | wireworm | (n) หนอนลำตัวแข็งเป็นตัวอ่อนของแมลงเต่าทองและทำลายรากพืช |
| axial skeleton | โครงกระดูกของศีรษะและลำตัว | body | (บอด'ดี) n. ร่างกาย, ร่าง, ตัว, ทั้งตัว, ลำตัว, ลำต้น, ศพ, ซากศพ, ส่วนใหญ่, เนื้อแท้, กลุ่มคน, ข้อสรุป, มวล, วัตถุ, สาร vt.เป็นตัวแทนในรูปของกาย, ทำให้เป็นรูปร่าง, Syn. physique | corset | (คอร์'ซิท) n. เสื้อรัดลำตัวสตรี, เสื้อยกทรงรัดรูปของสตรี vt. สวมเสื้อยกทรงรัดรูป | foundation | (เฟาเด'เชิน) n. รากฐาน, พื้นฐาน, การก่อ, การสร้าง, การสถาปนา, มูลนิธิ, กองทุนมูลนิธิ, ผู้ก่อตั้ง, คณะผู้ก่อตั้ง, เครื่องรัดลำตัวผู้หญิง., See also: foundationary adj., Syn. basis | fuselage | (ฟิวซะ'ลาจ) n. ลำตัวเครื่องบิน, เปลือกนอก | gondola | (กอน'ดาละ) n. เรือแจวโดยสารท้องแบนลำตัวยาวในลำคลองกรุงเวนิส | measurement | (เมส'เชอเมินทฺ) n. การวัด, ขนาดที่วัด, ระบบการวัด, หน่วยวัด., See also: measurements n. ขนาดต่าง ๆ เป็นนิ้วของผู้หญิง ครึ่งลำตัว เอว ตะโพก | paca | (พา'คะ, แพค'คะ) n. สัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดใหญ่ที่ลำตัวมีแต้มขาวเป็นจุด ๆ พบในทวีปอเมริกา | pangolin | (แพง'โกลิน) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีเกล็ดกว้างใหญ่ ซ้อนกัน มันกินมดที่มีลำตัวเป็นเกล็ดใหญ่., Syn. scaly aneater | stay | (สเท) vi. อยู่, พักอยู่, คงอยู่, ยืนหยัด. vt. หยุด, ยั้ง, ควบคุม, สกัด, หน่วงเหนี่ยว, คอย, สนับสนุน n. การอยู่, การพักอยู่, การหยุดอยู่, การค้างอยู่, การเลื่อนการพิจารณา, สิ่งค้ำ, เครื่องค้ำ, สิ่งยึด, เครื่องรัดหน้าท้องหญิง, เชือกโยง, เสื้อในรัดรูป, แกงแนง, stays เครื่องวัดลำตัวผู้หญิง | tenia corporis | กลากลำตัว | torso | (ทอร์'โซ) n. ลำตัว, ร่างกายคน, ลำตัว, รูปสลักเปลือยกายเฉพาะส่วนลำตัว, สิ่งที่ยังไม่สำเร็จสมบูรณ์ pl. torsos, torsi, Syn. trunk | trunk | (ทรังคฺ) n. ลำต้น, ลำตัว, หีบขนาดใหญ่, งวงช้าง, สายโทรศัพท์, สายใหญ่, เส้นทาง (รถไฟ, ถนน, คลอง) , กระเป๋าเดินทางขนาดใหญ่, รางล้างแร่, ทางอุโมงค์ adj. เกี่ยวกับลำต้น, เกี่ยวกับลำตัว, Syn. body, torso | war paint | n. สีทาตามใบหน้าและลำตัวของอินดียนแดงที่กำลังจะออกศึก |
| hull | (n) เปลือก, ลำตัวเครื่องบิน | lapse | (n) การหมดอายุ, การพลั้งพลาด, การถลำตัว, การละเมิด | lapse | (vi) ผ่านพ้นไป, ล่วงไป, หมดอายุ, สิ้นไป, ระงับไป, ถลำตัว | trunk | (n) ลำต้น, ลำตัว, งวงช้าง, หีบเดินทางใหญ่, อุโมงค์, สายโทรศัพท์ |
| INLINE | ติดตั้งเเนบไปกับความยาวของลำตัว หรือ ชนิดของเครื่องยนต์ลูกสูบเเบบเรียงตามยาว(ลูกสูบเเบบตัวV) Image: | Catoblepas | [คาโตเบิลพลัส] (name, uniq) อสูรกายในตำนานแฟนตาซี มีลักษัญเป็นสิงโตขนาดใหญ่ มีขนสีขาวที่แผงคอและหาง ลำตัวสีแดงสด และมีลายพาดคล้ายเสือ | Gliederfüßler { m } | (n) เป็นสัตว์จำพวกแมลง มีกระดูกอยู่นอกลำตัว ลำตัวและขาสามารถแบ่งได้เป็นสามส่วน, See also: A. spider, -, Syn. insect | lateral line | (n, name) เส้นข้างลำตัวของปลา | Polymyositis | โรคอักเสบของกล้ามเนื้อที่เริ่มต้นเซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์ภูมิคุ้มกันของการอักเสบ, เป็นธรรมชาติกล้ามเนื้อ, โดยเฉพาะกับลำตัว, ส่งผลให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ, และอ่อนแอ | Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera |
| 胴 | [どう, dou] (n) ลำตัว | 後ろ丈 | [どう, ushiro take] (n) ความยาวลำตัวด้านหลังที่ใช้ตัดเสื้อ | 身体 | [しんたい, shintai] บอด'ดี) n. ร่างกาย, ร่าง, ตัว, ทั้งตัว, ลำตัว, ลำต้น, ศพ, ซากศพ, ส่วนใหญ่, เนื้อแท้, กลุ่มคน, ข้อสรุป, มวล, วัตถุ, สาร vt.เป็นตัวแทนในรูปของกาย, ทำให้เป็นรูปร่าง, S. physique |
| Körperteil | (n) |der, pl. Körperteile| ส่วนลำตัว เช่น แขน, ขา | Killerwal | (n) |der, pl. Killerwale| ปลาวาฬเพชฌฆาต ลำตัวมีสีขาวและดำสลับกัน มีครีบขนาดใหญ่ อาศัยอยู่ในทะเลน้ำเย็น Image: |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |