ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วิ, -วิ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ diag (ไดแอ็ก) | (vi) มาจากคำว่า diagnose วินิจฉัยโรค, วินิจจัยเพื่อหาสาเหตุของความเจ็บป่วย |
| จิ้น | (vt) จินตนาการ ค่อนไปในทางชู้สาว เช่น “ฉันเห็นกวินกับอ๋อจับมือกันอ่ะ เห็นแล้วจิ้นไปไกลเลย" | มนุษย์ป้า | คำที่ใช้เรียกผู้ที่มีพฤติกรรมที่มีลักษณะที่เห็นแก่ตัว ทำสิ่งต่างๆ โดยไม่สนใจว่าจะทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น การแย่งที่นั่งว่างในรถโดยสาธารณะ, การแซงคิวไม่ยอมต่อแถวคอยเวลาขึ้นรถไฟฟ้า, โดยส่วนมากจะเป็นสุภาพสตรีในวัยกลางคนจนถึงสูงอายุ จึงเป็นที่มาถึงคำว่า "ป้า" เริ่มเป็นที่ใช้กันแพร่หลายในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในช่วงปี 2557 โดยล่าสุดมีลือกันถึงกรณีมีผู้เปิดประตูรถแท็กซี่มีผู้โดยสารอยู่ขณะที่กำลังจอดติดไฟแดง ขอขึ้นไปนั่งด้วยหน้าตาเฉยโดยอ้างว่าขอติดรถไปด้วยตามเส้นทางที่ผ่าน | มะม่วงหาว มะนาวโห่ | ชื่อเต็ม มะม่วงไม่รู้หาว มะนาวไม่รู้โห่, ผลไม้ในกลุ่มเบอร์รี่ชนิดหนึ่ง มีรสเปรี้ยว ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Carissa carandas, ชื่อสามัญ Karanda, Carunda, Christ’s thorn, Bengal Currants ที่มา: https://www.disthai.com/17039488/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7-%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B9%88 |
|
| ทิฏฐิวิบัติ | (n) misbelief; erroneous opinions; false theory |
| a secco | [อา-เซ็คโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนแห้งซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco | buon fresco | [บวน เฟรสโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนเปียกซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco | libretto | [ละ-เบรต-โต] (n) เนื้อร้องประกอบดนตรีที่ใช้ในอุปรากร, จุลอุปรากร, งานแสดงสวมหน้ากาก, ละครเพลง และบัลเลต์ คำว่าบทร้องบางครั้งอาจจะหมายถึงเนื้อของงานสำคัญทางศาสนาสำหรับงานเช่นมิสซา, บทสรรเสริญผู้เสียชีวิต (requiem) หรือเพลงศาสนา (cantata) (Wikipedia.org), See also: R. opera, cantata, requiem | mezzo fresco | [เมซโซ เฟรสโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนชื้นซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco |
| dervish | [เดอวิช] (n) สมาชิกกลุ่มอิสลาม | dyslexic | (n) " ดิสเลคซิค” (dyslexic-บุคคลที่พร่องความสามารถในการเขียนเป็นคำๆ ปกติแล้วจะสัมพันธ์กับความบกพร่องทางประสาทวิทยา) | guesswork | [เกสส์ เวิร์ก] กระบวนการในการสร้างการคาดเดา | LDS | [แอลดีเอส] (n) วิสุทธิชนยุคสุดท้าย, See also: S. Latter-day Saints | LDS Church | (org) ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย, See also: S. LDS | LDSC | (org) องค์กรเพื่อการกุศลวิสุทธิชนยุคสุดท้าย Latter-day Saint Charities, See also: S. LDS Church | Mormon | [มอรมอน(อ่านออกเสียง มอร์-มอน)] (n, org) มอรมอน หรือ ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุดสุดท้าย, See also: S. LDS Church | saint | (n) วิสุทธิชนม ธรรมิกชน สิทธิชน, See also: S. ธรรมิกชน นักบวช นักบุญ สิทธิชน | saint | [เซนท์] (n) วิสุทธิชน ธรรมิกชน นักบวช นักบุญ, See also: S. ธรรมิกชน นักบุญ | The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints | (org) ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย, See also: S. LDS Church | กินนร | [/กิน - นอน / eng /kin. neon/] (n) รูปพหูพจน์ของสัตว์ (อมนุษย์) ในป่าหิมพานต์ ร่างกายท่อนบนเป็นมนุษย์ ท่อนล่างเป็นนก มีปีกบินได้; รูปพหูพจน์ที่รวมทั้งเพศผู้และเพศเมียของสิ่งมีชีวิตในเทพนิยายดังกล่าว; กินรี และ กินริน = เพศเมีย และ กินนรา = (รูปเอกพจน์) เพศผู้ | ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ | [ชุ-ติ-กาญน์ ศรี-วิ-บูลย์] (n, name) รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รับมอบยาฟ้าทะลายโจร จํานวน ๕๐๐ ขวด จากคุณปรินดา ตั้งวิรุฬธรรม ผู้จัดการบริษัทฉมา แอ็สเซ็ท ในวันศุกร์ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เพื่อนําไปใช้ในการดูแลสุขภาพของบุคลากร และประชาชนทั่วไปในคลินิคแพทย์แผนไทยวังสวนสุนันทา | ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย | บังกล้อง | [บัง-กล้อง] (n) เป็นชื่อ ที่ เรียกแทน บุคคล ที่ มีคุณสมบัติ คือ กาก เกรียน เพี้ยน หลุดโลก มักชอบทำอะไร เพี้ยนๆ ไม่เหมือนคนอื่น ชอบการ fag เป็นชีวิตจิตใจ คติประจำใจ คือ สเต็ปอยู่ในไต | ปลาแรด | [Pla-Raed] (n) Giant gourami-แปลตรงตัว "ปลากระดี่ยักษ์"; ชื่อวิทยาศาสตร์: Osphronemus goramy) เป็นปลาน้ำจืดในสกุลปลาแรด ในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด | ปวิธ | [ปะ-วิด] (uniq) ผู้สร้าง, ผู้กำหนด | ปูจั๊กจั่น | (n) Red Frog Crab, Spanner Crab หรือ Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ รานินีดี้ (Family Raninidae) ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ ไทย จนไปถึงหมู่ เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก | ม่อนวิวงาม | [ม่อน-วิว-งาม] (n) คือรีสอร์ทแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ | รพี | น. พระอาทิตย์. (ป., ส. รวิ) |
| greenhouse effect | ปรากฏการณ์เรือนกระจก ภาวะที่กลุ่มของก๊าซชนิดต่างๆมาห่อหุ้มชั้นบรรยากาศของโลกไว้ กลุ่มก๊าซเหล่านี้ประกอบด้วยก๊าซหลักๆ 5 ชนิด ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ สารซีเอฟซี ออกไซด์ของไนโตรเจน มีเธนและโอโซน ก๊าซเหล่านี้เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของบรรยากาศโลกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสามารถในการดูดซับรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ เป็นผลให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นจนเหมาะที่สิ่งมีชีวิตต่างๆจะอาศัยอยู่ได้ | One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa. | วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo | Serviceman | [เซอ วิส แมน] (n) ลูกแถว (ตำรวจ) | คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | Faculty of Sociology and Anthropology | จุดชมวิว | (n) scenic point | นักวิทยุสมัครเล่น | Amateur radio operator | นักศึกษาวิชาทหาร (นศท.) | (n, phrase) Reserve Officer Training Cops Student (ROTCS) | ป้ายไฟวิ่ง | (n) moving sign display, electronic/neon sign with running text | พนักงานมหาวิทยาลัย(ชื่อส่วนงาน) (พศ.)) | (n) University staff (Faculty Section) | มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) | ม่อนวิวงาม | [mon-view-ngarm] (n) A resort on high hill in Chiang Mai, north of Thailand. | ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข | (n) Numerical Method |
| hematologist | (n) นักโลหิตวิทยา | histology | (n) มิญชวิทยา, วิทยาเนื้อเยื่อ | laparoscopic splenectomy | (n) การผ่าตัดม้ามโดยวิธีส่องกล้อง | PET Scan | (n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้ | plastination | (n) วิธีการกำซาบเนื้อเยื่อด้วยพลาสติก |
| | | ชงโค | (name) ..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ |
| | ต้าว | หกล้ม ตัวอย่าง "ล่นเวยล้ำไป เลยข้องขาตั๋วเก่าต้าว(วิ่งเร็วเกินไป เลยสะดุดขาตัวเองหกล้ม)" |
| ทวิ | (n) two, Syn. คู่, สอง, ยี่, แฝด, Example: ชาตินี้พ่อมีเอ็งเป็นลมหายใจของพ่อ ไม่ต้องภพหน้า ชาติหน้าหรือทวิภพ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | รวิ | (n) sun, Syn. รวิ, รพิ, รพี, รำไพ, พระอาทิตย์, Count Unit: ดวง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิก | (n) wig, See also: hairpiece, Syn. ผมปลอม, วิกผม, Example: วิกที่ทำจากเส้นผมมีราคาแพงกว่าชนิดที่ทำจากเส้นใยวัสดุสังเคราะห์, Count Unit: ชิ้น, อัน, Notes: (อังกฤษ) | วิง | (v) feel dizzy, See also: feel giddy, Syn. วิงเวียน, Thai Definition: รู้สึกใจหวิว | วิง | (v) turn, See also: revolve, rotate, spin, gyrate, Syn. หมุน, วน | วิธ | (n) sort, See also: kind, section, Syn. อย่าง, ชนิด, แบบ, วิธา, Notes: (บาลี) | วิว | (n) view, See also: landscape, panorama, perspective, scene, Syn. ทิวทัศน์, Example: บริเวณนี้เป็นจุดชมวิวที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี, Thai Definition: ลักษณะภูมิประเทศที่ปรากฏเห็นตามธรรมชาติ | ถวิล | (v) yearn, See also: think of, Syn. คิดถึง, คิด, Example: หญิงสาวถวิลถึงควันเทียนสีเทา ซึ่งเป็นความทรงจำที่ดีของหล่อน, Thai Definition: มีใจจดจ่อ | ทวิช | (n) bird, See also: twice-born, Syn. นก, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ผู้เกิดสองหน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทวิช | (n) Brahman, See also: twice-born, Syn. พราหมณ์, ทวิชงค์, ทวิชาติ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เกิดสองหน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทวิป | (n) elephant, Syn. ช้าง, Count Unit: เชือก, Thai Definition: ผู้ดื่มสองหน ด้วยงวงและปาก, Notes: (สันสกฤต) | วิกล | (adj) deformed, See also: disfigured, crippled, weak, feeble, impaired, imperfect, Syn. ไม่ปกติ, อ่อนแอ, ไม่สมบูรณ์ | วิชา | (n) subject, See also: knowledge, branch of knowledge, science, technology, learning, Example: ท่านไม่พอใจเท่าไหร่เพราะผมทำเกรดได้ไม่ดีในวิชาหลักๆ อาทิ เลข วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์, Count Unit: วิชา, Thai Definition: ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน | วิตก | (v) be serious, See also: tense, strain, be nervous, be stern, be taut, Syn. หนักใจ, วุ่นวายใจ, กังวล, เป็นทุกข์, วิตกกังวล, กลุ้มใจ, Ant. สบายใจ, Example: การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูงขึ้นจนน่าวิตก | วิถี | (n) way, See also: course, path, road, route, direction, Ant. แนว, แนวทาง, Example: การช็อปปิ้งกลายเป็นวิถีที่นิยมของคนเมืองกรุงไปเสียแล้ว | วิถี | (n) path, See also: way, course, route, Syn. ทาง, เส้นทาง, สาย, แนว, ถนน, Example: สมัยก่อนผู้คนใช้ทางน้ำเป็นวิถีสำคัญติดต่อกัน, Count Unit: ทาง, สาย, เส้น | วิทู | (n) sage, See also: scholar, learned person, savant, expert, Syn. ผู้ฉลาด, ผู้รอบรู้, ผู้มีปัญญา, ผู้ชำนาญ, Count Unit: คน, Notes: (บาลี) | วิธี | (n) means, See also: way, method, process, mode, Syn. แบบ, ทาง, แนว, Example: การหาเงินทำนุบำรุงโบราณสถานในช่วงดังกล่าวใช้วิธีลงโฆษณาตามหน้าหนังสือพิมพ์เป็นจำนวนมาก, Count Unit: วิธี, Thai Definition: ทางหรือหนทางที่จะทำ | วิธู | (n) moon, Syn. พระจันทร์, ดวงจันทร์, จันทร์, แข, Count Unit: ดวง, Notes: (บาลี) | วิภา | (n) beauty, Syn. ความงดงาม, ความงาม, ความสวยงาม, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิภา | (n) ray, See also: light, splendour, brightness, clearness, lustre, Syn. รัศมี, แสงสว่าง, ความสุกใส, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิภู | (adj) strong, Syn. แข็งแรง, แข็งแกร่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิภู | (n) king, See also: ruler, monarch, sovereign, Syn. ผู้ครอง, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, ผู้ปกครอง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิภู | (adj) powerful, See also: great, mighty, Syn. ยิ่งใหญ่, มีอำนาจ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิมล | (adj) clean, See also: pure, stainless, flawless, chaste, unblemished, Syn. ใส, สะอาด, กระจ่าง, บริสุทธิ์, Ant. ขุ่น, สกปรก, เลอะ, Thai Definition: ที่ปราศจากมลทิน, ที่ไม่มีตำหนิ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิหค | (n) bird, Syn. นก, ปักษี, ปักษา, Ant. ตัว, Example: ฝูงวิหคบินจากรังส่งเสียงร้องไปทั่ว | วิไล | (adj) beautiful, See also: pretty, Syn. งาม, สวย, สวยงาม | วิ่ง | (v) run, Example: ทหารกองรักษาการณ์วิ่งมาบอกว่า ญี่ปุ่นมายึดกองรักษาการณ์, Thai Definition: ใช้ขาพาตัวเคลื่อนไปข้างหน้าโดยเร็ว, แล่นไปโดยเร็ว | สวิง | (n) net, See also: fishing net, Count Unit: ปาก | สวิง | (n) dip-net, See also: hand-net, spoon-net, Example: ชาวนาหาปลาโดยใช้เครื่องมือที่ใช้มาแต่โบราณกาลเช่น ลอบ เบ็ด แห สวิง ยอ เป็นต้น, Count Unit: ปาก, Thai Definition: เครื่องช้อนปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นร่างแห ลักษณะเป็นถุง มักใช้ไม้หรือหวายทำขอบปาก | หวิด | (v) be near, See also: come near, be almost, Syn. เฉียด, จวนเจียน, หวุดหวิด, เกือบ, Example: เขาหวิดจะถูกรถชนเสียแล้ว | หวิด | (v) near, Syn. เฉียด, จวนเจียน, หวุดหวิด, Example: เขาหวิดจะถูกรถชนเสียแล้ว | หวิว | (adv) dizzily, See also: giddily, Example: ใจฉันสั่นหวิว ท้องไส้ปั่นป่วนชอบกล, Thai Definition: มีความรู้สึกที่ดูเหมือนใจจะขาดไป, หวาดอย่างใจหาย | หวิว | (adv) extremely (light), See also: very (light), Example: เมื่อได้ลองสัมผัสของชิ้นนี้ จึงรู้ว่ามันเบาหวิวจริงๆ, Thai Definition: เบาแทบจะไร้น้ำหนัก, เบามาก | หวิว | (v) feel dizzy, See also: be giddy, have a feeling of faintness or giddiness, Example: ผมหวิวๆ เหมือนมีใครมากัดลูกมะนาวทั้งลูกกร้วมใหญ่ๆ ต่อหน้าผม, Thai Definition: มีความรู้สึกที่ดูเหมือนใจจะขาดไป, หวาดอย่างใจหาย | เวิก | (v) open, See also: uncover, lift, take off, Syn. เลิก, เปิด, แหวก, Ant. ปิด, Example: หญิงแก่ที่อยู่ในบ้านเวิกผ้าม่านขึ้นช้าๆ เพราะเกรงว่าคนข้างนอกจะเห็น | ขวิด | (v) butt, See also: gore, horn, ram, Syn. เสี่ยว, ชน, Example: สัตว์มีเขาไว้เพื่อขวิดเวลาที่ต้องป้องกันตัว, Thai Definition: กิริยาของหมูหรือสัตว์ที่มีเขาใช้เขี้ยวหรือเขาทำร้าย | ชีวิต | (n) life, See also: existence, living, Syn. ชีพ, ความเป็นอยู่, การดำรงอยู่, การดำรงชีวิต, Ant. ความตาย, Example: ชีวิตของคนกรุงเทพฯ ต้องดิ้นรนต่อสู้กับมลพิษที่เพิ่มปริมาณขึ้นทุกวัน, Count Unit: ชีวิต, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทวิบท | (n) biped, See also: two-footed animal, bipedal, Syn. สัตว์สองเท้า, ทวิบาท, Notes: (สันสกฤต) | นาวิก | (adj) naval, See also: marine, maritime, Thai Definition: เกี่ยวกับเรือ, เกี่ยวกับการเดินเรือ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | นาวิก | (n) sailor, See also: mariner, seaman, Syn. คนเรือ, Count Unit: คน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | นาวิน | (n) marine, See also: seaman, mariner, Syn. คนเรือ, Thai Definition: ทหารเรือที่ประจำการพลรบในกองทัพเรือ, Notes: (สันสกฤต) | ระวิง | (n) reel, See also: spool, spinning wheel, Syn. เครื่องปั่นด้าย, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องสำหรับเอาเข็ดด้ายหรือไหมสวม เมื่อเวลาสาวเส้นด้ายจะได้ออกเป็นเส้นๆ ไม่ขาดไม่ยุ่ง | วิกรม | (n) courage, See also: bravery, Syn. ความเก่งกล้า, ความกล้าหาญ | วิกรม | (v) go on with bravery, See also: be brave, stride forward bravely, march on courageously, Syn. เก่งกล้า, กล้าหาญ, Thai Definition: ก้าวล่วงไปด้วยความกล้าหาญ | วิกฤต | (adj) critical, See also: risky, serious, dangerous, perilous, Syn. วิกฤต, Example: แม้จะอยู่ในวัยแก่เฒ่า เขาก็ยังจดจำรำลึกถึงเหตุการณ์วิกฤตครั้งนั้นได้, Thai Definition: ถึงขั้นอันตราย, ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อขั้นแตกหัก | วิกฤต | (v) be critical, See also: be risky, Syn. วิกฤติ, Example: สภาพปัญหาเหล่านี้ นับวันจะวิกฤตขึ้นเรื่อยๆ, Thai Definition: ถึงขั้นอันตราย, ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อขั้นแตกหัก | วิกาล | (n) night, See also: nighttime, Syn. กลางคืน, ยามวิกาล, Ant. กลางวัน, Example: ผู้คนออกมาเที่ยวเตร่ กินอาหารยามวิกาล, Thai Definition: ยามค่ำคืน, เวลากลางคืน, Notes: (บาลี) | วิจัย | (n) research, See also: study, probe, Syn. การศึกษาค้นคว้า, Example: มหาวิทยาลัยไคโรเป็นมหาวิทยาลัยที่นักศึกษาไทยเดินทางไปทำวิจัยในระดับปริญญาเอกกันมาก, Thai Definition: การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา | วิจัย | (v) do research, See also: research, Syn. ศึกษา, Example: รัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรระดับชาติเพื่อค้นคว้าวิจัยเรื่องนี้โดยตรงแล้ว, Thai Definition: ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา |
| กรรมวิธี | (กำมะวิที) น. ลักษณะอาการหรือวิธีการที่ผันแปรหรือเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติหรือที่มนุษย์ทำขึ้น อันดำเนินติดต่อกันเรื่อยไปเป็นลำดับ, กระบวนวิธีดำเนินการในประดิษฐกรรม. | กรรมวิบาก | (กำมะวิบาก) น. ผลของกรรม. | กรวิก ๑ | (กะระ-, กอระ-) น. นกการเวก. | กรวิก ๒ | (กะระ-, กอระ-) น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๓ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป.; ส. กรวีก). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ ที่ สัต ๒, สัต- ๒, สัตตะ ๑). | กระต้อยตีวิด | ดู กระแตแต้แว้ด ๑. | กระวิน ๑ | น. ห่วงที่เกี่ยวกันสำหรับโยงสัปคับช้าง, ห่วงติดกับบังเหียน หรือเหล็กผ่าปากม้า, ประวิน ก็ใช้. | กระวิน ๒ | ว. สีนํ้าตาล เช่น โคกระวิน. | กระสุนวิถี | น. ทางแห่งกระสุน, วิถีกระสุน ก็ว่า. | กริยาวิเศษณ์ | น. คำวิเศษณ์ใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ด้วยกันให้มีความแปลกออกไป. | กริยาวิเศษณ์วลี | น. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี. | กริยาวิเศษณานุประโยค | (-วิเสสะนานุปฺระโหฺยก) น. อนุประโยคที่ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ในสังกรประโยค, ประโยควิเศษณ์ ก็ว่า. | กลวิธี | (กนละ-, กน-) น. วิธีพลิกแพลง โดยอาศัยความรู้ความชำนาญ. | กวดวิชา | ก. เรียนเสริมหรือเพิ่มเติมเพื่อให้ทันหรือมีความรู้ดียิ่งขึ้น. | กวิน | (กะวิน) ว. ดีงาม เช่น ใครกวินซื่อแท้ ผ่านฟ้าป่าวอวยพร (แช่งนํ้า). | กัยวิกัย | (ไกยะวิไก) น. การซื้อและการขาย. | กามวิตก | น. ความครุ่นคิดในกาม, ความคิดคำนึงในทางกาม (ป.). | กามวิตถาร | (กามวิดถาน) น. การประกอบกามกิจที่ผิดปรกติวิสัย เช่น รักร่วมเพศ, การทรมานตนหรือผู้อื่นก่อนหรือในระหว่างร่วมเพศ. | กามวิตถาร | (กามวิดถาน) ว. ผิดปรกติทางเพศเช่นนั้น. | กายวิภาคศาสตร์ | (-วิพากคะสาด) น. วิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องโครงสร้างของร่างกายโดยศึกษาเป็นส่วน ๆ. | การก่อวินาศกรรม | น. การกระทำใด ๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ. | การวิก | (การะวิก) น. นกการเวก เช่น การวิกรวังวนกุณาล พเพรียกพร้องกระแสงใส (สมุทรโฆษ). | กำมังวิลิต | น. ตำหนักในสระ. | กิมิวิทยา | น. วิชาว่าด้วยหนอน. | กีฏวิทยา | น. วิชาว่าด้วยแมลง. | กุสุมวิจิตร | น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น คณะ ย คณะ น คณะ ย คณะ บาทละ ๑๒ คำ หรือ ๑๒ พยางค์ (ตามแบบว่า นยสหิตานฺยา กุสุมวิจิตฺตา) ตัวอย่างว่า จะรจิตรอรรถา ปิสุณวจีขวน พิปริตญาณยล บรชนทำลาย (ชุมนุมตำรากลอน). | แก้ววิเชียร | น. ชื่อโรคซางละอองเป็นฝ้าบาง ๆ ที่ขึ้นตามลิ้นหรือเพดานหรือกระพุ้งแก้ม สีขาวดั่งเนื้อในมะพร้าว มีอาการท้องอืด ลงท้องนับหนไม่ถ้วน. | โกวิท | (-วิด) ว. ฉลาด, ชำนิชำนาญ, รอบรู้ในการอันใดอันหนึ่ง, เช่น อัศวโกวิท ว่า ผู้มีความชำนาญในเรื่องม้า. | โกวิฬาร | (-ลาระ) น. ไม้ทองหลาง. | ขวัดขวิด | (ขฺวัดขฺวิด) ก. กวัดไกว เช่น เท้ากวัดขวัดขวิดคือควัน (ม. ฉันท์ มหาราช). | ขวิด ๑ | (ขฺวิด) ก. กิริยาของหมูป่าหรือสัตว์ที่ใช้เขาหรือนอทำร้าย, เสี่ยว, ชน. | ขวิด ๑ | (ขฺวิด) ว. อาการที่เดินสะดุดขาตัวเองเพราะอายหรือรีบร้อน เรียกว่า เดินขาขวิด. | ขวิด ๒ | (ขฺวิด) น. มะขวิด. | ขาขวิด | ว. อาการที่เดินสะดุดขาตัวเองเพราะอายหรือรีบร้อน เรียกว่า เดินขาขวิด. | แข่งเกมวิบาก | น. การเล่นชนิดหนึ่ง ผู้เล่นต้องวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางหรือทำกิจกรรมที่ยาก ๆ เช่น ใช้ปากควานหาสตางค์ในแป้ง สนเข็ม เป่าลูกโป่งให้แตก ใครทำเสร็จและวิ่งถึงเส้นชัยก่อนเป็นผู้ชนะ. | ไขพระวิสูตร | ก. เปิดม่าน, คู่กับ ปิดพระวิสูตร หมายความว่า ปิดม่าน. | คณะกรรมาธิการวิสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง. | คนธรรพวิวาห์ | (คนทันพะ-) น. การได้เสียเป็นผัวเมียกันเองโดยไม่แต่งงาน. | คลื่นวิทยุ | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งผ่านบรรยากาศด้วยความถี่วิทยุ. | ความถี่วิทยุ | น. ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งวิทยุและโทรทัศน์ ขนาดตํ่าสุดตั้งแต่ ๑๐ ถึง ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ขนาดสูงสุดตั้งแต่ ๓๐, ๐๐๐ ถึง ๓๐๐, ๐๐๐ เมกะเฮิรตซ์. | ควินิน | (คฺวินิน) น. ชื่อสารประกอบประเภทแอลคาลอยด์ ใช้เป็นยารักษาโรคไข้จับสั่น สกัดได้จากเปลือกต้นซิงโคนา. | ควิว ๆ | (คฺวิว-) ว. อาการที่ใจหวิว ๆ เช่น ควิวควิวอกควากคว้าง ลมลอยแลแม่ (นิ. นรินทร์). | ควิวควัง, ควิวควั่ง, ควิวคว่าง, ควิวคว้าง | (-คฺวัง, -คฺวั่ง, -คฺว่าง, -คฺว้าง) ก. หมุนคว้างจนใจหวิว ๆ, อาการที่จิตใจรู้สึกหวาดหวิว | ควิวควัง, ควิวควั่ง, ควิวคว่าง, ควิวคว้าง | ใช้โดยปริยายว่า เวิ้งว้าง, กว้างใหญ่, น่ากลัว, เช่น สาครควิวคว่าง, โบราณเขียนเป็น ควิวคว่งง ก็มี เช่น สมุทรพิศารลิว ควิวคว่งง แลนา (กำสรวล). | คุณพิเศษ, คุณวิเศษ | (คุนนะ-) น. ความดีแปลกกว่าสามัญ. | คู่ชีวิต | น. ผู้ร่วมเป็นร่วมตาย, ผู้ร่วมทุกข์ร่วมสุข, สามีหรือภรรยา. | โควิถี | น. ชื่อทางสำหรับโคจรของพระอาทิตย์. | โฆรวิส | (โคระวิด) น. งูพิษ. | โฆรวิส | (โคระวิด) ว. มีพิษร้าย. | จรวดนำวิถี | น. อาวุธปล่อยนำวิถีซึ่งขับเคลื่อนด้วยจรวด. | จักขุวิญญาณ | น. ความรู้อันอาศัยทางตาเกิดขึ้น. |
| phylogenetic classification | การจำแนกตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | phylogeny | วิวัฒนาการชาติพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | perpetual | ตลอดกาล, ตลอดชีวิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | perpetuity | การดำรงอยู่ตลอดชีวิต, การดำรงอยู่ตลอดกาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | prosthodontics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prosthodontics; denture prosthetics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | phenomenology | ปรากฏการณ์วิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | panoramic method | วิธีปริทัศน์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | probable length of life | ความยืนยาวที่น่าจะเป็นของชีวิต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | patient, apprehensive | ผู้ป่วยหวาดวิตก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pasteurisation; pasteurization | การฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pasteuriser; pasteurizer | เครื่องฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pasteurization; pasteurisation | การฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pasteurizer; pasteuriser | เครื่องฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palynology | เรณูวิทยา [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | peaceful settlement; pacific settlement | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | profession | วิชาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | profession | วิชาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | professional indemnity insurance | การประกันภัยความรับผิดจากวิชาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | professional misconduct | การประพฤติมิชอบในวิชาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | professional school | โรงเรียนวิชาชีพ, สถานศึกษาวิชาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | petrology | ศิลาวิทยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | pathology, general | พยาธิวิทยาทั่วไป [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, geographical | ภูมิศาสตร์พยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, internal; pathology, medical | อายุรพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, medical; pathology, internal | อายุรพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, mental; psychopathology | จิตพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, special | พยาธิวิทยาจำเพาะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, surgical | ศัลยพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | procedural law | กฎหมายวิธีพิจารณาความ [ ดู adjective law ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | procedural law | กฎหมายวิธีพิจารณาความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | procedure | วิธีพิจารณาความ, วิธีดำเนินการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | procedure | วิธีดำเนินการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | period analysis | การวิเคราะห์ตามช่วงเวลา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | payor insurance | การประกันชีวิตผู้ชำระเบี้ยประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | partnership insurance | การประกันชีวิตเพื่อธุรกิจ มีความหมายเหมือนกับ business insurance และ corporation insurance [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | pharyngology | วิทยาคอหอย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | proof, ontological | การให้เหตุผลทางภววิทยา, ข้อพิสูจน์ทางภววิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | per autre vie (L., Fr.) | ชั่วชีวิตของอีกคนหนึ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | posology | วิทยาพิกัดยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pyelography, intravenous | การทำไพอีโลแกรมวิธีฉีดเข้าหลอดเลือด [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, excretion ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | policy, life | กรมธรรม์ประกันชีวิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pacific settlement; peaceful settlement | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pochoir | ๑. กลวิธีพิมพ์สีลายฉลุ๒. ภาพพิมพ์สีลายฉลุ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | protozoology | วิทยาสัตว์เซลล์เดียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary procedure; procedure, parliamentary | วิธีดำเนินการทางรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | perversion | ความวิปริต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parapsychology | ปรจิตวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parallel evolution | วิวัฒนาการแนวขนาน [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | palaeoclimatology; paleoclimatology | ภูมิอากาศบรรพกาลวิทยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
| Equipment | อุปกรณ์, เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาช่วยในการใช้วัสดุให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น เครื่องเล่นจานเสียง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายฟิล์มสติรป เป็นต้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Instructional Media | สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Subject reference books | หนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Critical Path Method | วิธีวิถีวิกฤติ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Protocol | เกณฑ์วิธี [เทคโนโลยีการศึกษา] | Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Video | วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา] | Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Dissertations, Academic | วิทยานิพนธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย [เทคโนโลยีการศึกษา] | Thesis | วิทยานิพนธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Technical report | รายงานการวิจัย [เทคโนโลยีการศึกษา] | World Wide Web (WWW) | เวิล์ดไวด์เว็บ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | World Wide Web (WWW) | เวิล์ดไวด์เว็บ, Example: World Wide Web หรือ WWW หรือ เว็บ <p>เป็นบริการหนึ่งในอินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลที่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ โดยใช้โปรโตคอลเป็น Http (Hypertext Transfer Protocol) ในการเรียกใช้เอกสารผ่านโปรแกรมประเภทเว็บบราวเซอร์ <p>ประมาณปี ค.ศ. 1989 Tim Berners-Lee ซึ่งทำงานที่ CERN (European Laboratory for Particle Physics) ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ได้เสนอ URL (Uniform Resource Locator) ซึ่งเป็นวิธีการชี้บอกแหล่งที่อยู่ของเอกสารเพื่อใช้เป็นสากล หลังจากที่ทาง CERN ได้พัฒนาโปรโตคอลพื้นฐานของ WWW แล้ว NCSA (National Center for Supercomputer Applications) ประเทศสหรัฐอเมริกาได้พัฒนาโปรแกรมชื่อ Mosaic ซึ่งเป็นโปรแกรมสำหรับเรียกดูข้อมูลในเว็บ หลังจากนั้นได้มีผู้พัฒนาโปรแกรมในการเรียกดูเว็บมากขึ้น แต่ละโปรแกรมผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก เว็บจึงเป็นบริการทางอินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็เป้นบริการที่ต้องใช้ทรัพยากร (Resources) ของเครื่องมากที่สุดเช่นกัน <p>องค์ประกอบหลักของ WWW <p>1. เว็บเซิร์ฟเวอร์ ทำหน้าที่ให้บริการเว็บ เครื่องคอมพิวเตอร์ใดที่จะให้บริการเว็บ จะต้องมีการติดตั้งโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ก่อน โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น เรียกว่า HTTP (Hypertext Transfer Protocol) <p>2. เว็บบราวเซอร์ คือ โปรแกรมที่ใช้สำหรับดูข้อมูลในเว็บ ซึ่งนอกจากดูข้อความ (ไฮเปอร์เท็กซ์) ได้แล้ว ยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือฟังเสียง (ไฮเปอร์มีเดีย) ได้ <p>3. HTML (Hypertext Markup Language) เนื่องจากเว็บเป็นข้อมูลในรูปของเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้น ข้อมูลหรือเอกสารจะต้องเขียนในรูปแบบที่เรียกว่า HTML เพื่อทำให้โปรแกรมเซิร์ฟเวอร์และบราวเซอร์สามารถทำงานได้ตามความต้องการ โดยเอกสารที่เขียนในรูปของ HTML ประกอบด้วยชุดคำสั่ง HTML และตัวเนื้อหาของเอกสาร <p>4. URL (Uniform Resource Locator) ยูอาร์แอล เป็นการระบุตำแหน่งของข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ <p>1. โปรโตคอล <p>2. ชื่อเครื่องให้บริการหรือเครื่องแม่ข่าย <p>3. เส้นทางที่บอกที่อยู่ของเอกสารในเครื่องที่ให้บริการ (หรือชื่อไดเร็กทอรี่/ชื่อแฟ้ม) <p>ตัวอย่าง <p>http://www.nstda.or.th <p>โปรโตคอล คือ http ซึ่งหมายถึง โปรโตคอลที่ใช้ในเว็บ จะมีเครื่องหมาย : อยู่ข้างท้าย <p>ชื่อเครื่อง คือ www.nstda.or.th หมายถึง สามารถใช้โปรแกรมบราวเซอร์ดูข้อมุลได้ที่เครื่อง www.nstda.or.th ชื่อเครื่องให้บริการ จะมีเครื่องหมาย // นำหน้า <p>ตัวอย่าง <p>http://www.nstda.or.th/thairesearch <p>โปรโตคอล คือ http ซึ่งหมายถึง โปรโตคอลที่ใช้ในเว็บ จะมีเครื่องหมาย : อยู่ข้างท้าย <p>ชื่อเครื่อง คือ www.nstda.or.th หมายถึง สามารถใช้โปรแกรมบราวเซอร์ดูข้อมุลได้ที่เครื่อง www.nstda.or.th ชื่อเครื่องให้บริการ จะมีเครื่องหมาย // นำหน้า <p>เอกสารที่ต้องการดูอยู่ที่ thairesearch มีเครื่องหมาย / นำหน้าในแต่ละเส้นทาง <p>บรรณานุกรม <p>บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. <p>ธงชัย โรจน์กังสดาล และ ชาญ อาริยะกุล. "การสืบค้นข้อมูล." ใน อินเตอร์เน็ต : นานาสาระแห่งการบริการ หน้า 87-106. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538. <p>Rojas, Raul, editor. Encyclopedia of Computers and Computer History. Vol. 2. Chicago : Fitzroy Dearborn, 2001. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Book review | บรรณนิทัศน์, การวิจารณ์หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Conference paper | เอกสารการประชุมทางวิชาการ, Example: <p>เอกสารการประชุมทางวิชาการ คือ เอกสารหรือบทความที่นำเสนอต่อที่ประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม โดยต้องส่งเอกสารหรือบทความ หรือสาระสังเขป (บทคัดย่อ) ของเรื่องที่จะนำเสนอในที่ประชุมล่วงหน้า ในช่วงที่ประกาศรับการเสนอบทความ (Call for papers) และงานต้องมีคุณภาพมากเพียงพอที่กรรมการพิจารณาบทความจะยอมรับให้ได้ตีพิมพ์และนำเสนอบทความในการประชุมครั้งนั้น <p>ตัวอย่างการประชุมทางวิชาการ เช่น IFLA Conference (International Federation of Library Associations and Institutions : สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด) ในกลุ่มวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Content analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา , การวิเคราะห์เนื้อหา, Example: Content analysis หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นวิธีการในทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร โดยการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ปรากฏในตำรา หนังสือ เอกสาร ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ บทสนทนา หรือรูปภาพ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ เนื้อหาเพื่อผลิตสื่อการสอน โดยผู้สอนมักมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับของเนื้อหา และขอบเขตเนื้อหาอย่างละเอียด รวมทั้งทำให้ผู้สอนเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแต่ละช่วงเวลาที่ทำการวิเคราะห์ด้วย และผลจากการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาช่วยให้สามารถแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยและหัวข้อย่อย สำหรับหน่วยในการวิเคราะห์ เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ จึงมักวิเคราะห์ออกมาเป็น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยหัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนแนวคิด จำนวนหน้า เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cyclopedia | วิทยานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dissertations | วิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Journal | วารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library instruction service | บริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Monograph | หนังสือ, เอกสารทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Professional librarian | บรรณารักษ์วิชาชีพ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Research report | รายงานการค้นคว้าวิจัย, Example: <p>รายงานการค้นคว้าวิจัยหรือรายงานผลการวิจัย (Research Report) หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้นคว้าที่เป็นระบบ มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ <p>วัตถุประสงค์ของรายงานการค้นคว้าวิจัย หรือรายงานผลการวิจัย ดังนี้ <p>1. เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่ หรือปรับปรุงข้อมูลเดิม <p>2. เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิดเป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน สละสลวย <p>3. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิง อันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง <p>ส่วนประกอบที่สำคัญของรายงานการค้นคว้าวิจัย ประกอบด้วย ความนำ เอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการวิจัย ผลของการวิจัย <p>แนวทางการเขียนเนื้อเรื่องรายงานผลการวิจัย ส่วนเนื้อเรื่องถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของรายงานผลการวิจัย ซึ่งมีแนวทางในการเขียน คือ ความนำ การเขียนความนำเป็นการเกริ่นนำเรื่องให้ผู้อ่านได้ทราบถึงที่มาของปัญหา <p>ส่วนเนื้อหา <p>1. เริ่มด้วยการเชื่อมโยงจากส่วนนำเข้าสู่เนื้อหา <p>2. อธิบายวิธีการศึกษาเรื่องนั้น ๆ เช่น รวบรวมจากเอกสาร สัมภาษณ์ สังเกต ทดลอง เป็นต้น <p>3. เสนอหลักการ ทฤษฎี ข้อค้นพบ หรือข้อวิเคราะห์วิจารณ์ให้ชัดเจน ยกเหตุผลสนับสนุนให้หนักแน่น อ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้อง หากมีหลายประเด็นควรจำแนกเป็นประเด็น ๆ ไป <p>4. ให้นิยามศัพท์เฉพาะที่สำคัญ <p>5. อธิบายขยายความ ยกตัวอย่างประกอบให้เข้าใจง่าย <p>6. ใช้แผนภูมิ ภาพ ตาราง กราฟ ฯลฯ ประกอบในส่วนที่จำเป็นเพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น <p>ส่วนสรุป <p>1. สรุปเนื้อหา อาจสรุปย่อประเด็นสำคัญ เป็นข้อความหรือแผนภูมิ เพื่อให้เห็นภาพรวมของเนื้อหาอย่างชัดเจน <p>2. กล่าวย้ำจุดสำคัญหรือจุดเด่นของเนื้อหา <p>3. เสนอทรรศนะของผู้เขียน แต่ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นความคิดเห็นส่วนตัว มิใช่หลักการหรือทฤษฎีตายตัวที่ทุกคนต้องทำตาม <p>4. ชี้นำให้ผู้อ่านขบคิดพิจารณาต่อไป เพื่อให้ผู้อ่านมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและพัฒนาวิชาการนั้น ๆ <p>บรรณานุกรม <p>สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คู่มือการเขียนรายงานการวิจัย. Available at : http://www.riclib.nrct.go.th/link/info/researchwrite.pdf. Accessed June 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Research service | บริการช่วยการวิจัย, Example: <p>บริการช่วยการวิจัย (Research service) เป็นบริการสำคัญหนึ่งของห้องสมุด จัดขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและสมบูรณ์ ซึ่งบรรณารักษ์จะติดตามข่าวสารความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาวิจัยนั้น รวบรวมข้อมูลรายการบรรณานุกรมจากหนังสือ วารสาร เอกสาร ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ โดยรูปแบบการจัดบริการช่วยการวิจัย มีดังนี้ <p>1. บริการสืบค้นข้อมูลในเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย โดยรวบรวมรายการบรรณานุกรมจากทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจัดทำสาระสังเขปประกอบไว้ด้วยเพื่อช่วยประหยัดเวลาในการอ่านของผู้ใช้ <p>2. บริการจัดทำดรรชนี เพื่อเป็นคู่มือในการค้นหาสารสนเทศจากทรัพยากรห้องสมุด เช่น ดรรชนีวารสารที่ห้องสมุดบอกรับ <p>3. บริการจัดทำสาระสังเขป สาระสังเขปแต่ละรายการจะให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมอย่างครบถ้วน ได้แก่ ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ พร้อมเนื้อหาสาระที่สำคัญโดยสรุป ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัดเวลาของผู้ใช้ หากสนใจอ่านฉบับเต็มก็สามารถติดตามหาอ่านได้ง่าย <p>4. บริการแนะนำการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Technical report | รายงานการวิจัย, Example: คำว่า การวิจัย มาจากคำว่า Research มีรากศัพท์มาจาก Re + Search Re แปลว่า ซ้ำ Search แปลว่า ค้น ดังนั้น Research แปลว่า ค้นคว้าซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งน่าจะหมายถึง การค้นหาความรู้ความจริง ค้นแล้วค้นอีก ซึ่งจะทำให้ได้รับรู้ความรู้ ความจริงที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เพราะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการสรุปเป็นความรู้ความจริงนั้น ๆ ความหมายของการวิจัยตามพจนานุกรม การวิจัย คือ การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา (พจนานุกรม. 2525) การวิจัยคือ กระบวนการหาความรู้ความจริงใหม่ ที่มีระบบแบบแผนตามหลักวิชา อาศัยหลักเหตุผล ที่รอบคอบ รัดกุม ละเอียดและเชื่อ ถือได้ และความรู้ความจริงนั้นจะนำไปเป็นหลักการ ทฤษฎี หรือ ข้อปฏิบัติที่ทำให้มนุษย์ได้รับรู้และนำไปใช้เพื่อให้สามารถดำรงชีวิต ด้วยความสงบสุขหรือป้องกันและหลีกเลี่ยงภัยอันตรายต่าง ๆ ได้ ความหมายของรายงานผลการวิจัย หรือเรียกสั้นๆว่า รายงาน หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบ เรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้น คว้าที่เป็นระบบ มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ <p>วัตถุประสงค์ของรายงานผลการวิจัย <p>1. เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่ หรือปรับปรุงข้อมูลเดิม <p>2. เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิด เป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน สละสลวย <p>3. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิงอันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thesis | วิทยานิพนธ์, Example: บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดหัวข้อเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยหรือพรรณนาขยายความ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก วิทยานิพนธ์มีรูปแบบและมีส่วนประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ <p> <p> <p>1. ส่วนประกอบตอนต้น ( Preliminary Section) <p>2. ส่วนเนื้อความ (Text Section or Body of Text) <p>3. ส่วนอ้างอิงหรือส่วนประกอบตอนท้าย (References Section) <p>1. ส่วนประกอบดอนต้น (Preliminary Section) ส่วนนี้รวมตั้งแต่ปกหน้าไปจนถึงหน้าท้ายสุดก่อนส่วนเนื้อความ มีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ <p>1.1 ปก มีข้อมูลประกอบเฉพาะของวิทยานิพนธ์ คือ ชื่อเรื่องของวิทยานิพนธ์ ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ข้อมูลที่แจ้งว่าวิทยานิพนธ์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปริญญาใด ระดับการศึกษาใด ชื่อปริญญา ภาควิชา สถาบันการศึกษา ปีที่สำเร็จ และการอนุมัติปริญญา <p>1.2 ปกใน มีข้อมูลเช่นเดียวกับปก จะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.3 หน้าอนุมัติ หรือหน้าตรวจรับรอง (Approval page)จะมีข้อมูลหัวข้อวิทยานิพนธ์ ผู้เขียน ภาควิชา อาจารย์ที่ปรึกษา ข้อความอนุมัติและลายเซ็นต์คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ <p>1.4 บทคัดย่อ หรือสาระสังเขป (Abstract) ประกอบด้วยข้อความสรุปเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ที่สั้นกระทัดรัด ชัดเจน ทำให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ์อย่างรวดเร็ว มีทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.5กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ข้อความแสดงความขอบคุณบุุคคล สถาบัน และ/หรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อเขียนวิทยานิพนธ์ ตลอดทั้งคณะกรรมการสอบ ผู้สนับสนุนเงินทุนวิจัย ผู้ให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อมูล และผู้ที่อนุญานให้ใช้ข้อเขียนหรือเครื่องมือในการวิจัย <p>1.6 สารบัญ (Contents) เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสำคัญทั้งหมดของวิทยานิพนธ์ <p>1.7 สารบัญตาราง (List of Tables) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ พิมพ๋เรียงลำดับต่อจากส่วนสารบัญ <p>1.8 สารบัญภาพหรือสารบัญแผนภูมิ (List of Figures or List of Illustrations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งหน้าของรูปภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ <p>1.9 คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อ (List of Abbreviations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์และคำย่อต่างๆ ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ <p>2. ส่วนเนื้อความหรือเนื้อเรื่อง (Body of Text) ประกอบด้วย บทนำ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ <p>3. ส่วนอ้างอิง (Refereces Section) เป็นส่วนท้ายเล่ม ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Transactions | รายงานของสมาคมหรือสถาบันทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | University library | ห้องสมุดมหาวิทยาลัย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย, Example: <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย (University press) เป็นสำนักพิมพ์ประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในสำนักพิมพ์ของทางราชการ องค์การ สมาคม และหน่วยงานต่าง ๆ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่จัดพิมพ์ตำรา เอกสารประกอบการเรียน และสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย อาจจัดเป็นสำนักพิมพ์เฉพาะได้ แต่สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมีลักษณะแตกต่างจากสำนักพิมพ์อื่น ดังนี้ <p>1. จัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ทางวิชาการในสาขาวิชาการต่าง ๆ กว้างขวางกว่าสำนักพิมพ์เฉพาะ <p>2. ส่วนมากได้รับเงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัย <p>3. ไม่ต้องเสียภาษี <p>4. ไม่ได้มุ่งหวังเพื่อแสวงหาผลกำไร <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่มีชื่อเสียง เช่น <p>Cambridge University Press และ Oxford University Press ของอังกฤษ <p>Columbia University Press และ University of Chicago Press ของสหรัฐอเมริกา <p>ในประเทศไทย มหาวิทยาลัยบางแห่งมีทั้งสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ และมีหน่วยงานรับผิดชอบในการจัดจำหน่ายโดยเฉพาะ เช่น <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม (ฝ่ายโรงพิมพ์) <p>ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง (สำนักพิมพ์ และโรงพิมพ์ ใช้ชื่อเดียวกัน) ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยรามคำแหง <p>สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p>บรรณานุกรม <p>สำนักหอสมุดแห่งชาติ. (2553). คู่มือคัดเลือก จัดหา รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศหอสมุดแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : สำนัก. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | System analysis | การวิเคราะห์ระบบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Special bibliography | บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example: <p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject bibliography | บรรณานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject dictionary | พจนานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject encyclopedia | สารานุกรมเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Subject specialist | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital video | ดิจิทัลวิดีโอ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | แจงพระรูป | วิธีเอาเถ้าถ่านและกระดูกศพที่เผาเสร็จแล้วบนกองฟอนมาเรียงลำดับเป็นอย่างรูปคน ให้หัวอยู่ทางทิศตะวันตกแล้ว หันกลับมาทางทิศตะวันออก หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แปรรูป หรือแปรธาตุ [ศัพท์พระราชพิธี] | Aflatoxin | อะฟลาทอกซิน เป็นสารพิษชนิดหนึ่งที่ผลิตโดยเชื้อราแอสเปอร์จิลลัสฟลาวัส และแอสเปอร์จิลลัส พาราวิติกัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | พระโกศ | ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระศพในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ พระโกศสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งานได้ ๒ ประเภท ๑. พระโกศสำหรับทรงพระบรมศพหรือพระศพ ๒. พระโกศพระบรมอัฐิหรือพระอัฐิ, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-01.JPG" alt="พระโกศ"> <p>ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ [ศัพท์พระราชพิธี] | Paleontology | บรรพชีวินวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fertilization (Biology) | ปฏิสนธิ (ชีววิทยา) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| แอนท์เวิร์ป | [Aēntwoēp] (n, prop) EN: Antwerp FR: Anvers | แอสตัน วิลล่า | [Aēstan Willā] (tm) EN: Aston villa FR: Aston Villa [ m ] | อาหารมังสวิรัติ | [āhān mangsawirat] (n, exp) EN: vegetarian food FR: cuisine végétarienne [ f ] ; nourriture végétarienne [ f ] ; alimentation végétarienne [ f ] | อาจารย์มหาวิทยาลัย | [ājān mahāwitthayālai] (n, exp) EN: lecturer | อาคารวิจัย | [ākhān wijai] (n, exp) EN: research center FR: centre de recherches [ m ] ; unité de recherches [ f ] | อักขรวิธี | [akkharawithī] (n) EN: treatise on spelling and phonetics ; orthography | อาณาจักรวิทยาศาสตร์ | [ānājak witthayāsāt] (n, exp) EN: domain of science ; field of science FR: domaine de la science [ m ] | อันทเวิร์ป | [Antwoēp] (tm) EN: Antwerp FR: Anvers | อนุกรมวิธานสัตว์ | [anukrom withān sat] (n, exp) EN: taxonomy FR: taxinomie animale [ m ] ; taxonomie animale [ f ] | อาชญาวิทยา = อาชญาวิทยา | [ātchayāwitthayā = ātyāwitthayā] (n) EN: criminology FR: criminologie [ f ] | อัศวิน | [atsawin] (n) EN: knight FR: chevalier [ m ] | อัศวิน โต๊ะกลม | [Atsawin Toklom] (n, prop) EN: Knights of the Round Table FR: Les chevaliers de la Table ronde [ mpl ] | อัตวิสัย | [attawisai] (n) EN: subject ; subjectivity | อัตวิสัย | [attawisai] (adj) EN: subjective | อาชญาวิทยา = อาชญาวิทยา | [ātyāwitthayā = ātchayāwitthayā] (n) EN: criminology FR: criminologie [ f ] | อวิชชา | [awitchā] (n) EN: ignorance ; condition without knowledge FR: ignorance [ f ] | ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์ | [baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis | บรรจุหีบห่อด้วยวิธีสุญญากาศ | [banju hīphø dūay withī sunyākāt] (adj) EN: vacuum-packed | เบาวิสต้า | [Baowittā] (tm) EN: Boavista FR: Boavista | เบาหวิว | [bao wiū] (v, exp) EN: feel weightless ; feel light ; be light FR: être léger comme l'air | บาทวิถี | [bātwithī] (n) EN: pavement ; footpath ; sidewalk (Am.) FR: trottoir [ m ] | โบราณคดีวิทยา | [bōrānnakhadīwitthayā] (n) EN: archeology FR: archéologie [ f ] | บริษัทประกันชีวิต | [børisat prakan chīwit] (n, exp) EN: life assurance company ; life insurance company | บทวิจารณ์ | [botwijān] (n) EN: critique ; criticism FR: critique [ f ] | บทวิเคราะห์ | [botwikhrǿ] (n) EN: review ; analysis FR: revue [ f ] | บัววิคตอเรีย | [būa Wiktørīa] (n, exp) EN: Giant water lily ; Victoria water lily ; Amazon water lily ; Royal water lily ; Water Maize | บุคคลวิกลจริต | [bukkhon wikonjarit] (n, exp) EN: mentally disturbed person ; person of unsound mind | ใช้ชีวิต | [chai chīwit] (v, exp) EN: live ; spend one's life ; make a living FR: passer sa vie | ใช้เป็นกริยาวิเศษณ์ | [chai pen kriyāwisēt = chai pen kariyāwisēt] (v, exp) FR: adverbialiser (vx) | ใช้วิธีการอันมิชอบ | [chai withīkān an michøp] (xp) EN: fixing | ใช้วิธีอย่างเดียวกัน | [chai withī yāng dīokan] (v, exp) EN: after the same method ; in the same way FR: de la même manière | ชาก-หลุยส์ ดาวิด | [Chāk-Lui Dāwit] (n, prop) EN: Jacques Louis David FR: Jacques Louis David | ชาลส์ ดาร์วิน | [Chāl Dāwin = Chān Dāwin] (n, prop) EN: Charles Darwin FR: Charles Darwin | ชนะอย่างหวุดหวิด | [chana yāng wutwit] (v, exp) EN: edge out FR: gagner sur le fil | ช่างซ่อมวิทยุ | [chang sǿm witthayu] (n, exp) EN: radio technician | ชาญวิทย์ เกษตรศิริ | [Chānwit Kasetsiri] (n, prop) EN: Charnvit Kasetsiri FR: Charnvit Kasetsiri | ชาวสวิส | [Chāo Sawis] (n, prop) EN: Swiss FR: Suisse [ m, f ] ; Suissesse [ f ] ; ressortissant suisse [ m ] ; citoyen suisse [ m ] | ชื่อวิทยาศาสตร์ | [cheū witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific name FR: nom scientifique [ m ] ; nom latin [ m ] | ชีววิทยา | [chīwawitthayā] (n) EN: biology FR: biologie [ f ] | ชีววิทยาเชิงคำนวณ | [chīwawitthayā choēng khamnūan] (n, exp) EN: computational biology | ชีววิทยาของเซลล์ | [chīwawitthayā khøng sel] (n, exp) EN: cell biology FR: biologie cellulaire [ f ] | ชีววิทยาของเซลล์ทางการแพทย์ | [chīwawitthayā khøng sel thāng kān phaēt] (n, exp) EN: medical cell biology | ชีวิต | [chīwit] (n) EN: life ; existence ; living FR: vie [ f ] ; existence [ f ] | ชีวิตชีวา | [chīwitchīwā] (n) EN: life | ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม | [chīwit kap singwaētløm] (n, exp) EN: human being and environment | ชีวิตความเป็นอยู่ | [chīwit khwām penyū] (n, exp) EN: living conditions | ชีวิตหลังความตาย | [chīwit lang khwām tāi] (n, exp) EN: life afterr death FR: une vie après la mort | ชีวิตในโรงเรียน | [chīwit nai rōngrīen] (n, exp) EN: school life | ชีวิตประจำวัน | [chīwit prajamwan] (n, exp) EN: daily life ; everyday life FR: vie quotidienne [ f ] ; vie de tous les jours [ f ] ; quotidien [ m ] | ชีวิตเรียบ ๆ | [chīwit rīep-rīep] (n, exp) EN: plain living FR: vie simple [ f ] |
| doraemon | (n) ชื่อตัวละครของการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องหนึ่ง เป็นหุ่นยนต์มาจากโลกอนาคต มีกระเป๋าสารพัดประโยชน์ คอยใช้ของวิเศษเพื่อช่วยเหลือโนบิตะ การ์ตูนเรื่องนี้เป็นที่นิยมอย่างมากประมาณในช่วงทศวรรษที่ 80 | CCD | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Charge Coupled Device เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ สำหรับแปลงสัญญาณแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า มักใช้เป็นอุปกรณ์รับภาพสำหรับกล้องถ่ายวิดีโอ กล้องถ่ายภาพนิ่งดิจิตอล และเครื่องอ่านภาพ (Scanner), See also: camera, CMOS sensor | bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD | biology | ชีววิทยา | workaround | (n, jargon) วิธีแก้แบบขัดตาทัพ | Stay tuned! | (vi) เป็นภาษาพูด แปลว่า ติดตามต่อไป (ส่วนใหญ่ใช้ตามวิทยุหรือทีวี) เช่น Stay tuned for more details! Stay tuned to the brand new watch! | keep one's fingers crossed | (phrase) เป็นสำนวน แปลว่า ให้กำลังใจ เช่น He will take the final examination tomorrow. I will keep my fingers crossed for him. พรุ่งนี้เขามีสอบวิชาสุดท้าย ฉันจะเป็นกำลังใจให้เขาค่ะ | nerdy | (adj, slang) (คน) ที่ฉลาดแต่เรื่องเรียนหรือทางวิชาการ แต่มักไม่ค่อยเก่งในการเข้าสังคม, See also: nerd, geek | nstda | (org) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ National Science and Technology Development Agency | biotec | (org) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ National Center for Genetic Engineering and Biotechnology | death toll | (n) ยอดผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยหรือเหตุการณ์ต่างๆ | biologist | (n) นักชีววิทยา | marathon | (n, vt) การวิ่งแข่งมาราธอน (วิ่งนาน ต้องใช้ความอดทน) | appeal | (vi, vt) วิงวอน, ร้องขอ, อุทธรณ์ | CIFS | (org) สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม (Central Institute of Forensic Science) | a piece of (one's) mind | (phrase) คำวิจารณ์หรือตำหนิอย่างตรงไปตรงมาและรุนแรง, เช่น She gave him a piece of her mind. เธอตำหนิเขาตรงๆ อย่างรุนแรง | DSL | (abbrev) ย่อมาจากคำว่า Digital Subscriber Line เป็นวิธีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารแบบหนึ่ง นิยมใช้ในการให้บริการอินเทอร์เน็ตแก่ผู้ใช้ทั่วไป | wake | (n) การพบปะพูดคุยกันหลังจากที่มีเหตุการณ์ที่สำคัญผ่านไป โดยมากหมายถึง การไปชุมนุมกันที่บ้านของผู้ที่เสียชีวิตก่อนจะมีพิธีฝังศพ (โดยมักถูกอ้างว่ามีที่มาจาก การปลุกให้ผู้ตายมีชีวิตขึ้นมาอีก) เช่น A wake usually lasts 3 full days, afterwards on the 4th day the funeral takes place. | GMO | (n) สิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงด้วยการตัดต่อทางพันธุกรรม ย่อมาจาก genetically modified organism | emeritus | (adj, n) กิตติคุณ เป็นตำแหน่งที่มหาวิทยาลัยมอบให้แก่บุคลากรอาวุโสที่เกษียณอายุแล้ว โดยเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เช่น president emeritus อธิการบดีกิตติคุณ, professor emeritus ศาสตราจารย์กิตติคุณ | nag | (vi, n) เหน็บแนม, ชอบวิพากษ์วิจารณ์สิ่งเล็กๆน้อยๆในแง่ลบ, คนที่ชอบป่วนรบกวนคนอื่น | transgenic | (adj, jargon) ที่ถูกตัดต่อพันธุกรรม โดยเฉพาะการตัดต่อสารพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์ เช่น ยีนเรืองแสงของแมงกระพรุนมาใส่ในหนูให้หนูเรืองแสง เป็นต้น | once in a lifetime | (phrase) ครั้งหนึ่งในชีวิต เช่น Don't miss it because it's your once in a lifetime opportunity. | string quintet | (n) วงดนตรีเครื่องสายที่ประกอบไปด้วยเครื่องดนตรี 5 ชนิด ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ไวโอลิน 2 เครื่อง วิโอลา 2 เครื่อง และเชลโล่ 1 เครื่อง (ซึ่งเท่ากับวง string quartet และ วิโอลา 1 เครื่อง) | conventional warfare | (phrase) การยุทธตามรูปแบบ, การทำสงครามโดยใช้อาวุธและยุทธวิธีทางการทหาร ซึ่งแต่ละชนชาติจะเผชิญหน้ากันอย่างเปิดเผย | biosphere | (n) ชีวมณฑล, พื้นที่และชั้นบรรยากาศของโลกที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ | have a go at someone | (phrase) วิจารณ์ใครบางคน หรือบ่นเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง | anesthesiologist | (n) วิสัญญีแพทย์ | mechanical engineer | (n) วิศวกรเครื่องกล | mechanical engineering | (n) วิศวกรรมเครื่องกล | automotive engineering | (n) วิศวกรรมยานยนต์ | CERIAS | (n) ศูนย์การศึกษาและวิจัย ด้านการรับรองและรักษาความปลอดภัยด้านข้อมูล ย่อมาจาก The Center for Education and Research in Information Assurance and Security | heterogeneous | (adj) วิวิธพันธ์, ที่เป็นเนื้อผสม, ที่ไม่เข้ากัน, See also: A.
homogeneous | geeky | (adj) ที่เชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยี หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, บ้าเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, บ้าวิชาการ, ที่หมกมุ่นกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาก | ayurveda | (n) อายุรเวช (มาจากสันสกฤต หมายความว่าความรู้ (เวช) เกี่ยวกับชีวิต (อายุร)) | physiological | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต | physiology | (n) กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต | physiology | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | push-up | (n) |Amer| การวิดพื้น | canter | (vi) วิ่งโขยก, วิ่งเหยาะๆ | curfew | (n) ในยุโรปสมัยกลางบ้านเรือนทำมาจากท่อนซุง ตรงพื้นกลางบ้านมักจะขุดเป็นหลุมเพื่อเอาไว้ใช้เป็นเตา เพราะกลัวไฟไหม้ ตอนดึกๆ จึงต้องมียามเดินไปให้สัญญาว่าได้เวลานอนแล้ว ขอให้กลบไฟซะให้เรียบร้อยด้วย ซึ่งภาษาฝรั่งเศสว่า cuevre-feu แปลเป็นอังกฤษว่า to cover the fire เมื่อพระเจ้าวิลเลี่ยมแห่งฝรั่งเศสตีอังกฤษได้ ก็เอามาใช้ในอังกฤษ ให้ทุกบ้านดับไฟและห้ามออกจากบ้าน Curfew ก็จึงพัฒนามาเป็นคำที่หมายถึง มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากำหนด | stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera | Greyhound racing | (n) การแข่งวิ่งสุนัขพันธ์เกรย์ฮาวนด์ เป็นที่นิยมในอังกฤษ(คล้ายแข่งม้าแต่ไม่มี jockey) | haccp | (abbrev) การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม, มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร ย่อจาก hazard analysis critical control point | God bless you! | พระเจ้าคุ้มครองคุณ (หรือพูดสั้นๆว่า Bless you!) เป็นคำอวยพรที่พูดเมื่อบุคคลอื่นมีอาการจาม เพราะสมัยก่อนเชื่อกันว่า ขณะที่คนเราจามนั้นวิญญาณสามารถออกจากร่างได้ ทำให้อาจมีโรคภัยได้ง่าย | privatization | (n) การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ | anaesthetist | (n) วิสัญญีแพทย์, แพทย์ผู้ชำนาญการวางยาชาหรือยาสลบ เช่น The anaesthetist's major role lies in providing anaesthesia during surgery., See also: anesthesiologist, Syn. anesthetist | go for the jugular | (phrase) กะจะเอาให้ถึงตาย สู้ยิบตา, วิจารณ์หรือพูดจาทิ่มแทงใจ เช่น Hannity did not go for the jugular with this opening, but rather he explained the issue fairly objectively and pressed for an opinion. | anthropogenic | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องการกำเนิดและการวิวัฒนาการของมนุษย์, ที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ เช่น The anthropogenic contribution to greenhouse gas has been established as an infinitesimally small amount., See also: anthropogenetic | research methodology | (n) ระเบียบวิธีวิจัย |
| abiogenesis | (n) สมมติฐานที่ว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้จากสิ่งไม่มีชีวิต | abnormal | (adj) ผิดปกติ, See also: ผิดธรรมดา, ผิดวิสัย, ผิดแปลก, แปลก, Syn. deviant, unnatural | abstract | (adj) ทางทฤษฎี, See also: ทางหลักวิชา, ทางหลักการ, ทางวิชาการ, Syn. theoretical | academic | (adj) ซึ่งมีลักษณะเป็นนักวิชาการ, See also: ซึ่งคงแก่เรียน, Syn. schoraly, scholastic | academic | (adj) ด้านวิชาการ, See also: ทางวิชาการ | academic | (n) อาจารย์หรือนักศึกษามหาวิทยาลัย | academic | (adv) ด้านวิชาการ | academician | (n) สมาชิกของสโมสร (ทางด้านต่างๆเช่น ศิลปะ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์) | academy | (n) โรงเรียน, See also: สถานศึกษา, สถาบันการศึกษา, วิทยาลัยเฉพาะด้าน | acoustics | (n) วิชาว่าด้วยเสียง | actinology | (n) วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง | activate | (vt) กระตุ้น, See also: ทำให้มีชีวิตชีวา, Syn. arouse, stimulate, initiate | activate | (vi) มีชีวิตชีวา | activity | (n) การกระตือรือร้น, See also: การกระทำอย่างมีชีวิตชีวา, Syn. liveliness | adjudicate | (vt) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน | adjudicate | (vi) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน, Syn. judge, adjudge | admiral | (n) นาวิกโยธิน | adv | (n) คำกริยาวิเศษณ์ (คำย่อของ adverb), See also: คำช่วยกริยา | adverb | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำที่ทำหน้าที่ขยายกริยา คุณศัพท์ หรือคำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันเอง | adverbial | (adj) เกี่ยวกับกริยาวิเศษณ์ | adverbial | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ | adverbial clause | (n) กริยาวิเศษณานุประโยค | adverbial phrase | (n) กริยาวิเศษณ์วลี | aerial | (adj) เกี่ยวกับเครื่องบิน, See also: โดยวิธีทางเครื่องบิน | aerial | (adj) ซึ่งอยู่ในอากาศ, See also: ซึ่งเกิดขึ้นในอากาศ, ซึ่งมีชีวิตในอากาศ | aerial | (adj) เบาหวิว | aero | (adj) ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือศิลปะการบิน | aerobe | (n) สิ่งมีชีวิต, See also: สิ่งที่มีชีวิตอยู่ได้โดยต้องอาศัยออกซิเจน | aerobic | (adj) ซึ่งต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการดำรงชีวิต | aeromedicine | (n) วิชาแพทย์ทางอากาศ, See also: การแพทย์ที่เกี่ยวกับโรคหรือความผิดปกติซึ่งเกิดจากการเดินทางในชั้นบรรยากาศของโลก | aerostation | (n) วิทยาศาสตร์หรือศิลปะที่เกี่ยวกับการสร้างวัตถุเช่น บอลลูนให้ลอยในอากาศ | affray | (n) การทะเลาะวิวาท, See also: การปะทะคารม, การตะลุมบอน, Syn. quarrel, brawl | afterlife | (n) ชีวิตหลังความตาย | afternoon | (n) ช่วงหลัง, See also: ช่วงหลังของชีวิต | age | (n) ช่วงชีวิต, See also: ช่วง, ช่วงวัย, Syn. duration, lifetime, span | agent | (n) วิถีทาง, See also: พาหะ | aggravate | (vt) ทำให้โกรธ, See also: ยั่วยุ, ชวนวิวาท, ทำให้รำคาญ, Syn. irritate, annoy, provoke | agrology | (n) วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร | agronomics | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomy | agronomy | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomics | air | (vt) ออกอากาศทางสถานีวิทยุหรือโทรทัศน์, See also: ถ่ายทอด | airflow | (n) กระแสลมที่เกิดจากเครื่องบินหรือรถยนต์ที่วิ่งผ่าน | airstrip | (n) ทางวิ่งของเครื่องบิน | airwaves | (n) สื่ออากาศของการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ | Aladdin | (n) อาละดิน, See also: ตัวละครในนวนิยายอาหรับราตรีผู้เป็นเจ้าของตะเกียงวิเศษที่สามารถเนรมิตทุกสิ่งทุกอย่าง | alchemy | (n) การแปรธาตุในยุคสมัยกลางเพื่อหากรรมวิธีเปลี่ยนโลหะให้เป็นทองและการหาน้ำอมฤต | alcove | (n) เวิ้งที่ติดกับห้องสำหรับตั้งเตียงตู้หรือเฟอร์นิเจอร์อื่น ๆ | algorithm | (n) ชุดของคำสั่งที่สร้างไว้ตามขั้นตอน, See also: อัลกอริธึม, คำสั่ง, ขั้นตอนวิธี | alienation | (n) สภาวะผิดปกติ, See also: สภาวะวิกลจริต | alive | (adj) มีชีวิตชีวา, Syn. alert, living |
| + | เครื่องหมาย cross hairs เป็นรูปลักษณ์ของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) แบบหนึ่ง ที่แตกต่างกันออกไปในบางโปรแกรม เช่น ในโปรแกรมการวาดภาพในระบบวินโดว์ส มักมีลักษณะเป็นเส้นตัดกัน (+) แทนที่จะเห็นเป็นลูกศรตามปกติ | a la | (อา' ลา) fr. ตามวิธีการของ...... | a- | ใช้นำหน้าคำนามให้เป็นกริยาวิเศษณ์, จาก, ออก, จาก, ไม่ | a. a. a. s. | abbr. American Association for the Advancement of Science สมาคมเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา | a. a. s. | abbr. American Academy of Sciences (สภาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา) | a. a. u. w. | abbr. American Association of University Women (สมาคมสตรีมหาวิทยาลัยแห่งอเมริกา) | aar | (อาร์) n. ชื่อแม่น้ำสายหนึ่งในสวิทเซอแลนด์มันไหลไปทางเหนือของแม่น้ำไรน์ | abbeville | (แอบ' บีวิล) n. ชื่อเมืองในฝรั่งตอนเหนือ (a town) | abbevillian | (แอบวิล' เลียน) n. ซึ่งเกี่ยวกับยุคที่มนุษย์เริ่มรู้จักทำขวานหินเป็นอาวุธ. | abbreviate | (อะบรี'วิเอท) vt. ย่อ, เขียนย่อ, คำย่อ, การย่อ -abbreviator n., -abbreviation n. ตัวอย่าง: *The word "inch" is abbreviated "in" คำว่า "inch" ถูกย่อเป็น "in"* (แบบ 1, 18) | abbreviated | (อะบรี' วิเอเทด) adj .สั้น, ทำให้สั้นเข้า, หายาก, ไม่พอเพียง, Syn. shortened | abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด | abfarad | (แอบแฟ' แรด) n. หน่วยความจุไฟฟ้าซึ่งเป็นเซ็นติเมตร-กรัม-วินาทีและมีค่าเท่ากับ 109 farads | abhenry | (แอบเฮน' รี) n. หน่วยการนำไฟฟ้าที่เป็นเซ็นติเมตร-กรัม-วินาที และมีค่าเท่ากบ 10-9 henry (centimeter-gram-second unit) | abiogenesis | (เอ' บิโอเจน' นิซิส) n. การกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิต, การเกิดขึ้นเอง. -abiogenetic adj. (spontaneous generation) | abiosis | (เอ' ไบโอ' ซิส) n. การไร้ชีวิต, ภาวะที่ไม่มีชีวิตหรือสิ่งมีชีวิต. -abiotic adj. | abmho | (แอบ' โบ) n., (pl. -mhos) หน่วยการนำไฟฟ้า (เซนติเมตร/กรัม/วินาที) ซึ่งมีค่าเท่า 109 mhos (เซนติเมตร/กรัม/วินาที) | abnormal psychology | จิตวิทยาที่เกี่ยวกับความวิปริตของบุคลิกภาพ (branch of psychology) | abvolt | (แอบโวลท') n. หน่วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเป็นเซนติเมตร-กรัม-วินาที มีค่าเท่ากับ 10-9 โวลท์ | academy | (อะแคด' ดิมี) โรงเรียน, สำนัก, สภา, สถาบันการศึกษา, กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ, สำนักปัญญาปรัชญาของ Plato, วิทยสถาน, Syn. school | acarology | (แอคคาร็อล' โลจี) n. ชีววิทยาที่เกี่ยวกับตัวเห็บหรือหมัด -acarologist n. | access | (แอค' เซส) n. ทางเข้า, การเข้าไปได้, วิธีเข้า, อารมณ์รุนแรงและกระทันหัน, Syn. way | access method | วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ | accessories | โปรแกรมประกอบหมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ ที่โปรแกรมระบบเตรียมให้มาไว้ใช้เป็นโปรแกรมประกอบ หรือโปรแกรมที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน เช่น โปรแกรมประกอบของโปรแกรม ระบบวินโดว์ 95 หรือ 98 จะมีโปรแกรม NotePad, Paint, WordPad , Multimedia, Calculator เป็นต้น | accidence | (แอค' ซิเดินซฺ) n. อักขรวิธี, การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของรูปคำ, Syn. rudiment | acclivity | (อะคลิฟ' วิที) n. ที่ชันขึ้น, ทางขึ้น. | accounting | (อะเคา' ทิง) n. ทฤษฎีระบบการทำบัญชี, วิชาการทำบัญชี | accredit | (อะเครด' ดิท) vt. เพิ่มบัญชี, เชื่อถือ, อนุญาต, แต่งตั้ง, ถือว่า, รับรอง, รับรองวิทยฐานะ accre-ditation, accreditment n. | acoustics | (อะคู' สทิคซฺ) n. วิชาที่ว่าด้วยเสียง, โสตศาสตร์, ประสิทธิภาพของห้องที่มีต่อเสียง | acquiesce | (แอค' ควิเอส) vi. ยอมรับในใจ, ยินยอม, นิ่งเฉย. -acquiescence n., | acquisitive | (อะควิซ' ซิทิฟว) adj. อยากได้, สามารถได้มาซึ่ง, สามารถได้รับ | acquit | (อะควิท') vt. ทำให้พ้นไป, ชำระ, ตัดสินให้พ้นโทษ, ปฏิบัติ, ดำเนินการได้ผล. -acquiter n., Syn. forgive, pardon, clear, free | acquittal | (อะควิท' เทิล) n. การตัดสินให้พ้นโทษ, การปฏิบัติ, การชำระหนี้, Syn. discharge | acquittance | (อะควิท' เทินซฺ) n. การชำระหนี้ | active immunity | การเกิดภูมิคุ้มกันเนื่องจากการสร้างแอนตี้บอดี้ภายในสิ่งมีชีวิตเอง | active window | วินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า | activism | (แอค' ทิฟวิซึม) n. ทฤษฎีที่ว่าความจริงคือการดำเนินการที่บริสุทธิ์โดยเฉพาะทางจิต, ทฤษฎีที่ว่าความสัมพันธ์ระหว่างจิตและวัตถุ การดำเนินการหรือขบวนการของจิต, ลัทธิดำเนินการเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง (essence of reality) | activist | (แอค' ทิวิสทฺ) n. ผู้ดำเนินการที่มีความกระตือรือร้น, ผู้ยึดถือทฤษฎี -activism n. | activity | (แอคทีฟ' วิที) n. กิจกรรม, การเคลื่อนไหว, ลักษณะการดำเนินการ, ลักษณะการเคลื่อนไหว, ระดับความมีชีวิตชีวา, เรื่องราวที่ดำเนินการ, กิจกรรม, Syn. action, pursuit | adjectival | (แอคจิคไท' เวิล) adj. เกี่ยวกับหรือใช้เป็นคุณศัพท์ (of an adjective) | admission | (แอคมิช' เชิน) n. การรับเข้า, การยอมรับรอง, การรับสารภาพ, สิทธหรือวิธีการเข้าไป, ราคาสำหรับเข้าไป, การยอมรับข้อกล่าวหาหรือความจริง, Syn. allowance, admittance | adventurism | (แอดเวน' เซอริสซึม) n. (นโยบาย, วิธีการ, การกระทำ) ที่เสี่ยง. -adventurist n., -adventuristic adj. | adverb | (แอด' เวอบ) n กิริยาวิเศษณ์ | adverbial | (แอดเวอ' เบียล) adj. เกี่ยวกับหรือทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ (of an adverb) | aeroballistics | (แอโรบะลิส' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับขีปนาวุธ. -aeroballistic adj. | aerobe | (แอ' โรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ต้องอาศัยออกซิเจนในการดำรงชีพ | aerobiosis | (แอโรไบโอ' ซิส) n. ชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่มีอากาศหรืออ็อกซิเจน -aerobiotically, adv. (life in an environment, containing air or oxygen) | aerograph | (แอ' โรกราฟ) n. บันทึกอุตุวิทยา | aeromedicine | (แอโรมิแมค' ดิซิน) n. วิชาแพทย์ทางอากาศ. -aeromedical adj. | aeronautics | (แอโรนอท' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะการบิน (science of flight) |
| aberrant | (adj) ผิดปกติ, ผิดวิสัย, วิปริต, วิปลาส | aberration | (n) ความผิดปกติ, ความวิปริต, ความวิปลาส | abnormal | (adj) ผิดปกติ, วิปริต, วิปลาส, พิกล | abnormality | (n) ความผิดปกติ, ความวิปริต, ความวิปลาส, ความพิกล | academic | (adj) เชิงวิชาการ, เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับสถาบันการศึกษา | academician | (n) นักวิชาการ | access | (n) วิธีเข้าถึง | acoustics | (n) เสียงสะท้อน, การได้ยิน, วิชาเสียง | acquaintance | (n) การวิสาสะ, ความสนิทสนม, ความเป็นกันเอง, ความคุ้นเคย | adverb | (n) กริยาวิเศษณ์ | adverbial | (adj) เกี่ยวกับกริยาวิเศษณ์ | aeronautics | (n) วิชาการบิน | affray | (n) การทะเลาะวิวาท, การต่อสู้ | agronomist | (n) นักปฐพีวิทยา | agronomy | (n) ปฐพีศาสตร์, ปฐพีวิทยา | alcove | (n) ซอก, เวิ้งผา, ห้องเล็ก, ซุ้มไม้ | alive | (adj) มีชีวิตอยู่, คงอยู่, ดำรงอยู่, ร่าเริง, กระปรี้กระเปร่า | allegorical | (adj) โดยวิธีสาธก, เป็นเชิงเปรียบเทียบ | altercate | (vi) ทะเลาะกัน, วิวาทกัน, เป็นปากเสียงกัน | altercation | (n) การวิวาท, การทะเลาะ | analyse | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ | analysis | (n) วิภาค, การแยกแยะ, การวิเคราะห์ | analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | analytical | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | analyze | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ | anatomical | (adj) เกี่ยวกับกายวิภาค, เกี่ยวกับร่างกาย | anatomist | (n) นักกายวิภาคศาสตร์ | anatomize | (vt) วิเคราะห์, แบ่งแยก, ชำแหละ(ร่างกาย) | anatomy | (n) กายวิภาคศาสตร์, กายวิภาควิทยา | animadversion | (n) การวิจารณ์, การติเตียน, การตำหนิ | animadvert | (vt) วิจารณ์, ติเตียน, ตำหนิ | animate | (adj) มีชีวิต, เป็นสัตว์ | animate | (vt) กระตุ้น, ทำให้มีชีวิต | animated | (adj) กระปรี้กระเปร่า, ร่าเริง, มีชีวิตชีวา | animation | (n) ความมีชีวิต, ความมีชีวิตชีวา, ความกระตือรือร้น | anomalous | (adj) วิปริต, ผิดปกติ, ผิดหลัก, ผิดที่ | anomaly | (n) ความวิปริต, ความผิดปกติ | anthropology | (n) มานุษยวิทยา | anthropometry | (n) มานุษยวิทยาเกี่ยวกับการวัดร่างกายของคน | approach | (n) การเข้าใกล้, วิธีการเข้าไป | area | (n) พื้นที่, เขต, เนื้อที่, บริเวณ, สาขาวิชา | artistic | (adj) งดงาม, วิจิตร, เกี่ยวกับศิลปะ | artistry | (n) งานศิลป์, ศิลปกรรม, วิจิตรศิลป์ | assay | (n) การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์ | assay | (vt) พยายาม, ทดสอบ, ตรวจสอบ, ทดลอง, วิเคราะห์ | astronautics | (n) วิทยาศาสตร์การบิน | atmospherics | (n) การรบกวนคลื่นวิทยุ | aviation | (n) การบิน, วิชาการบิน, วิธีการบิน | bail | (vt) ประกันตัว, วิดน้ำ | batty | (adj) บ้า, วิกลจริต, ฟั่นเฟือน |
| Saboteur | (n) วินาศกร | *optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) | *ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 | Abiotic factors | (n) ปัจจัยที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ ความแห้งแล้ง ความหนาวเย็น แสงแดดเผา การขาดสารอาหาร ค่าความเป็นกรดด่างไม่สมดุล เป็นต้น | absolute altimeter | (n) มาตราวัดความสูงสัมบูรณ์ม เครื่องวัดความสูงสัมบูรณ์--เครื่องวัดความสูงชนิดหนึ่ง ซึ่งวัดระยะตามแนวดิ่งไปยังผิวพื้นด้านล่าง โดยใช้เทคโนโลยีทางวิทยุ เรดาร์ เสียง เลเซอร์ หรือ คาแพซิทิฟ | Absorptiometry | การวัดปริมาณรังสีที่ดูดซึม (ตามเนื้อเยื่อที่มีชีวิต) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อตรวจสอบความหนาแน่น | academia | โรงเรียน มหาวิทยาลัย | accrediting amount | (n) เงินวิทยฐานะ | all mod cons | (adj) (บ้านหรือห้องพัก) ที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่นเครื่องซักผ้า ตู้เย็น ครบถ้วน สามารถใช้ชีวิตได้อย่างสะดวก | alprazolam | ใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการรักษาความวิตกกังวลเล็กน้อยถึงปานกลาง | Amateur radio operator | (n) นักวิทยุสมัครเล่น | analyzed | (vt) กระบวนการวิเคราะห์ | animation | ภาวะที่มีชีวิตชีวา, ขบวนการสร้างหนังการ์ตูน, ความกระตือรือร้น, พลังงาน, ความดีใจ, | Anthropocene | [อันโธรพะซีน] (adv) เกี่ยวกับหรือหมายถึงยุคสมัยในทางธรณีวิทยาที่ซึ่งการกระทำของมนุษย์มีอิทธิพลมากที่สุดต่อสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม | anthropological linguistics | ภาษาศาสตร์มนุษยวิทยา | antioxidant | (n) สารต้านอนุมูลอิสระ(วิทย์.) | Archbasilica | (n) อัครมหาวิหาร | assumption | พระแม่มารีย์ได้รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ | Assumption University | (n) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ | Automated Meteorological Data Acquisition System | (jargon) ระบบรับข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยอัตโนมัติ | BBier | [บีบี'เออร์] (n) นักพกบีบี, สิ่งมีชีวิตที่มีชื่อจริง และนามสกุลเป็นรหัสอักษรและเลข8ตัว | beings | [บี'อิง] ความมีชีวิตอยู่ ; มนุษย์ ; สิ่งมีชีวิต ; ความเป็นอยู่ | Beltane | (uniq) เทศกาลเฉลิมฉลอง หนึ่งใน เทศกาลแห่งเปลวเพลิง ซึ่งรับทอดมาจากศาสตร์เซลติกโบราณ ซึ่งนิยมจะเฉลิมฉลองกันในยามค่ำคืน เพแกนจะขี่เหล่าปศุสัตว์ระหว่างกองไฟซึ่งก่อ ณ กลางแจ้ง ทั้งสองกอง เป็นความเชื่อว่าจะปกป้องพวกเขาจากโรคร้าย ส่วนคู่หนุ่มสาวที่ปราถณาจะมีชีวิตคู่ที่ชุ่มชื่นก็จะ "กระโดดเหนือกองไฟ" ในคืน Beltane | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | Biotic factors | (n, modal, verb) ปัจจัยที่มีชีวิต ได้แก่ เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส ไส้เดือนฝอย | Biotrophs | (n) เชื้อโรคที่ตามธรรมชาติ ได้รับอาหารจากเนื้อเยื่อ และดำรงชีวิตอยู่จนครบชีพจักรบนพืชอาศัยที่มีชีวิตอยู่ | Buddhism Thought | วิถีพุทธ | by mean of | (prep) โดยวิธี | capacity | [เคอะแพ้เซอะทิ] (n) วิสัย (อ้างอิง: พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2542 หน้า 1082) | cathedral | (n) วัดของคริสต์ศาสนาที่มีสังฆราช (bishop) เป็นประมุขและที่เป็นทีตั้งของ “อาสนะสังฆราช” (bishop's cathedra) เป็นสถานที่ทางศาสนาที่ใช้ในการสักการะบูชา (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่นนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ นิกายอังกลิคัน และ นิกายลูเทอรัน มหาวิหารจะเป็นวัดที่เป็นที่นั่งของสังฆราช (วัดประจำตำแหน่ง) ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของสังฆมณฑล (Diocese หรือ See) ที่อยู่ใต้การปกครองของสังฆราชที่กำหนดไว้ | cern | [Organisation Européenne pour la Recherche Nucléaire] (n) เป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์, Syn. European Organization for Nuclear Research | chemoautotroph | [chem-mo-au-to-troph] (n) สิ่งมีชีวิตที่ใช้สารอนินทร์ เช่น hydrogen sulfide, ammonium or ferrous iron เป็นแหล่งสร้างพลังงาน เช่น Bacteria | chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม | Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง | college | (n) มหาวิทยาลัย | collegiality | (n) วิทยามิตร | community enterprise | วิสาหกิจชุมชน | community enterprise | กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน | convergent evolution | (n) การวิวัฒนาการแบบเข้าหากัน | Copy that | (slang) (ทางทหาร) รับทราบ, ได้ยิน, เข้าใจ มักใช้สื่อสารทางวิทยุ | Coronavirus Crisis | (n) วิกฤติไวรัสโคโรนา | critical thinking | คิดแบบมีวิจารณญาณ | crowdsource | (vt, uniq) เป็นการรวมกันของคำว่า Crowd + Outsourcing คือการกระจายปัญหาไปยังกลุ่มค้นเพื่อค้นหาคำตอบ และวิธีการในการแก้ปัญหาทางธุรกิจนั้นๆ บริษัทสามารถ broadcast คำถามหรือปัญหาที่ต้องการคำตอบไปยังกลุ่มคนขนาดใหญ่เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการใหม่ ๆ Crowd หรือ User ส่วนมากในการทำ Crowdsourcing เราจะหมายถึงกลุ่มชุมชน Online | decomposer | [ดีคอมโพสเซอร์] (n) ผู้ย่อยสลาย หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้สารอาหารจากการย่อยซากสิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ เห็ด รา เป็นต้น(ศัพท์ทางชีววิทยา) | dermatology | (n) ตจวิทยา | discerning | มีวิสัยทัศน์ | Discipline | [ดิสซะพลิน] (n) วิชา, สาขา, วงการ | disease | (n) การตอบสนองทางพยาธิสรีรวิทยาต่อปัจจัยภายนอก หรือภายใน |
| 〜方 | [〜かた, ~ kata] (n) เมื่อนำกริยามาเติมข้างหน้าจะหมายถึง วิธีการ เช่น 読み方(よみかた) วิธีอ่าน หรือ 使い方(つかいかた) วิธีการใช้งาน | のぞみ | [のぞみ, nozomi] (name) ชื่อประเภทของรถชินคันเซ็นสายโตไกโดและซันโย (วิ่งระหว่างโตเกียว-โอซะกะ-ฟุคุโอกะ) | ウェハー | [うえはー, ueha-] (n) แผ่นชิพหรือไมโครชิพ (ทางวิศกรรมไฟฟ้า) Image: | スイス | [すいす, suisu] (n) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ | マラソン | [まらそん, marason] (n) กีฬาวิ่งมาราธอน | リハーサル | [りはーさる, riha-saru] (n) การฝึกซ้อม (โดยจะใช้เฉพาะอย่างยิ่งกับ การฝึกซ้อมการบรรยายสำหรับเตรียมการประชุมวิชาการ), See also: S. practice, rehearsal | 一世一代 | [いっせいちだい, isseichidai] (phrase) ครั้งหนึ่งในชีวิต | 五書 | [ごしょ, gosho] (n) หนังสือเบญจบรรณ เป็นหนังสือห้าเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(ภาคพันธสัญญาเก่า) ซึ่งประกอบไปด้วย หนังสือปฐมกาล หนังสืออพยพ หนังสือเลวีนิติ หนังสือกันดารวิถี และหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ, See also: R. Old Testament, Genesis, Exodus, Leviticus, Numbers, Deuteronomy | 人生 | [じんせい, jinsei] ชีวิตมนุษย์ | 人生の春 | [じんせいのはる, jinseinoharu] ฤดูใบไม้ผลิของชีวิต/เวลาแห่งความเป็นหนุ่มสาว | 人生最悪 | [じんせいさいあく, jinseisaiaku] (n) สิ่งเลวร้ายที่สุดในชีวิต | 人生航路 | [じんせいこうろ, jinseikouro] เส้นทางเดินของชีวิต | 保険料 | [ほけんりょう, hokenryou] (n) ค่าประกัน(ชีวิต, สุขภาพ) | 入学 | [にゅうがく, nyuugaku] (n) การเข้ามหาวิทยาลัย (เริ่มเข้าไปเรียน) | 命 | [いのち, inochi] (n) ชีวิต | 土木工学 | [どぼくこうがく, dobokukougaku] (n) วิศวกรรมโยธา | 大学院 | [だいがくいん, daigakuin] (n) บัณฑิตวิทยาลัย | 学者 | [がくしゃ, gakusha] (n) นักวิชาการ | 学部 | [がくぶ, gakubu] (n) คณะวิชา (ในมหาวิทยาลัย) | 学長 | [がくちょう, gakuchou] (n) อธิการบดี(ของมหาวิทยาลัย) | 安否 | [あんぴ, anpi] (n) ความปลอดภัย การรอดชีวิต | 安否情報 | [あんぴじょうほう, anpijouhou] (n) ข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือการรอดชีวิต | 実践 | [じっせん, jissen] การปฏิบัติ การกระทำ วิธีปฏิบัติ สิ่งที่ปฏิบัติ | 専門 | [せんもん, senmon] (n) วิชาเฉพาะทาง | 弦楽四重奏 | [げんがくしじゅうそう, gengakushijuusou] (n) วงดนตรีที่มีเครื่องสายสี่ชนิดด้วยกัน โดยมักจะประกอบด้วย ไวโอลิน 2 เครื่อง วิโอลา 1 เครื่อง และ เชลโล 1 เครื่อง | 戦略 | [せんりゃく, senryaku] (n) แผน, แผนการรบ, ยุทธวิธี, Syn. 戦法 | 東北大学 | [tohoku daigaku, tohoku daigaku] (n, uniq) มหาวิทยาลัยโตโฮกุ ตั้งอยู่ที่เมืองเซนได ประเทศญี่ปุ่น เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นเป็นแห่งที่สามของประเทศญี่ปุ่น | 段差 | [だんさ, dansa] (n) ผิวต่างระดับ (วิศวะ), ระดับขั้นบรรทัด | 気象庁 | [きしょうちょう, kishouchou] (n) สำนักงานอุตุนิยมวิทยา | 生命保険 | [せいめいほけん, seimeihoken] (n) ประกันชีวิต | 研究 | [けんきゅう, kenkyuu] (n, vt) วิจัย | 研究者 | [けんきゅうしゃ, kenkyuusha] (n) นักวิจัย | 科研費 | [かけんひ, kakenhi] (n) ทุนวิจัย | 総武線 | [そうぶせん, soubusen] (n, name) เส้นทางรถไฟสายโซบุของ JR (Japanese Railway) วิ่งระหว่างโตเกียวกับชิบะ สัญลักษณ์ใช้สีเหลือง (ข้อมูล พฤศจิกายน 2546) | 臨時国会 | [りんじこっかい, rinjikokkai] (n) การประชุมสภาสมัยวิสามัญ | 診断 | [しんだん, shindan] ตรวจโรค, วินิจฉัยโรค, Syn. 診察 | 走る | [はしる, hashiru] (n) วิ่ง | 軽量化 | [けいりょうか, keiryouka] (n) ทำให้เบาลง ลดน้ำหนัก ( ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรม ) | 電波 | [でんぱ, denpa] (n) คลื่นวิทยุ | 魂 | [たましい, tamashii] (n) วิญญาน |
| 短期大学 | [たんきだいがく, tankidaigaku] (n) ปวช., วิทยาลัยเทคนิค, อาชีวศึกษา | 理工学部 | [りこうがくぶ, rikougakubu] (phrase) คณะวิศวกรรมศาสตร์-วิทยาศาสตร์ | 早稲田 | [わせだ, waseda] (name, org) วาเซดะ (ชื่อของมหาวิทยาลัย), มหาวิทยาลัยวาเซดะ | 鬼ごっこ | [おにごっこ, onigokko] (n) การละเล่นเหมือนกับ วิ่งไล่จับ, See also: R. 鬼 | 一足違い | [ひとあしちがい, hitoashichigai] (adv) อย่างหงุดหวิด | 工学士 | [こうがくし, kougakushi] (n) วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต | 工学科 | [こうがくか, kougakuka] (n) ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ | 工学部 | [こうがくぶ, kougakubu] (n) คณะวิศวกรรมศาสตร์ | 工学部 | [こうがくぶ, kougakubu] (n) คณะวิศวกรรมศาสตร์ | 博士論文 | [はくしろんぶん, hakushironbun] (n) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก | 仕様 | [しよう, shiyou] 1.วิธีการ 2.หนทาง | 慰霊 | [いれい, irei] (พิธี)เซ่นไหว้ดวงวิญญาณ | 短大 | [たんだい, tandai] วิทยาลัยระดับอนุปริญญา | 走り | [はしり, hashiri] การวิ่ง , ผลไม้ผักปลา , ต้นฤดู , จุดเริ่มปรากฏการณ์ | 統計学 | [とうけいがく, toukeigaku] (n) วิชาสถิติ | 科学的管理 | [かがくてきかんり, kagakutekikanri] (n) การควบคุมอย่างมีหลักการทางวิทยาศาสตร์ | 忍術 | [にんじゅつ, ninjutsu] (n) วิชานินจา | 殉職 | [じゅんしょく, junshoku] (n, vi) การเสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ เช่น 知り合いのおまわりさんが殉職しました | 書面 | [しょめん, shomen] เอกสาร (มักใช้หรือพูดในเวลาที่ต้องการจะกล่าวถึงวิธีการ เช่น บอกด้วยปากเปล่า อย่างกรณี 書面 นี้ก็จะเป็นว่า ด้วยเอกสาร หรืออาจจะใช้ในความหมายในลักษณะที่ว่า ในหน้าเอกสาร) ความแตกต่างระหว่าง 書類 ก็คือ 書類 มักใช้ในความหมายถึงเอกสารทั่วไปโดยปกติ, See also: R. 書類 | 補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 | 手順 | [てじゅん, tejun] วิธีการ | 蜻蛉日記 | [かげろうにっき, kagerounikki] (n) วรรณกรรมประเภทบันทึกสมัยเฮอัน ที่ได้รับการบันทึกโดยสตรีเล่มแรกของญี่ปุ่น เขียนโดย 道綱の母(みちつなのはは)เนื้อหาพรรณาเกี่ยวกับความเศร้าจากชีวิตแต่งงานของผู้เขียน | 研究室 | [けんきゅうしつ, kenkyuushitsu] (n) ห้องทดลอง, ห้องวิจัย | 細胞 | [さいぼう, saibou] (n) เซลล์, หน่วยเล็กสุดในร่างกายของสิ่งมีชีวิต | 死亡 | [しぼう, shibou] เสียชีวิต | 死亡 | [しぼう, shibou] การเสียชีวิต | todai | [とうだい, toudai] (n) มหาวิทยาลัยโตเกียว (เป็นชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งของมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น) | 解析 | [かいせき, kaiseki] (n) การวิเคราะห์ | 解析する | [かいせきする, kaisekisuru] (vt) การวิเคราะห์ | 便 | [び, bi] (n) ข่าวคราว วิธีการขนส่ง | 建築 | [けんちく, kenchiku] (n) สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง, รูปแบบการก่อสร้าง | 見事 | [みごと, migoto] ยอดเยี่ยม, วิเศษ, อัจฉริยะ, งดงาม, โอ่อ่า, โอ่โถง, น่าชมเชยยิ่ง, แจ่มจรัส, แวววาว, รุ่งโรจน์., | 破壊 | [はかい, hakai] การทำลาย, วิธีการทำลาย, การล้างผลาญ, สิ่งที่ถูกทำลาย | 手段 | [しゅだん, shudan] วิธี, หนทาง | テーゼ | [てーぜ, teze] (n) วิทยานิพนธ์ | 命綱 | [いのちづな, inochizuna] (n) 1.เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เวลาทำงานในที่สูง หรือบนเรือ <BR>2.ฟางเส้นสุดท้าย (มีความหมายว่า เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวสุดท้าย ถ้าไม่มีสิ่งที่พูดมาข้างต้น จะไม่สามารถทำให้ลุล่วงสำเร็จไปได้ หรือว่าทำให้ตกอยู่ในสถานการณ์ลำบาก หรืออันตรายถึงชีวิต) | 賛否両論 | [さんぴりょうろん, sanpiryouron] (n) การวิพากวิจารณ์ที่แยกสองฝ่ายทั้งดีและไม่ดี | 結界 | [けっかい, kekkai] (n) สิ่งกีดขวาง, สิ่งยับยั้ง (มักใช้กับเวทมนตร์หรือจิตวิญญาณ) | 通り魔 | [とおりま, toorima] (n) คนบ้าไล่ฟันคน พวกฆาตกรที่มีจิตวิปริตไล่ฟันผู้คนตามท้องถนน | 結構 | [けっこう, kekkou] (adj) ยอดเยี่ยม, วิเศษ, อัจฉริยะ, งดงาม, โอ่อ่า, โอ่โถง, น่าชมเชยยิ่ง, แจ่มจรัส, แวววาว, รุ่งโรจน์ | 同棲 | [どうせい, dousei] (n) ใช้ชีวิตร่วมกันโดยไม่แต่งงาน | ninkungz | [人くん, nin kun] (n, name) (น.) วิญญาณ ดิจิตอล , ชายที่ใช้ชีวิตในโลกวิทยาการ, See also: S. nin koong z | 台詞 | [せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance | 準備 | [じゅんび, junbi] (n) (เพรพพะเร'เชิน) n. การเตรียม, การเตรียมการ, วิธีการเตรียมการ, สิ่งที่เตรียม, ตัวอย่างสำหรับตรวจ วินิจฉัยหรืออื่น ๆ , (พระคัมภีร์ไบเบิล) วันก่อนวันSabbath, the Preparation บทสวดมนต์น้ำในพิธีศาสนาหรือ Mass (ดู) | Hidetoe | [じゅんび, Hidetoe] (name) เจ้าชายรูปหล่อแห่ง Pramool board เป็นผู้ที่ yong mavin madpackits ให้ความเกรงกลัว และเป็นที่ชื่นชอบของทุกคนในบอร์ด เกลียดแมนยูเป็นชีวิตจิตใจ เพราะเป็นแฟนหงส์สุดยอมทีมของโลก | 格好 | [かっこう, kakkou] (n, vi, vt) (เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ | 情報工学 | [じょうほうこうがく, jouhoukougaku] (n) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | 知識工学 | [ちしきこうがく, chishikikougaku] (n) วิศวกรรมข้อมูลความรู้ วิศวกรรมสารสนเทศ | 通信工学 | [つうしんこうがく, tsuushinkougaku] (n) วิศวกรรมสื่อสาร | 電気工学 | [でんきこうがく, denkikougaku] (n) วิศวกรรมไฟฟ้า |
| 学内 | [がくない, gakunai] TH: อยู่ภายในบริเวณสถานศึกษา เช่น โรงเรียน, วิทยาสัย หรือ มหาวิทยาลัย EN: within the school | 科学 | [かがく, kagaku] TH: วิทยาศาสตร์ EN: science | 研究所 | [けんきゅうじょ, kenkyuujo] TH: สถาบันวิจัย EN: research institute | 書き方 | [かきかた, kakikata] TH: วิธีเขียน ลายมือเขียนหนังสือ EN: way of writing | 組み方 | [くみかた, kumikata] TH: วิธีประกบ | 暮らす | [くらす, kurasu] TH: ใช้ชีวิต EN: to live | 暮らす | [くらす, kurasu] TH: ดำเนินชีวิต EN: to get along | 力学 | [りきがく, rikigaku] TH: วิชากลศาสตร์ EN: mechanics | 秒 | [びょう, byou] TH: วินาที EN: second (.016 min) | 視点 | [してん, shiten] TH: วิสัยทัศน์ EN: visual point | 大生 | [だいせい, daisei] TH: นักศึกษามหาวิทยาลัย EN: college student | 訴える | [うったえる, uttaeru] TH: เรียกความสนใจ(โดยวิธีการ) EN: to appeal to | 進学 | [しんがく, shingaku] TH: เรียนในระดับที่สูงขึ้นต่อไป เช่นจากมัธยมปลายเป็นมหาวิทยาลัย EN: going on to university (vs) | 考え方 | [かんがえかた, kangaekata] TH: ความคิด, วิธีการคิด EN: way of thinking | 教え方 | [おしえかた, oshiekata] TH: วิธีการสอน EN: method of teaching | 渉外部 | [しょうがいぶ, shougaibu] TH: แผนกวิเทศสัมพันธ์ EN: liaison department | 京大 | [きょうだい, kyoudai] TH: ชื่อย่อของมหาวิทยาลัยเกียวโต EN: Kyoto University (abbr) | 走る | [はしる, hashiru] TH: วิ่ง EN: to run | 京都大学 | [きょうとだいがく, kyoutodaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเกียวโต | 生物 | [せいぶつ, seibutsu] TH: สิ่งมีชีวิต EN: creature | 駆ける | [かける, kakeru] TH: วิ่ง EN: to run | 診る | [みる, miru] TH: วินิจฉัย(โรค) EN: to examine | 生まれ変わる | [うまれかわる, umarekawaru] TH: ตั้งต้นชีวิตใหม่ EN: to make a fresh start in life | 生活 | [せいかつ, seikatsu] TH: การดำเนินชีวิต EN: living (vs) | 電気通信大学 | [でんきつうしんだいがく, denkitsuushindaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเดงกิซือชิน EN: University of Electro-Communication | 出産 | [しゅっさん, shussan] TH: การเกิด, การกำเนิดของสิ่งมีชีวิต EN: birth | 北大 | [ほくだい, hokudai] TH: ชื่อย่อเรียกมหาวิทยาลัยฮอกไกโด EN: Hokkaido University | 動力学 | [どうりきがく, dourikigaku] TH: วิชากลศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยการเคลื่อนที่ของของแข็ง EN: dynamics | 追いかける | [おいかける, oikakeru] TH: วิ่งไล่ EN: to run after | 理学 | [りがく, rigaku] TH: วิทยาศาสตร์กายภาพ EN: physical science | ワークステーション | [わーくすてーしょん, wa-kusute-shon] TH: เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง มักใช้ในงานวิจัย EN: workstation | 東京大学 | [とうきょうだいがく, toukyoudaigaku] TH: มหาวิทยาลัยโตเกียว EN: Tokyo University | 消す | [けす, kesu] TH: ปิดสวิทซ์ EN: to turn off power | 生きる | [いきる, ikiru] TH: มีชีวิต EN: to live | 助ける | [たすける, tasukeru] TH: ช่วยชีวิต | 憧れる | [あこがれる, akogareru] TH: ถวิลหา EN: to yearn after | 専門 | [せんもん, senmon] TH: วิชาเอก EN: subject of study | 研究 | [けんきゅう, kenkyuu] TH: ศึกษาวิจัย EN: study (vs) | 研究 | [けんきゅう, kenkyuu] TH: ทำวิจัย EN: research | 乗り切る | [のりきる, norikiru] TH: ผ่านพ้นวิกฤต EN: to get over | 学会 | [がっかい, gakkai] TH: การประชุมสัมมนาทางวิชาการ EN: academic meeting | 過ごす | [すごす, sugosu] TH: ใช้ชีวิต EN: to pass | 方法 | [ほうほう, houhou] TH: วิธีการ EN: method | 工学 | [こうがく, kougaku] TH: วิศวกรรม, วิศวกรรมศาสตร์ EN: engineering | 大学 | [だいがく, daigaku] TH: มหาวิทยาลัย EN: university | 学園際 | [がくえんさい, gakuensai] TH: งานฉลองประจำปีของโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยมักจัดในช่วงวันวัฒนธรรมปลายเดือนพฤศจิกายน EN: school festival | 理学部 | [りがくぶ, rigakubu] TH: คณะวิทยาศาสตร์ |
| Kritik | (n) |die, pl. Kritiken| คำวิจารณ์, ตำหนิ | Kultur | (n) |die, pl. Kulturen| วัฒนธรรม, ความศิวิไล | Leben | (n) |das, pl. Leben| ชีวิต | Medium | (n) |das, pl. Medien| สื่อ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ | Mittel | (n) |das, pl. Mittel| วิธีการ, เครื่องมือ | Universität | (n) |die, pl. Universitäten| มหาวิทยาลัย | Weise | (n) |die, pl. Weisen| วิธีการ, เส้นทางวิธี (ไม่ใช่ทางเดิน) | dadurch | ดังนั้น, ด้วยวิธีนั้น | durch | (präp) ด้วย (เป็นบุพบทที่ใช้บ่งว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งส่งให้เกิดผล) เช่น Durch diese Behandlung ist er gerettet. เขารอดชีวิตมาได้ด้วยวิธีการรักษานี้ | durch | (präp) ผ่าน, ทะลุผ่าน เช่น Wir fahren von Deutschland durch die Schweiz nach Italien. เราขับรถออกจากเยอรมนีผ่านสวิตเซอร์แลนด์ไปยังอิตาลี | durchaus | ทั้งนี้และทั้งนั้น, ทุกวิถีทาง, จำเป็นอย่างยิ่ง เช่น Er möchte durchaus in diese Schule gehen. ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นเขาต้องการจะเข้าโรงเรียนนี้, Syn. unbedingt | eines | หนึ่ง (รูปแสดงความเป็นเจ้าของ Genetiv ของคำนามเพศชายและเพศกลาง) เช่น das Leben eines Mannes ชีวิตของผู้ชายคนหนึ่ง, See also: ein | entwickeln | (vt) |entwickelte, hat entwickelt| พัฒนา, วิวัฒนาการ เช่น Hast du das Gerät entwickelt? เธอพัฒนาอุปกรณ์ชี้นนี้หรือ | gelten | (vi) |gilt, galt, hat gegolten| มีผลใช้ได้(บัตร, ตั๋ว, กฏ, ระเบียบ) เช่น Sein Visum gilt nur für Deutschland, aber nicht für die Schweiz. วีซ่าของเขาใช้ได้เฉพาะในเยอรมนีเท่านั้น ในสวิสใช้ไม่ได้, See also: gültig | her | (adv) นี่ (ทิศทางจากนอกเข้ามา) เช่น von irgendwo her จากที่ใดที่หนึ่ง, Wir kennen uns von der Uni her. เรารู้จักกันจากตอนมหาวิทยาลัย | leben | ใช้ชีวิตอยู่, มีชีวิต | per | โดยวิธี เช่น per Telex ส่งด้วยเทเล็กซ์ | einschränken | (vi) |schränkte sich ein, hat sich eingeschränkt| ใช้ชีวิตอย่างจำกัดจำเขี่ย | Bereich | (n) |der, pl. Bereiche| ขอบข่ายของงาน, ขอบข่ายทางวิชาการ | Datum | (n) |das, pl. Daten| วันที่ เช่น Welches Datum haben wir heute? - Heute ist der 27. Oktober 2001. (วิธีการบอกวันที่เป็นภาษาเยอรมันโดยทั่วไป - Das Sommersemester fängt am 15.04 an., การบอกวันที่ในจดหมาย - den 12 Oktober 2003) | schwindlig | (adj) วิงเวียน, คลื่นไส้ เช่น Mir ist schwindlig. ฉันมีอาการวิงเวียน, See also: schwindelig | schwindelig | (adj) วิงเวียน, คลื่นไส้ เช่น Mir ist schwindelig. ฉันมีอาการวิงเวียน, See also: schwindlig | Abkürzung | (n) |die, pl. Abkürzungen| วิธีลัด | Lebewesen | (n) |das| สิ่งมีชีวิต, See also: die Kreatur | surfen | (vt) |surfte, hat gesurft| เล่นวินด์เซิร์ฟ | joggen | (vt) |joggte, hat gejoggt| วิ่งจ๊อกกิ้ง | Marathonlauf | (n) |der, nur Sg.| การวิ่งมาราธอน | auf Kritik stoßen | เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ เช่น Im Jahr 2002 ist die Währungsumstellung zu Euro in Europa auf Kritik gestoßen. | S-Bahn | (n) |die, pl. S-Bahnen| รถไฟเร็วที่วิ่งจากในตัวเมืองถึงหัวเมืองซึ่งในเยอรมนีมีเฉพาะในเมืองใหญ่ๆ เท่านั้น | U-Bahn | (n) |die, pl. U-Bahnen| รถไฟใต้ดิน (ซึ่งบางช่วงอาจวิ่งบนดิน) ที่วิ่งเฉพาะในตัวเมืองเท่านั้นหรือวิ่งระยะไม่ไกลเท่ารถประเภท S-Bahn | Schall | (n) |der, nur Sing.| เสียง (เรียกในเชิงวิทยาศาสตร์) เช่น die Schallwelle คลื่นเสียง, See also: die Stimme, das Geräusch | Herzlichen Beileid! | (phrase) เป็นคำแสดงความเสียใจแก่ญาติของคนที่เสียชีวิต | der Fall sein | (phrase) ในกรณีนี้ เช่นนี้ (ใช้อ้างถึงสิ่งที่เพิ่งเอ่ยถึง) เช่น Hoffentlich besucht er mich in diesem Sommer. Wenn das der Fall ist, fahren wir in die Schweiz zusammen. หวังว่าเขาจะมาเยี่ยมฉันหน้าร้อนนี้ ถ้าเป็นเช่นนั้น เราจะขับรถไปเที่ยวสวิสเซอร์แลนด์ | Fachhochschule | (n) |die, pl. Fachhochschulen| มหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนด้านปฏิบัติ เมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิที่เทียบเท่าปริญญาตรีที่เมืองไทย ในขณะที่ในมหาวิทยาลัยทั่วไป (Universität)จะได้วุฒิที่เทียบเท่ากับปริญญาโท | Forelle | (n) |die, pl. Forellen| ปลาประเภทหนึ่งที่มีชีวิตอยู่ในน้ำเย็น รสชาดดี รูปร่างคล้ายปลาแซลมอนแต่มีขนาดเล็กกว่า ตามท้องปลามักมีจุดสีดำ เนื้อปลามีทั้งสีขาวและสีส้ม | Lachs | (n) |der, pl. Lachs| ปลาขนาดใหญ่ที่มีชีวิตอยู่ในน้ำเย็นตามทะเลเหนือ และแพร่พันธุ์ตามแม่น้ำ รสชาดดี เนื้อปลามีสีส้ม | verlaufen | (vi) |verlief, hat/ist verlaufen| สิ่งใดสิ่งหนึ่งเดินหรือดำเนินไปในทิศทางหนึ่ง เช่น Der Weg verläuft zwischen zwei Dörfen. เส้นทางนี้วิ่งผ่านระหว่างสองหมู่บ้าน | etw. mit etw. verwechseln | (vt) จำสลับกัน เช่น Einmal hat sie die Cola mit dem Whiskey verwechselt. ครั้งหนึ่งเธอเคยหยิบโค้กมาแทนวิสกี้, Syn. etw. mit etw. vertauschen | einfahren | (vi) |fährt ein, fuhr ein, ist eingefahren| รถไฟหรือเรือกำลังถึงสถานีหรือท่า เช่น Der Zug nach Freiburg fährt in ein paar Minuten ein. รถไฟที่จะไปไฟร์บวร์กกำลังวิ่งเข้ามาในอีกไม่กี่นาทีข้างหน้านี้ | promovieren | (vi) |promovierte, hat promoviert| ศึกษาหรือเรียนระดับปริญญาเอก เช่น Meine Schwester promovierte im Jahr 1991 an der Mahidol Universität. น้องสาวของผมเรียนจบระดับปริญญาเอกจากที่มหาวิทยาลัยมหิดลในปี 1991, Syn. eine Doktorarbeit machen | Forschung | (n) |die, pl. Forschungen| งานวิจัย | Unglück | (n) |das, nur Sg.| ความโชคร้าย หรือ ไม่มีดวง, อุบัติเหตุ, โศกนาฏกรรม ตัวอย่างการใช้คำ 1° Bei diesem Unglück sind 13 Schüler aus Stuttgart gestorben. = ในโศกนาฏกรรม ครั้งนี้ ทำให้นักเรียนจากเมืองชตุ๊ดการ์ด, เยอรมนี ได้เสียชีวิตลง 13 คน 2° Busunglück = อุบัติเหตุโดยรถโดยสารประจำทาง ( ร้ายแรงกว่า Autounfall หน่อย เพราะจำนวนผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตมีจำนวนมากกว่า ) 3° Das bringt mir Unglück! = ผม ช่างโชคร้าย อะไรเช่นนี้ ( Unglück นิยมพูด โดยละ Artikel, das ) 4° Unglücklicherweise, daß ich deine Geschichte erfahren habe! = ช่างโชคร้าย อะไรเช่นนี้ ที่ผมต้องมารับรู้ เรื่องราวของคุณอย่างนี้นะ! ), See also: die Katastrophe, das Pech, Syn. der Unfall | unterbelichtet | (adj, slang) ไม่ถนัด หรือ ไม่เก่ง ตัวอย่างการใช้คำ In Mathe bin ich unterbelichtet. = ผมไม่ถนัดวิชาเลข | wissenschaftlich | (adj) ทางวิชาการ หรือ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือวิชาการ | in die Schule gehen | (phrase) ไปเรียน หรือ ไปโรงเรียน สามารถแปลว่า ไปมหาวิทยาลัยได้ด้วย เช่น 1° a: Wann geht Ihr Sohn in die Schule? = ลูกชายคุณจะเข้าโรงเรียนเมื่อไหร่ครับ b: wahrscheinlich, nächstes Jahr! = อ๋อ ก็คงจะปีหน้านะ, Syn. zur Schule gehen | schwindelfrei | (adj, adv) ไม่วิงเวียนหรือปวดศรีษะ เช่น เวลาขึ้นที่สูงๆ, See also: A. schwindelig | Bauzeichnung | (n) |die, pl. Bauzeichungen| วิชาเขียนแบบโยธาฯ, งานเขียนแบบโยธาฯ | Baukonstruktion | (n) |die, pl. Baukonstruktionen| วิชาโครงสร้างโยธาฯ, งานโครงสร้างโยธาฯ | Gefallene | (n) |der, pl. Gefallenen| ทหารที่เสียชีวิตในสงคราม | Ablehnungsbescheid | (n) |der| คำปฏิเสธ เช่น คำปฏิเสธเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เป็นต้น, See also: A. der Zulassungsbescheid |
| *nblick { m }; Ansicht { f }; Sicht { f }; Blick { m }; Aus* | n. ภาพ, ทิวทัศน์, ทัศนวิสัย, ทรรศนะ, สายตา, การมอง, การสังเกต, ข้อคิดเห็น, ทัศนคติ, จุดประสงค์, เจตนา, จุดมุ่งหมาย, การสำรวจทั่วไป, -Phr. (in view ภายในแนวสายตา ภายใต้การพิจารณา) -Phr. (in view of เมื่อพิจารณาถึงในเรื่องเกี่ยวกับ) vt. ดู, มอง, สังเกต, สำรวจ, ตรวจสอบ | Android { m }; Androide { m } | คือแพลตฟอร์มใหม่สำหรับโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์พกพา ซึ่งประกอบด้วยระบบปฏิบัติการ ไลบรารี เฟรมเวิร์ค และซอฟต์แวร์อื่นๆ | der Meteorogin | (n) นักอุตุนิยมวิทยาหญิง, See also: Meteoroge, Syn. Meteorologist | geprüft | (เก-พรูฟ-เทอะ) vt. ทบทวน, ตรวจสอบอีก, พิจารณาใหม่, วิจารณ์, ตรวจพล, สังเกตการณ์ vi. เขียนบทวิจารณ์, เขียนบทปฏิทัศน์ | herrlich | (adj) วิเศษ ดีเยี่ยม งดงามยิ่ง in hohem Maß schön, gut odor angenehm <Wetter, ein Tag, Sonnenschein, ein Essen, ein Ausblick usw; etwas klingt, riecht, schmeckt herrlich> , See also: Hẹrrlichkeit | Kybernetik { f }; Regelungstechnik { f } | (n) วิชาที่เกี่ยวกับการติดต่อ ควบคุมสัตว์เเล้วเครื่งจักร | Markgraf | "มาร์คกราฟ" เป็นบรรดาศักดิ์เยอรมัน เทียบเท่ากับบรรดาศักดิ์ "มาร์ควิส" ของอังกฤษ, See also: Marquess, Marquis, Landgraf, Syn. Margrave | pretuval | (n) วิตามิน | rennen | (vi) วิ่ง | velo | (n, slang) จักรยาน(เป็นคำที่ใช้ในสวิสเซอร์แลนด์) |
| faire un jogging | (vt) วิ่งจ๊อกกิ้ง Image: | Suisse | (n) |f| ประเทศสวิตเซอร์แลนด์, See also: suisse Image: | suisse | (adj) |ใช้รูปเดียวกันทั้งที่ขยายนามเพศชายและหญิง| ที่เกี่ยวกับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ | Genève | (n) la Genève = เมืองเจนีวา ในสวิตเซอร์แลนด์ | enseignement supérieur | (n) le, = การเรียนการสอนในระดับอุดมศุกษา, มหาวิทยาลัย | enseigner | (vt) (donner un cours)สอนวิชาใดวิชาหนึ่ง , (apprendre)สอนให้ทำ | en | (prep) ที่ (ใช้ตอบคำถาม ไปที่ไหน หรือ อยู่ที่ไหน) เช่น Le Chili, c'est en Amérique. ประเทศชิลีอยู่ในทวีปอเมริกา, Elle va à la fac chaque jour. เธอไปที่มหาวิทยาลัยทุกวัน | bête | (n) la, = สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่คน, สัตว์ ex; la belle et la bête = โฉมงามกับอสูร (การ์ตูนของวอลท์ดีสนีย์) | courrir | (vi) 1) วิ่ง, วิ่งแข่ง, วิ่งตาม, รีบเร่ง ex: Ce chien a besoins de courir. 2) เสี่ยง ex: Il ne veut pas courrir ce risque. 3)ค้นหา(เกี่ยวกับเรื่องรักๆใคร่ๆ) ex: Courir les filles., Syn. parcourir Image: | course | (n) n.f. การวิ่ง, การวิ่งแข่งขัน(กีฬา), การแข่งม้า (หรือสัตว์ชนิดอื่น เช่น กระต่าย) | thèse | (n) |f, pl. thèses| วิทยานิพนธ์ | écouter | (vt) |je écoute, tu écoutes, il écoute, nous écoutons, vous écoutez, ils écoutent| ฟัง เช่น écouter un concert à la radio ฟังคอนเสิร์ตทางวิทยุ | recherche | (n) |f| งานวิจัย, การวิจัย, Syn. étude | soutenance d'une thèse | (n) |f| การแสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก | chimie | (n) |f| สาขาเคมี, วิชาเคมี | physique | (n) |f| สาขาฟิสิกส์, วิชาฟิสิกส์ | soutenir une thèse | (vt) แสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |