Search result for

*รวิ*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รวิ, -รวิ-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
รพีน. พระอาทิตย์. (ป., ส. รวิ)

Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
สกว.(n, abbrev, org, uniq) Thailand Research Fund (TRF), abbrev. of สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(org) Thailand Research Fund (TRF)

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
รวิ(n) sun, Syn. รวิ, รพิ, รพี, รำไพ, พระอาทิตย์, Count Unit: ดวง, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
รวิวาร(n) Sunday, Syn. วันอาทิตย์, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
การวิวาท(n) dispute, See also: controversy, argument, quarrel, contention, brawl, wrangle, squabble, Syn. การทะเลาะวิวาท, การทะเลาะ, การโต้เถียง, Example: การวิวาทกันของนักเรียนช่างกลสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชนทั่วไปเป็นอันมาก
มารวิชัย(n) Lord Buddha, Syn. มารวิชิต, มารชิ, มารวิชิต, พระพุทธเจ้า, Example: พระพุทธชินสีห์เป็นพระเนื้อโลหะปางมารวิชัยหน้าตัก 5 ศอกคืบ 4 นิ้ว, Thai Definition: พระพุทธรูปปางนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวางคว่ำลงที่พระชานุ ในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้ ว่า พระปางมารวิชัย, พระปางสะดุ้งมาร หรือ พระปางมารสะดุ้ง ก็เรียก, Notes: (บาลี)
มารวิชัย(n) Lord Buddha, Syn. มารวิชิต, มารชิ, มารวิชิต, พระพุทธเจ้า, Example: พระพุทธชินสีห์เป็นพระเนื้อโลหะปางมารวิชัยหน้าตัก 5 ศอกคืบ 4 นิ้ว, Thai Definition: พระพุทธรูปปางนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวางคว่ำลงที่พระชานุ ในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้ ว่า พระปางมารวิชัย, พระปางสะดุ้งมาร หรือ พระปางมารสะดุ้ง ก็เรียก, Notes: (บาลี)
ไตรวิชชา(n) three-acknowledgement group, Syn. วิชชา 3, Thai Definition: วิชชา 3 คือ วิชชาระลึกชาติหนหลังได้ 1 วิชชารู้ความตายความเกิดของคนและสัตว์ 1 วิชชารู้ในทางทำให้สิ้นกิเลส 1
ละครวิทยุ(n) radio play, Example: ปริศนาเป็นนิยายอมตะของว.ณประมวญมารคที่สร้างเป็นภาพยนต์ ละครทีวี และละครวิทยุหลายครั้ง, Count Unit: เรื่อง
สรีรวิทยา(n) physiology
สรีรวิทยา(n) physiology, Example: การมองเห็นภาพต่างๆ และสีสรร เป็นเรื่องทางสรีรวิทยาที่ซับซ้อน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยคุณสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต, Notes: (บาลี)
สรีรวิทยา(n) physiology, Example: การมองเห็นภาพต่างๆ และสีสรร เป็นเรื่องทางสรีรวิทยาที่ซับซ้อน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยคุณสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต, Notes: (บาลี)
อักขรวิธี(n) orthography, Example: ตำราภาษาไทยแต่เดิม ประกอบด้วย อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ ฉันทลักษณ์, Thai Definition: วิธีเขียน และอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, Notes: (บาลี)
การวิพากษ์(n) criticism, See also: review, comment, Syn. การวิพากษ์วิจารณ์, การวิจารณ์, การวิเคราะห์วิจารณ์, Example: หนังสือได้เสนอแง่มุมของการวิพากษ์สังคมตะวันตกโดยคนตะวันตกเอง, Thai Definition: การพิจารณาตัดสิน
ผลการวิจัย(n) research result, Syn. ผลวิจัย, ผลงานวิจัย, ผลการวิเคาะห์, Example: ญี่ปุ่นได้รวบรวมผลการวิจัยในการป้องกันมลภาวะสิ่งแวดล้อมไว้มากมาย, Count Unit: ชิ้น, เรื่อง, Thai Definition: ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ
อักขรวิทยา(n) paleography
รายการวิทยุ(n) radio program
นักษัตรวิทยา(n) astrology, See also: science of stars, knowledge of stars, Syn. วิชาดาว, โหราศาสตร์, Notes: (สันสกฤต)
โครงการวิจัย(n) research project, See also: research plan, Syn. แผนการวิจัย, Example: มหาวิทยาลัยดำเนินโครงการวิจัยฐานข้อมูลขนาดใหญ่, Count Unit: โครงการ, Thai Definition: แผนหรือเค้าโครงตามที่กะหรือกำหนดไว้สำหรับการทำวิจัย
การวินิจฉัยโรค(n) diagnosis, Example: การวินิจฉัยโรคในปัจจุบันได้มีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้าช่วยในการวินิจฉัยโรคมากขึ้น
ผลการวิเคราะห์(n) analysis result, Syn. ผลวิจัย, Example: จากผลการวิเคราะห์ พบว่าการโคจรของดาวเทียมทำให้เรามีสื่อสารที่ก้าวหน้ามากขึ้น, Thai Definition: ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ
รายงานการวิจัย(n) research report, Example: รายงานการวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก, Count Unit: ฉบับ, เรื่อง, Thai Definition: เอกสารที่ได้จากการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์
การวิจัยพื้นฐาน(n) basic research, Example: การผนึกกำลังกันวิจัยทั้งในการวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์เป็นสิ่งจำเป็นในการพัฒนาอุตสาหกรรม
การวิเคราะห์งาน(n) analysis, Example: การวิเคราะห์งานในแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียด
การวิจัยเชิงทดลอง(n) experimental research, Example: มีการวิจัยเชิงทดลองเพื่อวัดระดับความรู้ภาษาไทยของนักศึกษาปี 1 ของทุกมหาวิทยาลัย
การวิจัยและการพัฒนา(n) research and development, Example: สินค้าได้ผ่านการวิจัยและการพัฒนาและเตรียมออกวางตลาดในเร็วๆ นี้
การวิเคราะห์เนื้อหา(n) content analysis, Example: ขั้นตอนที่ยากที่สุดในการทำรายงานคือการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อเขียนในรายงาน
ห้องปฏิบัติการวิจัย(n) laboratory, Example: ห้องปฏิบัติการวิจัยทางโทรคมนาคมในมหาวิทยาลัยกำลังเปิดรับสมัครนักวิจัยที่สนใจจะทำงานในด้านโทรคมนาคม, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: สถานที่ที่ใช้ทำการวิจัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ(n) Srinakharinwirot Unversity, Example: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒนับเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของไทย ที่สามารถเปิดสอนวิชาชีพครูได้ถึงระดับปริญญา

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กรวิก ๑(กะระ-, กอระ-) น. นกการเวก.
กรวิก ๒(กะระ-, กอระ-) น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๓ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป.; ส. กรวีก). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ ที่ สัต ๒, สัต- ๒, สัตตะ ๑).
การวิก(การะวิก) น. นกการเวก เช่น การวิกรวังวนกุณาล พเพรียกพร้องกระแสงใส (สมุทรโฆษ).
คณะกรรมาธิการวิสามัญน. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง.
โฆรวิส(โคระวิด) น. งูพิษ.
โฆรวิส(โคระวิด) ว. มีพิษร้าย.
ไตรวิชชา(-วิดชา) น. ความรู้แจ้งในทางพระพุทธศาสนา ๓ อย่าง คือ ๑. ระลึกชาติหนหลังได้ ๒. รู้การตายการเกิดของคนและสัตว์ ๓. รู้วิธีทำให้สิ้นกิเลส.
ธนุรวิทยา, ธนุรเวท(ทะนุระ-) น. วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ๆ. (ส.). (ดู อุปเวท ประกอบ).
นักษัตรวิทยาน. วิชาดาว, โหราศาสตร์.
มารวิชัย(มาระ-, มาน-) น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายหงายวางบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวางควํ่าลงที่พระชานุ นิ้วพระหัตถ์ชี้ลงที่พื้นธรณีในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้ ว่า พระปางมารวิชัย, พระปางชนะมาร หรือ พระปางสะดุ้งมาร ก็เรียก.
รวิ ๑, รวีน. พระอาทิตย์, ใช้แผลงว่า รพิ รพี หรือ รำไพ ก็ได้.
รวิวารน. วันอาทิตย์.
รวิ ๒น. ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางคืน. (ดู ยาม).
ราชวรวิหาร(ราดชะวอระวิหาน) น. เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรมหาวิหาร ว่า ชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร เช่น วัดเบญจมบพิตร วัดราชประดิษฐ์, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดหนึ่ง ซึ่งมีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรมหาวิหาร ว่า ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เช่น วัดเทพศิรินทร์ วัดราชสิทธาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสูงสุด ว่า ชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร เช่น วัดปทุมวนาราม วัดรัชฎาธิษฐาน.
ละครวิทยุน. ละครพูดที่แสดงทางวิทยุ มักมีเพลงประกอบ.
วรวิหาร(วอระ-) น. เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดตํ่าสุด ว่า ชั้นโทชนิดวรวิหาร เช่น วัดบพิตรพิมุข วัดอนงคาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นตรีชนิดวรวิหาร เช่น วัดราชนัดดา วัดเทพธิดา.
ศรวิษฐา(สะระวิดถา) น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา มี ๔ ดวง, ดาวกา ดาวไซ ดาวเศรษฐี หรือ ดาวธนิษฐะ ก็เรียก.
สรีรวิทยา, สรีรศาสตร์น. วิชาว่าด้วยสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต.
อักขรวิธีน. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร.
อักขรวิบัติน. การเขียน อ่าน หรือออกเสียงไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี.
อาศิรพิษ, อาศิรวิษ, อาศีรพิษ, อาศีรวิษน. “ผู้มีพิษในเขี้ยว” คือ งู, อสรพิษ.
อินทรวิเชียร(อินทฺระ-) น. ชื่อฉันท์ ๑๑ แบบหนึ่ง หมายความว่า ฉันท์ที่มีลีลาอันรุ่งเรืองงดงามดุจสายฟ้าซึ่งเป็นอาวุธของพระอินทร์ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๖ คำ รวม ๒ วรรค เป็น ๑ บาท นับ ๒ บาท เป็น ๑ บท คำที่ ๓ ของวรรคหน้ากับคำที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ของวรรคหลังเป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ รับสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ แต่เดิมไม่นิยมสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ เช่น
(อิลราช).

แต่ต่อมานิยมสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ อย่างเดียวกับกาพย์ยานี ๑๑ เพราะถือว่าไพเราะ เช่น

กมเลศพระนารายณ์ เช่น ดุจองค์สมเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นสุทธาวาสบวรวิมาน (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์).
กรรมาธิการ(กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ.
กรีฑา ๑(กฺรีทา) น. กีฬาอย่างหนึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ประเภทลู่ เช่น การวิ่งระยะทางต่าง ๆ วิ่งผลัด วิ่งข้างรั้ว ซึ่งในการแข่งขันต้องมีทางหรือแนวทางวิ่ง อีกประเภทหนึ่ง คือ ประเภทลาน เช่น กระโดดสูง พุ่งแหลน ทุ่มน้ำหนัก ซึ่งต้องมีสถานที่กว้างเพื่อการแข่งขัน
กา ๑ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา เห็นเป็นรูปอีกา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์ (อภัย), ดาวไซ ดาวเศรษฐี ดาวศรวิษฐา หรือ ดาวธนิษฐะ ก็เรียก.
การประกอบโรคศิลปะน. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ.
กุณาล(-นาน) น. นกดุเหว่า เช่น การวิกระวังวน กุณาล (สมุทรโฆษ).
คำสั่งทางปกครองน. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ.
โคลงโบราณน. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งคล้ายโคลง ๔ มีบังคับสัมผัส แต่ไม่มีบังคับเอกโท เช่น โคลงมหาวิชชุมาลี โคลงมหาสินธุมาลี ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตำรากาพย์สารวิลาสินี.
ไซ ๓น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา มี ๔ ดวง, ดาวกา ดาวเศรษฐี ดาวศรวิษฐา หรือดาวธนิษฐะ ก็เรียก.
ดะโต๊ะยุติธรรมน. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.
ดุลพินิจ(ดุนละ-, ดุน-) น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลยพินิจ ก็ใช้.
ดุลยพินิจน. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลพินิจ ก็ใช้.
ตะโกรง(-โกฺรง) ว. อาการวิ่งโทง ๆ
ตะตินว. บอกอาการวิ่ง, บางทีเขียนเป็น ตติน ก็มี เช่น แล้วก็เอากลออมดิน แล่นตตินยงงท่า แบกน้ำด้วยบ่ามายงงเรือนตน โสดแล (ม. คำหลวง ชูชก).
ตะโพงว. อาการวิ่งก้าวยาว ๆ หรือวิ่งอย่างกระโดด
ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกาน. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง.
ธนิษฐะ, ธนิษฐา(ทะนิดถะ, ทะนิดถา) น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๓ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปอีกา, ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี ดาวไซ หรือ ดาวกา ก็เรียก.
นักษัตร ๑, นักษัตร-(นักสัด, นักสัดตฺระ-) น. ดาว, ดาวฤกษ์, มี ๒๗ หมู่ คือ ๑. อัศวินี, อัสสนี (ดาวม้า ดาวคอม้า ดาวคู่ม้า หรือ ดาวอัศวยุช) มี ๗ ดวง ๒. ภรณี (ดาวก้อนเส้า) มี ๓ ดวง ๓. กฤติกา, กฤตติกา, กัตติกา (ดาวธงสามเหลี่ยม หรือ ดาวลูกไก่) มี ๘ ดวง ๔. โรหิณี (ดาวพราหมี ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวคางหมู) มี ๗ ดวง ๕. มฤคศิระ, มฤคเศียร, มิคสิระ (ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวมฤคศิรัส หรือ ดาวอาครหายณี) มี ๓ ดวง ๖. อารทรา (ดาวอัททา ดาวตัวโค หรือ ดาวตาสำเภา) มี ๑ ดวง ๗. ปุนัพสุ, ปุนัพพสู (ดาวหัวสำเภา ดาวสำเภาทอง ดาวสะเภา ดาวยามเกา หรือ ดาวตาเรือชัย) มี ๓ ดวง ๘. บุษยะ, บุษย์, ปุษยะ, ปุสสะ (ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสำเภา หรือ ดาวสิธยะ) มี ๕ ดวง ๙. อาศเลษา, อสิเลสะ (ดาวเรือน หรือ ดาวนกอยู่ในปล่อง) มี ๕ ดวง ๑๐. มฆะ, มฆา, มาฆะ (ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้) มี ๕ ดวง ๑๑. บุรพผลคุนี, ปุรพผลคุนี, ปุพพผลคุนี (ดาววัวตัวผู้ หรือ ดาวงูเมีย) มี ๒ ดวง ๑๒. อุตรผลคุนี, อุตตรผลคุนี (ดาวเพดาน หรือ ดาววัวตัวเมีย) มี ๒ ดวง ๑๓. หัสต, หัสตะ, หัฏฐะ (ดาวศอกคู้ หรือ ดาวศีรษะช้าง) มี ๕ ดวง ๑๔. จิตระ, จิตรา (ดาวต่อมนํ้า ดาวไต้ไฟ ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวเสือ) มี ๑ ดวง ๑๕. สวาดิ, สวาตี, สวัสติ (ดาวช้างพัง หรือ ดาวงูเหลือม) มี ๕ ดวง ๑๖. วิศาขา, วิสาขะ (ดาวคันฉัตร หรือ ดาวศีรษะกระบือ) มี ๕ ดวง ๑๗. อนุราธ, อนุราธะ, อนุราธา (ดาวประจำฉัตร หรือ ดาวนกยูง) มี ๔ ดวง ๑๘. เชษฐะ, เชษฐา (ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ) มี ๑๔ ดวง ๑๙. มูล, มูละ, มูลา (ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว) มี ๙ ดวง ๒๐. ปุรพษาฒ, บุรพอาษาฒ, บุพพาสาฬหะ (ดาวสัปคับช้าง หรือ ดาวราชสีห์ตัวผู้) มี ๓ ดวง ๒๑. อุตราษาฒ, อุตตรอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ (ดาวแตรงอน หรือ ดาวราชสีห์ตัวเมีย) มี ๕ ดวง ๒๒. ศรวณะ, ศระวณ, สาวนะ (ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี) มี ๓ ดวง ๒๓. ธนิษฐะ, ธนิษฐา (ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี ดาวไซ หรือ ดาวกา) มี ๔ ดวง ๒๔. ศตภิษัช, สตภิสชะ (ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์) มี ๔ ดวง ๒๕. บุรพภัทรบท, ปุพพภัททะ (ดาวโปฐบท ดาวแรดตัวผู้ หรือ ดาวหัวเนื้อทราย) มี ๒ ดวง ๒๖. อุตรภัทรบท, อุตตรภัทรบท, อุตตรภัททะ (ดาวแรดตัวเมีย หรือ ดาวไม้เท้า) มี ๒ ดวง ๒๗. เรวดี (ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวนาง) มี ๑๖ ดวง.
บังวายก. เสื่อมเสีย, เสียหาย, เช่น ท่านท้าวเทเวศทังหลาย ทำกลบังวาย มิได้พินิตริะตรอง (สามดวง), เสื่อมคลาย เช่น แม้รักด้วยฤทธิ์ประสิทธิมน ตรวิกลกฤติยา พลันหน่ายบังวายสวาทอา ดุรร้าง บ่ รางนาน (กฤษณา).
บิวเรตต์น. หลอดแก้วยาว ปลายล่างมีลูกบิดให้ปิดเปิดได้ ข้างหลอดมีขีดบอกปริมาตรสำหรับวัดของเหลวที่ไขออก ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ทางเคมี.
ปริทัศน์(ปะริ-) น. การวิจารณ์
เป็นลม, เป็นลมเป็นแล้งก. มีอาการวิงเวียนหน้ามืด บางคราวถึงกับหมดสติ.
ฝึกสอนก. ฝึกหัดการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรวิชาการศึกษา
พยานหลักฐานน. ในทางแพ่งหมายถึง สิ่งที่จะนำมาใช้ในการวินิจฉัยข้อเท็จจริง ในทางอาญาหมายถึง สิ่งที่จะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยหรือผู้ต้องหามีความผิดหรือบริสุทธิ์.
พระที่นั่งน. อาคารที่ประทับของพระมหากษัตริย์ซึ่งตามปรกติอยู่ในพระราชวัง เช่น พระที่นั่งบรมพิมาน พระที่นั่งอัมพรสถาน, อาคารที่เสด็จออกมหาสมาคม เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งวโรภาษพิมาน, ที่ประทับซ้อนบนพระแท่นราชบัลลังก์ภายใต้นพปฎลเศวตฉัตร เช่น พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์, ยานที่ประทับในการเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนแห่ทางบก เช่น พระที่นั่งพุดตานทอง พระที่นั่งราเชนทรยาน
ภาษาราชการน. ภาษาที่ใช้สื่อสารในราชการและวิชาการเป็นต้น เช่น จดหมายติดต่อราชการ รายงานการประชุมของหน่วยงาน รายงานการวิจัย รายงานวิชาการสาขาต่าง ๆ, ภาษาระดับทางการ หรือ ภาษากึ่งแบบแผน ก็เรียก
ภาษาศาสตร์น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล.
เภสัชเคมี(เพสัด-) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
period analysisการวิเคราะห์ตามช่วงเวลา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
proximate analysisการวิเคราะห์ขั้นต้น [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
pathological diagnosisการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiologyสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiology, animal; zoodynamics; zoophysiologyสัตวสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiology, hominal; physiology, humanมนุษยสรีรวิทยา, สรีรวิทยามนุษย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiology, human; physiology, hominalมนุษยสรีรวิทยา, สรีรวิทยามนุษย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiology, morbid; pathophysiology; physiology, pathologicพยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiology, pathologic; pathophysiology; physiology, morbidพยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
panel analysisการวิเคราะห์ตามบุคคลในรุ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
pathologic physiology; pathophysiology; physiology, morbidพยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pharmacodiagnosisการวินิจฉัยโรคด้วยยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
psychophysiologyจิตสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pathophysiology; physiology, morbid; physiology, pathologicพยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiognosisการวินิจฉัยโรคจากโฉมหน้าและสีหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiological-สรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiological ageอายุทางสรีรวิทยา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
lexical analysisการวิเคราะห์ศัพท์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
laboratory diagnosisการวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
lobby๑. การวิ่งเต้น๒. ที่นั่งผู้เข้าฟัง (ในสภา) [ ดู galleries ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
lobbyingการวิ่งเต้นหาเสียงในการออกกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
longitudinal migration analysisการวิเคราะห์การย้ายถิ่นตามยาว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
longitudinal analysisการวิเคราะห์ตามยาว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
level of analysisระดับการวิเคราะห์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiological diagnosisการวินิจฉัยทางรังสีวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
real analysisการวิเคราะห์เชิงจริง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
roentgen diagnosisการวินิจฉัยด้วยรังสีเรินต์เกน [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, X-ray ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ratio decidendi (L.)เหตุผลในการวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
research, operationการวิจัยเชิงปฏิบัติการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
symptomatology; semeiology; semiologyอาการวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
sequential analysisการวิเคราะห์โดยลำดับ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
stable population analysisการวิเคราะห์ประชากรคงตัว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
select committee๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการเฉพาะกิจ๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
systems analysisการวิเคราะห์ระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
systems analysisการวิเคราะห์ระบบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
semiology; semeiology; symptomatologyอาการวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
social engineeringการวิศวกรรมทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
semeiology; semiology; symptomatologyอาการวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
systems analysisการวิเคราะห์ระบบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
syntactical analysisการวิเคราะห์เชิงวากยสัมพันธ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
syndrome, organic anxietyกลุ่มอาการวิตกกังวลเหตุพยาธิสภาพทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
snatchingการวิ่งราวทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
serum diagnosis; serodiagnosisการวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
select committee๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
serodiagnosis; diagnosis, serumการวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
self-analysisการวิเคราะห์ตน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
occlusal analysisการวิเคราะห์การสบ (ฟัน) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
operation researchการวิจัยเชิงปฏิบัติการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
objectiveวัตถุวิสัย, ปรวิสัย, ปรนัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
objective correlativeสหสัมพัทธ์ปรวิสัย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Classificationการวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Technical reportรายงานการวิจัย [เทคโนโลยีการศึกษา]
Book reviewบรรณนิทัศน์, การวิจารณ์หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Content analysisการวิเคราะห์เนื้อหา , การวิเคราะห์เนื้อหา, Example: Content analysis หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นวิธีการในทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร โดยการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ปรากฏในตำรา หนังสือ เอกสาร ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ บทสนทนา หรือรูปภาพ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ เนื้อหาเพื่อผลิตสื่อการสอน โดยผู้สอนมักมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับของเนื้อหา และขอบเขตเนื้อหาอย่างละเอียด รวมทั้งทำให้ผู้สอนเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแต่ละช่วงเวลาที่ทำการวิเคราะห์ด้วย และผลจากการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาช่วยให้สามารถแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยและหัวข้อย่อย สำหรับหน่วยในการวิเคราะห์ เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ จึงมักวิเคราะห์ออกมาเป็น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยหัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนแนวคิด จำนวนหน้า เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Journalวารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Research serviceบริการช่วยการวิจัย, Example: <p>บริการช่วยการวิจัย (Research service) เป็นบริการสำคัญหนึ่งของห้องสมุด จัดขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและสมบูรณ์ ซึ่งบรรณารักษ์จะติดตามข่าวสารความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาวิจัยนั้น รวบรวมข้อมูลรายการบรรณานุกรมจากหนังสือ วารสาร เอกสาร ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ โดยรูปแบบการจัดบริการช่วยการวิจัย มีดังนี้ <p>1. บริการสืบค้นข้อมูลในเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย โดยรวบรวมรายการบรรณานุกรมจากทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจัดทำสาระสังเขปประกอบไว้ด้วยเพื่อช่วยประหยัดเวลาในการอ่านของผู้ใช้ <p>2. บริการจัดทำดรรชนี เพื่อเป็นคู่มือในการค้นหาสารสนเทศจากทรัพยากรห้องสมุด เช่น ดรรชนีวารสารที่ห้องสมุดบอกรับ <p>3. บริการจัดทำสาระสังเขป สาระสังเขปแต่ละรายการจะให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมอย่างครบถ้วน ได้แก่ ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ พร้อมเนื้อหาสาระที่สำคัญโดยสรุป ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัดเวลาของผู้ใช้ หากสนใจอ่านฉบับเต็มก็สามารถติดตามหาอ่านได้ง่าย <p>4. บริการแนะนำการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Technical reportรายงานการวิจัย, Example: คำว่า การวิจัย มาจากคำว่า Research มีรากศัพท์มาจาก Re + Search Re แปลว่า ซ้ำ Search แปลว่า ค้น ดังนั้น Research แปลว่า ค้นคว้าซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งน่าจะหมายถึง การค้นหาความรู้ความจริง ค้นแล้วค้นอีก ซึ่งจะทำให้ได้รับรู้ความรู้ ความจริงที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เพราะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการสรุปเป็นความรู้ความจริงนั้น ๆ ความหมายของการวิจัยตามพจนานุกรม การวิจัย คือ การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา (พจนานุกรม. 2525) การวิจัยคือ กระบวนการหาความรู้ความจริงใหม่ ที่มีระบบแบบแผนตามหลักวิชา อาศัยหลักเหตุผล ที่รอบคอบ รัดกุม ละเอียดและเชื่อ ถือได้ และความรู้ความจริงนั้นจะนำไปเป็นหลักการ ทฤษฎี หรือ ข้อปฏิบัติที่ทำให้มนุษย์ได้รับรู้และนำไปใช้เพื่อให้สามารถดำรงชีวิต ด้วยความสงบสุขหรือป้องกันและหลีกเลี่ยงภัยอันตรายต่าง ๆ ได้ ความหมายของรายงานผลการวิจัย หรือเรียกสั้นๆว่า รายงาน หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบ เรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้น คว้าที่เป็นระบบ มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ <p>วัตถุประสงค์ของรายงานผลการวิจัย <p>1. เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่ หรือปรับปรุงข้อมูลเดิม <p>2. เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิด เป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน สละสลวย <p>3. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิงอันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
System analysisการวิเคราะห์ระบบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Classification, Dewey Decimalการวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Classification, Library of Congressระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Large scale simulation researchการวิจัยการจำลองขนาดใหญ่ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Diagnosisการวินิจฉัยโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Science communicationการสื่อสารวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Latent structure analysisการวิเคราะห์กลุ่มแฝง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Logistic regression analysisการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Conjoint analysis (Marketing)การวิเคราะห์คอนจอยท์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Plastic analysis (Engineering)การวิเคราะห์ด้วยวิธีพลาสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Colorimetric analysisการวิเคราะห์โดยการวัดสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Electrochemical analysisการวิเคราะห์ทางเคมีำไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Nearest neighbor analysis (Statistics)การวิเคราะห์เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (สถิติ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Function point analysisการวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Diagnosis, Ultrasonicการวิเคราะห์ด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Williams syndromeกลุ่มอาการวิลเลียมส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Activity analysisการวิเคราะห์กิจกรรม [เศรษฐศาสตร์]
Agricultural researchการวิจัยทางการเกษตร [เศรษฐศาสตร์]
Cost analysisการวิเคราะห์ต้นทุน [เศรษฐศาสตร์]
Cost-benefit analysisการวิเคราะห์ต้นทุนต่อผลตอบแทน [เศรษฐศาสตร์]
Analysisการวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์]
Diversificationการวิเภท [เศรษฐศาสตร์]
Economic analysisการวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์]
Chemical analysisการวิเคราะห์ทางเคมี [เศรษฐศาสตร์]
Comparative analysisการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์]
Economic researchการวิจัยทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์]
Monetary analysisการวิเคราะห์ภาวะการเงิน [เศรษฐศาสตร์]
Discriminant analysisการวิเคราะห์การจำแนกประเภท [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Regression analysisการวิเคราะห์การถดถอย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Remote-sensing imagesการวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Remote sensingการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Error analysis (Mathematics)การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Analysis of varianceการวิเคราะห์ความแปรปรวน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Analysis of covarianceการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Value analysis (Cost control)การวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Structural analysis (Engineering)การวิเคราะห์โครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Cluster analysisการวิเคราะห์จัดกลุ่ม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Complex analysisการวิเคราะห์เชิงซ้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Numerical analysisการวิเคราะห์เชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Quantitative analysisการวิเคราะห์เชิงปริมาณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Instrumental analysisการวิเคราะห์โดยอุปกรณ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Factor analysisการวิเคราะห์ตัวประกอบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Principle components analysisการวิเคราะห์ตัวประกอบสำคัญ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อาคารวิจัย[ākhān wijai] (n, exp) EN: research center  FR: centre de recherches [ m ] ; unité de recherches [ f ]
อักขรวิธี[akkharawithī] (n) EN: treatise on spelling and phonetics ; orthography
อาณาจักรวิทยาศาสตร์[ānājak witthayāsāt] (n, exp) EN: domain of science ; field of science  FR: domaine de la science [ m ]
ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์[baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis
ดำเนินการวิจัย[damnoēnkān wijai] (v, exp) EN: conduct a research
กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา[kāiyawiphāksāt lae sarīrawitthayā] (n, exp) EN: anatomy and physiology
การวิจัย[kān wijai] (n) EN: research  FR: étude [ f ]
การวิจัยเชิงปริมาณ[kān wijai choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative research
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ[kān wijai choēng patibatkān] (n, exp) EN: action research ;
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม[kān wijai choēng patibatkān baēp mī suanruam] (n, exp) EN: Participatory Action Research (PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา[kān wijai choēng patibatkān thāng kānseuksā] (n, exp) EN: action research in education
การวิจัยเชิงประยุกต์[kān wijai choēng prayuk] (n, exp) EN: applied research  FR: recherche appliquée [ f ]
การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์[kān wijai choēng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific research  FR: recherche scientifique [ f ]
การวิจัยขั้นพื้นฐาน[kān wijai khanpheūnthān] (n, exp) EN: basic research  FR: recherche fondamentale [ f ]
การวิจัยและพัฒนา[kān wijai lae phatthanā] (n, exp) EN: Research and Development ; R&D  FR: recherche et développement ; R&D
การวิจัยตลาด[kān wijai talāt] (n, exp) EN: market research
การวิจัยทางสังคมศาสตร์[kān wijai thāng sangkhomsāt] (n, exp) EN: social science research
การวิจัยวัฒนธรรม[kān wijai watthanatham] (n, exp) EN: cultural research
การวิจารณ์[kān wijān] (n) EN: review  FR: critique [ f ]
การวิจารณ์หนังสือ[kān wijān nangseū] (n, exp) EN: book review  FR: critique littéraire [ f ]
การวิเคราะห์[kān wikhrǿ] (n) EN: analysis  FR: analyse [ f ]
การวิเคราะห์เชิงเหตุผล[kān wikhrǿ choēng hētphon] (n, exp) EN: causal analysis
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ[kān wikhrǿ choēng khunnaphāp] (n, exp) EN: qualitative analysis  FR: analyse qualitative [ f ]
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ[kān wikhrǿ choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative analysis  FR: analyse quantitative [ f ]
การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์[kān wikhrǿ khā sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ[kān wikhrǿ khunnaphāp nām] (n, exp) FR: analyse de la qualité de l'eau [ f ]
การวิเคราะห์ความแปรปรวน[kān wikhrǿ khwām praēprūan] (n, exp) EN: analysis of variance (ANOVA)
การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม[kān wikhrǿ khwām praēprūan ruam] (n, exp) EN: analysis of covariance (ANCOVA)
การวิเคราะห์กระบวนการ[kān wikhrǿ krabūankān] (n, exp) EN: process analysis
การวิเคราะห์เนื้อหา[kān wikhrǿ neūahā] (n, exp) EN: content analysis
การวิเคราะห์งาน[kān wikhrǿ ngān] (n, exp) EN: job analysis
การวิเคราะห์ปัจจัย[kān wikhrǿ patjai] (n, exp) EN: factor analysis
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน[kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis
การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค[kān wikhrǿ patjai thāng thēknik] (n, exp) EN: technical analysis
การวิเคราะห์ภายใน[kān wikhrǿ phāinai] (n, exp) EN: internal analysis
การวิเคราะห์ภายนอก[kān wikhrǿ phāinøk] (n, exp) EN: external analysis
การวิเคราะห์พฤติกรรม[kān wikhrǿ phreuttikam] (n, exp) EN: behavior analysis  FR: analyse du comportement [ f ]
การวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์[kān wikhrǿ phreuttikam manut] (n, exp) FR: étude du comportement humain [ f ]
การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค[kān wikhrǿ phreuttikam phūbøriphōk] (n, exp) FR: analyse du comportement du consommateur [ f ]
การวิเคราะห์ระบบข้อความ[kān wikhrǿ rabop] (n, exp) EN: system analysis
การวิเคราะห์ระบบข้อความ[kān wikhrǿ rabop khøkhwām] (n, exp) EN: discourse analysis
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์[kān wikhrǿ sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย[kān wikhrǿ sahasamphan yāng-ngāi] (n, exp) EN: simple correlation analysys
การวิเคราะห์สัมพันธสาร[kān wikhrǿ samphanthasān] (n, exp) EN: discourse analysis
การวิเคราะห์ศัพท์[kān wikhrǿ sap] (n, exp) EN: lexical analysis
การวิเคราะห์เศรษฐกิจ[kān wikhrǿ sētthakit] (n, exp) EN: economic analysis  FR: analyse économique [ f ]
การวิเคราะห์ตลาด[kān wikhrǿ talāt] (n, exp) EN: market analysis  FR: analyse de marché [ f ]
การวิเคราะห์ต้นทุน[kān wikhrǿ tonthun] (n, exp) EN: cost analysis  FR: analyse du coût [ f ]
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์[kān wikhrǿ tonthun lae phonprayōt] (n, exp) EN: cost-benefit analysis  FR: analyse coût-bénéfice [ f ] ; analyse coût-avantage [ f ]
การวิ่ง[kān wing] (n) EN: running  FR: course (à pied) [ f ] ; jogging [ m ]

English-Thai: Longdo Dictionary
marathon(n, vt) การวิ่งแข่งมาราธอน (วิ่งนาน ต้องใช้ความอดทน)
physiology(n) ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา
push-up(n) |Amer| การวิดพื้น
haccp(abbrev) การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม, มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร ย่อจาก hazard analysis critical control point
anthropogenic(adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องการกำเนิดและการวิวัฒนาการของมนุษย์, ที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ เช่น The anthropogenic contribution to greenhouse gas has been established as an infinitesimally small amount., See also: anthropogenetic
numbers(n) หนังสือกันดารวิถี หนังสือเล่มที่ 4 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament
hyperventilate(vi) หายใจลึก ยาว และเร็วกว่าปกติ บางครั้งทำให้เกิดการวิงเวียนศีรษะ
data science(n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
data analytics(n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
analysis(n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown
analysis(n) จิตวิเคราะห์, See also: การวิเคราะห์ทางจิตใจ, Syn. psychotherapy, depth psychiatry
analysis(n) ผลการวิเคราะห์
analytic(adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์, See also: ซึ่งใช้การวิเคราะห์, Syn. analytical, systematic
anatomy(n) การวิเคราะห์อย่างละเอียด
animadversion(n) การวิพากษ์วิจารณ์, Syn. blame, comment
ARS(n) การวิจัยทางการเกษตร
assay(n) การวิเคราะห์ทางเคมี
barrage(n) การโต้แย้ง, See also: การวิจารณ์
brawl(n) การวิวาท, See also: การทะเลาะเบาะแว้ง, การทุ่มเถียง, การทะเลาะวิวาท, Syn. fight
canter(n) การวิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง)
canter(vt) วิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง)
canter(vi) วิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง), Syn. jog, trot
condemnation(n) การวิจารณ์อย่างแรง, Syn. censure, denunciation
critical(adj) เกี่ยวกับการวิจารณ์
criticism(n) การวิจารณ์, Syn. caviling, carping
dash(n) การวิ่งแข่งระยะสั้น (ทางกีฬา), See also: การแข่งขันวิ่ง, Syn. race, sprint
debate(n) การพิจารณา, See also: การใช้ดุลยพินิจ, การไตร่ตรอง, การใคร่ครวญ, การวินิจฉัย, Syn. cogitation, consideration, deliberation, meditation, reflection
diagnosis(n) การวินิจฉัยโรค, See also: การหาสาเหตุ, Syn. prognosis, pathology, analysis, determination
diagnostic(adj) ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยโรค, See also: ซึ่งใช้ในการหาสาเหตุ, Syn. demonstrative, distinquishing
disparagement(n) การดูถูกดูหมิ่น, See also: การวิพากษ์วิจารณ์ในทางลบ, Syn. depreciation, detraction
efferent(adj) ซึ่งสั่งการจากอวัยวะส่วนกลาง (โดยเฉพาะสมองและไขสันหลัง) (ทางสรีรวิทยา), See also: ซึ่งออกจากจุดศูนย์กลาง, Ant. afferent
electrophoresis(n) การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้น, See also: วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข
entreaty(n) การขอร้อง, See also: การวิงวอน, การออดอ้อน, Syn. plea, request, supplication
estimation(n) การประเมิน, See also: การวินิจฉัย, การอนุมาน, Syn. assessment, evaluation, judgement
fag(n) เด็กรับใช้, See also: เด็กนักเรียนที่มีงานพิเศษคือ การวิ่งซื้อของให้เจ้านาย, Syn. errand boy
going-over(n) การตรวจสอบ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การสืบสวน, การวิเคราะห์, Syn. inspection, examination, overhaul
home run(n) การตีลูกที่ทำให้ผู้ตีสามารถทำแต้มโดยการวิ่งได้ครบรอบทั้ง4 เบสในกีฬาเบสบอล
write in for(idm) เขียนไปขอ (จากรายการวิทยุ, โฆษณา)
lobby through(phrv) ได้รับอนุมัติกฎหมายโดยการวิ่งเต้น (ทางการเมือง), See also: ล้อบบี้ผ่าน / ทาง
jog(n) การวิ่งเหยาะๆ, See also: การวิ่งช้าๆ
laboratory(n) ห้องปฏิบัติการ, See also: ห้องทดลอง, ห้องปฏิบัติการวิจัย, Syn. lab, research lab, science lab
lope(n) การวิ่งเร็วอย่างสบายๆ
middle-distance(adj) เกี่ยวกับการวิ่งแข่งระยะกลาง
misdiagnosis(n) การวินิจฉัยผิด
pace(n) อัตราการเดิน, See also: อัตราการวิ่ง, อัตราการเคลื่อนไหว, Syn. speed
phylogenesis(n) การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
physiology(n) สรีรศาสตร์, See also: สรีรวิทยา
plea(n) การขอร้อง, See also: การวิงวอน, Syn. appeal, request
pleadings(n) การแก้ต่าง, See also: การแก้ตัว, การแก้ฟ้อง, การขอร้อง, การวิงวอน
press-up(n) การวิดพื้น, Syn. push-up
programming(n) ตารางรายการวิทยุหรือโทรทัศน์, See also: การจัดตารางรายการวิทยุหรือโทรทัศน์, Syn. broadcasting, programing
project(n) แผนงาน, See also: โครงการ, โครงการวิจัย, Syn. design, scheme, plan
qualitative analysis(n) การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
qualmish(adj) ที่มีอาการวิงเวียน
quantitative analysis(n) การวิเคราะห์หาปริมาณหรือจำนวณ
quarrel(n) การทะเลาะ, See also: การวิวาท, Syn. bickering, dispute
relay(n) การวิ่งผลัด, Syn. team race
remark(n) การให้ข้อคิดเห็น, See also: คำติชม, การวิพากษ์วิจารณ์
request(n) เพลงที่ถูกขอตามรายการวิทยุหรือในสถานเริงรมย์ (เช่น ไนต์คลับ, บาร์)

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
accidence(แอค' ซิเดินซฺ) n. อักขรวิธี, การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของรูปคำ, Syn. rudiment
algorithm(แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้
analysis(อะแนล' ลิซิส) n. การวิเคราะห์, การแยกธาตุ, การจำแนกแยกแยะ, การวิเคราะห์, การวิภาค, Syn. anatomization, dissection
analyst(แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้วิเคราะห์, นักวิเคราะห์, จิตแพทย์ผู้ทำการวิเคราะห์
analytic(แอนนะลิท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการวิเคราะห์, เกี่ยวกับการแยกธาตุ, เกี่ยวกับการจำแนกแยกแยะ., Syn. logical
anchormanหัวเรืยวหัวแรง, หลักสำคัญ, นักกีฬาหลักคนสุดท้าย (เช่นในการวิ่งผลัด)
animadversion(แอนนิแมดเวอ' เชิน) n. การตำหนิ, การวิจารณ์, คำตำหนิ, คำวิจารณ์ (censure)
appreciation(อะพรี'ชีเอ'เชิน) n. ความรู้คุณค่า, ความกตัญญู, การประเมินค่า, การตระหนัก, การหยั่งรู้, การเพิ่มขึ้นของราคา, การวิจารณ์, บทวิจารณ์, Syn. esteem, acknowledgment, advance, Ant. disregard, depreciation
arpanet(อาร์ปาเน็ต) ARPA นั้นย่อมาจาก Advanced Research Project Agency เป็นชื่อหน่วยงานที่ทำการวิจัยและทดลองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบัน เครือข่ายอาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (Internet)
assay(อะเซ') vt. ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์, ประเมินค่า, พยายาม. -n. การหาปริมาณของโลหะ (โดยเฉพาะเงินหรือทอง) ในแร่หรือโลหะผสม, สารที่ได้รับวิเคราะห์, รายงานการวิเคราะห์, ความพยายาม -assayer n., Syn. test, analyze, examination
assertion(อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement
autocriticism(ออโทคริท'ทิซิสซึม) n. การวิจารณ์ตัวเอง, การสำเร็จตัวเอง
batonn. ตะบอง, กระบอง, ไม้ของผู้นำจังหวะดนตรี, คทา, ไม้ต่อแรงของการวิ่งผลัด
breakdown(เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว, การล้มเจ็บ, การไม่สบาย, การสลายตัว, การวิเคราะห์, การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง
buret(บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี
burette(บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี
bywayn. ถนนส่วนตัว, ถนนลี้ภัย, ถนนสายเปลี่ยว, การวิจัยที่ปิดบัง, ความพยายามที่ปิดบัง
canter(แคน'เทอะ) { cantered, cantering, canters } n. ชายพเนจร, ผู้ที่ปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, การวิ่งเหยาะ ๆ ของม้า vt., vi. วิ่งเหยาะ ๆ
catacrotism(คะแท็ค'โครทิสซึม) n. ชีพจรวิกล
computer specialistผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่มีความรู้พิเศษในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ อาจหมายถึง ระบบตัวเครื่อง การเขียนโปรแกรม หรือการวิเคระห์ระบบ ก็ได้
critical(คริท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับการวิจารณ์, เกี่ยวกับการวิเคราะห์, ซึ่งติเตียน, เกี่ยวกับความเป็นความตาย, เกี่ยวกับวิกฤติกาล, อันตราย, เกี่ยวกับจุดเปลี่ยนแปลงหรือจุดวิกฤตบนเส้นโค้ง, See also: criticalness n. ดูcritical, Syn. censor
criticism(คริท'ทิซิสซึม) n. การวิจารณ์, การติเตียน, การจับผิด, บทวิจารณ์, วิธีการวิจารณ์
critique(คริทิด') { critiqued, critiquing, critiques } n. บทวิจารณ์, บทวิจารณ์สั้น ๆ , วิธีการวิจารณ์. vt. วิจารณ์, วิเคราะห์
cronyism(โคร้ว หนี่ ยิ เสิ่ม) n. การวิจารณ์, การติเตียน, การจับผิด, บทวิจารณ์, วิธีการวิจารณ์
cursorial(เคอโซ'เรียล) adj. เกี่ยวกับการวิ่ง
darpanet(ดาร์พาเน็ต) ย่อมาจาก Defense Advanced Research Projects Agency Network (แปลว่า เครือข่ายสำนักงานโครงการวิจัยขั้นสูงของกระทรวงกลาโหม) เป็นชื่อหน่วยงานที่เป็นเครือข่ายสำนักงานที่ทำโครงการวิจัยขั้นสูงทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบันเครือข่ายดาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (internet) ดู internet ประกอบ
deejay(ดี'เจ) n. โฆษกรายการเพลงจากแผ่นเสียงของรายการวิทยุกระจายเสียง, Syn. disk jockey, DJ
degeneracy(ดิเจน'เนอระซี) n. ความเสื่อม, การวิปริต
diagnosis(ไดแอกโน'ซิส) n. การวินิจฉัย, การตรวจโรค,
diagnostic(ไดแอกนอส'ทิค) adj. เกี่ยวกับการวินิจฉัย
diagnostic programชุดคำสั่งวินิจฉัยหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนประกอบใด ๆ ของเครื่อง หรือวินิจฉัยข้อผิดพลาดของการลงรหัส
discrimination(ดิสคริมมะเน'เชิน) n. การแยกแยะ, การแบ่งแยก, การเลือกที่รักมักที่ชัง, การวินิจฉัย., Syn. perception, bias, Ant. equity, impartiality
electronicsn. วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้อุปกรณ์และระบบที่เกี่ยวกับการวิ่งของอิเล็กตรอนในสูญญากาศ หรือในสื่อที่เป็นแก๊ส
emergence(อิเมอ'เจินซฺ) n. การโผล่ออกมา, การปรากฎออกมา, การวิวัฒนาการ
entreaty(เอนทรี'ที่) n. การขอร้อง, การวิงวอน, คำขอร้อง, คำวิงวอน, คำอ้อนวอน
estimation(เอสทิเม'เชิน) n. การประมาณ, การประเมิน, การวินิจฉัย, ความคิดเห็น, ความนับถือ, ความเคารพ, Syn. estimate
exploration(เอคซฺพละเร'เชิน) n. การสำรวจค้น, การสำรวจ, การตรวจ, การวินิจฉัย, สอบสวน
field workn. การวิจัยค้นคว้าหรือสำรวจในสถานที่จริง., See also: fieldworker n.
flak(แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน., Syn. flack
gait(เกท) { gaited, gaiting, gaits } n. ท่าทางการเดิน, ท่าทางการย่างก้าว, ท่าทางการวิ่ง, ความเร็วของการเคลื่อนที่ดังกล่าว. vt. สอนวิธีการย่างเท้าของม้า, Syn. bearing
gaited(เก'ทิด) adj. ซึ่งมีท่าทาง เฉพาะของการเดิน (การย่างเท้าและการวิ่ง)
gallop(แกล'ลัพ) vi. ความบ้า, วิ่งควบ, วิ่งกระโดดอย่างรวดเร็วเหมือนม้า. vt. ทำให้ม้าวิ่งควบ. n. ท่าวิ่งควบของม้า ยกขาทั้ง4ขึ้นควบแต่ละครั้ง) , การวิ่งในท่าดังกล่าว, การไปอย่างรวดเร็ว., See also: galloper n., Syn. trot, run
home run(เบสบอล) n. การตีลูกที่ทำให้ผู้ตีสามารถทำแต้มโดยการวิ่งรอบสนามเล่น, ขากลับ, การวิ่งตอนสุดท้าย
hook(ฮุค) n. ตะขอ, ขอ, ตะขอแขวน, เบ็ดปลา, เคียว, สับ, กับดัก, หลุมพราง, หญิงโสเภณี, หมัดสอยดาว, คุ้งแม่น้ำ -Phr. (by hook or by crook โดยวิธีการวิธีหนึ่ง) vt. เกี่ยวติด, ใช้ตะขอเกี่ยว, ใช้เบ็ดตก, ล่อ, หลอกลวง, ล้วงกระเป๋า, ขโมย, ต่อยหมัดตวัดหรือสอยดาว. vi. ยึดติดหรือเกี่ยวโดย
image processingการประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น
information technologyเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
inquisition(อินควิซิช'เชิน) n. การสอบสวนอย่างขู่เข็ญ, การสืบสวน, การวินิฉัย, คณะผู้ทำการสอบสวน, ศาลพระสเปนสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, Syn. investigation
it(อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
knock(น็อค) { knocked, knocking, knocks } vi. เคาะ, ตี, ทุบ, กระแทก, ชก, ต่อย, ชน n. การเคาะ, เสียงเคาะ, การวิจารณ์ในทางที่ไม่ดี, เสียงเครื่องยนต์ที่ไม่ปกติ -Phr. (knock around (about) เถลไถล ปล่อยเวลาให้ผ่านไปโดยเปล่า, ประโยชน์) . -Id. (knock it off หยุด) . -Phr. (knock out
lap(แลพ) { lapped, lapping, laps } n. หน้าตัก, ตัก, ที่เป็นแอ่ง, ชายเสื้อ, กระพุ้งผ้า, การควบคุม, การรับผิดชอบ, การพับ, การพัน, การคาด, การคาด, การห่อ, การวางซ้อน, การวิ่งรอบ, ส่วนที่เกย v. พับ, พัน, คาด, ห่อ, วางซ้อน, วิ่งแซงหน้าไปหนึ่งรอบ, ก่อเชื่อม, ทับเกย, วิ่งรอบ, เลย. abbr. laparotomy, leucine aminopeptidase, left atrail presaure, leukocyte alkaline phosphatase

English-Thai: Nontri Dictionary
acquaintance(n) การวิสาสะ, ความสนิทสนม, ความเป็นกันเอง, ความคุ้นเคย
altercation(n) การวิวาท, การทะเลาะ
analysis(n) วิภาค, การแยกแยะ, การวิเคราะห์
analytic(adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์
analytical(adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์
animadversion(n) การวิจารณ์, การติเตียน, การตำหนิ
assay(n) การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์
brawl(n) การทะเลาะกัน, การมีปากเสียง, การวิวาท
broadside(n) การวิจารณ์อย่างรุนแรง, กระดาษพิมพ์หน้าเดียว
bustle(n) การวิ่งเต้น, การเป็นธุระให้, ความกระวีกระวาด, ความวุ่นวาย
career(n) อาชีพ, งานการ, การวิ่งเต้น
censure(n) การตำหนิ, การด่าว่า, การติเตียน, การวิจารณ์
construe(n) การตีความ, การวิเคราะห์ประโยค, การอนุมาน, การอธิบาย
critical(adj) วิกฤติอันตราย, เกี่ยวกับการวิจารณ์
criticism(n) การวิจารณ์, การวิเคราะห์, การติเตียน, บทวิจารณ์
critique(n) บทวิจารณ์, คำวิจารณ์, ศิลปะแห่งการวิจารณ์
delineation(n) การวาดภาพ, การวาดเค้าโครง, การวาดลายเส้น, การวิเคราะห์, การพรรณนา
diagnosis(n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค
diagnostic(adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์โรค, เกี่ยวกับการตรวจโรค
dissection(n) การผ่าตัด, การชำแหละ, การผ่าศพ, การวิเคราะห์, การจำแนก
dissension(n) การทะเลาะ, การวิวาท, ความขัดแย้ง, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน
electrolysis(n) การวิเคราะห์สารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า
entreaty(n) การอ้อนวอน, การวิงวอน, การขอร้อง, การร้องขอ, คำขอร้อง
estimation(n) การประมาณ, การประเมิน, การตีราคา, ความคิดเห็น, การวินิจฉัย
exploration(n) การสำรวจ, การตรวจค้น, การสอบสวน, การวินิจฉัย
faint(n) อาการเป็นลม, อาการวิงเวียน, อาการหน้ามืด, ความอ่อนแรง
identification(n) การชันสูตร, การวินิจฉัย, การชี้ตัว, การแยกแยะ
inference(n) การลงความเห็น, การวินิจฉัย, การสรุป, การอนุมาน, การแสดง
marathon(n) การวิ่งทน, การวิ่งมาราธอน
marriage(n) การสมรส, การแต่งงาน, การวิวาห์
matrimony(n) การแต่งงาน, การสมรส, การวิวาห์
miscalculation(n) การคำนวณผิด, การคาดผิด, การกะผิด, การวินิจฉัยผิด
physiological(adj) เกี่ยวกับสรีรวิทยา
physiologist(n) นักสรีรศาสตร์, นักสรีรวิทยา
physiology(n) สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา
plea(n) คำขอร้อง, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง, การวิงวอน, การอ้อนวอน
quarrel(n) ข้อพิพาท, การทะเลาะ, การวิวาท, เรื่องวิวาท
race(n) การแข่งขัน, การวิ่งแข่ง, ชนชาติ, เชื้อสาย
racing(n) การแข่งรถ, การแข่งความเร็ว, การวิ่งแข่ง, การแข่งม้า
rampage(n) การอาละวาด, ความวุ่นวาย, ความโมโห, การวิ่งพล่าน
relay(n) การสืบทอด, กองหนุน, การวิ่งผลัด, เครื่องถ่ายทอด
research(n) การวิจัย, การค้นคว้า, การสำรวจ, การวินิจฉัย
review(n) การวิจารณ์หนังสือ, การสวนสนาม, บทวิจารณ์, การทบทวน
run(n) ทางน้ำไหล, การวิ่ง, การเดินเครื่อง, ทิศทาง, เที่ยวเรือ
running(n) การแข่งขัน, การวิ่ง, การวิ่งเต้น, การเคลื่อนที่, การจัดการ, ความต่อเนื่อง
scamper(n) การวิ่งเล่น, การวิ่งหนี
snatch(n) การฉก, การฉวย, การตอด, การวิ่งราว, การฉุดคร่า, การขโมย
SOAP soap opera(n) ละครโทรทัศน์, ละครวิทยุ
solicitation(n) การวิงวอน, การขอร้อง, การเชื้อเชิญ, การชักชวน, การจูงใจ
stampede(n) การวิ่งอลหม่าน, การตื่นตูม, การแตกตื่น, การแตกหนี, การหลั่งไหล

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
analyzed(vt) กระบวนการวิเคราะห์
chromatograph(n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม
convergent evolution(n) การวิวัฒนาการแบบเข้าหากัน
disease(n) การตอบสนองทางพยาธิสรีรวิทยาต่อปัจจัยภายนอก หรือภายใน
Diskriminanzanalyse { f }การวิเคราะห์จำแนกประเภท
dynamicจรวิสัย, See also: A. static
hawthorne effect[ฮาวธอร์น] (n) 1. การบิดเบือนผลการวิจัยเนื่องจากการตอบแบบสอบถาม -> A distortion of research results caused by the response of subjects to the special attention they receive from researchers [ แปลจาก www.onelook.com ] 2. The effect (usually positive or beneficial) of being under study, upon the persons being studied; their knowledge of the study often influences their behaviour. [ www.onelook.com ]
Hepatobiliary scintigraphy (HIDA)เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี
rinth[รินธฺ] (n) การวิ่ง
S.W.O.Tการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true
spectroscopy(n) การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สเปกตรัม
swot(abbrev) SWOT คือ รูปแบบการวิเคราะห์ทางการตลาด เกิดจาก Strengths, Weaknesses, Opportunities และ Threats, Syn. SWOT Analysis
swotการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
五書[ごしょ, gosho] (n) หนังสือเบญจบรรณ เป็นหนังสือห้าเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(ภาคพันธสัญญาเก่า) ซึ่งประกอบไปด้วย หนังสือปฐมกาล หนังสืออพยพ หนังสือเลวีนิติ หนังสือกันดารวิถี และหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ, See also: R. Old Testament, Genesis, Exodus, Leviticus, Numbers, Deuteronomy

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
走り[はしり, hashiri] การวิ่ง , ผลไม้ผักปลา , ต้นฤดู , จุดเริ่มปรากฏการณ์
解析[かいせき, kaiseki] (n) การวิเคราะห์
解析する[かいせきする, kaisekisuru] (vt) การวิเคราะห์
賛否両論[さんぴりょうろん, sanpiryouron] (n) การวิพากวิจารณ์ที่แยกสองฝ่ายทั้งดีและไม่ดี
研究発表[けんきゅうはっぴょう, kenkyuuhappyou] (n) การรายงานผลการวิจัย
損益分岐点分析[そんえきぶんきてんぶんせき, son'ekibunkitenbunseki] การวิเคาระห์จุดคุ้มทุน, See also: R. break-even analysis
費用便益分析[ひようべんえきぶんせき, hiyouben'ekibunseki] การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์, See also: R. cost-benefit analysis

German-Thai: Longdo Dictionary
schwindlig(adj) วิงเวียน, คลื่นไส้ เช่น Mir ist schwindlig. ฉันมีอาการวิงเวียน, See also: schwindelig
schwindelig(adj) วิงเวียน, คลื่นไส้ เช่น Mir ist schwindelig. ฉันมีอาการวิงเวียน, See also: schwindlig
Marathonlauf(n) |der, nur Sg.| การวิ่งมาราธอน
Physiologie(n) |die, nur Sg.| ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา
physiologisch(adj, adv) เกี่ยวกับสรีรศาสตร์, เกี่ยวกับสรีรวิทยา

French-Thai: Longdo Dictionary
course(n) n.f. การวิ่ง, การวิ่งแข่งขัน(กีฬา), การแข่งม้า (หรือสัตว์ชนิดอื่น เช่น กระต่าย)
recherche(n) |f| งานวิจัย, การวิจัย, Syn. étude

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top