ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พรรค, -พรรค- |
政権交代 | [せいけんこうたい] การเปลี่ยนพรรคการเมืองที่มาเป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล(ดังนั้นหากเป็นแค่การเปลี่ยนพรรคร่วมรัฐบาล โดยที่พรรคที่เป็นผู้นำยังคงเป็นพรรคเดิม ก็ยังไม่สามารถใช้คำนี้ได้) |
|
| พรรค | (n) party, See also: group, Syn. พวก, คณะ, พรรคพวก, Example: พวกพรรคฝ่ายค้านตั้งกระทู้ถามรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องราคาสินค้าอุปโภคบริโภค, Count Unit: พรรค, Thai Definition: หมู่คนที่เข้ารวมกันเป็นพวกเป็นฝ่าย เช่น พรรคการเมือง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | พรรค์ | (n) sort, See also: kind, type, Syn. ชนิด, ประเภท, Example: ยายสงสารก็แต่ลูกสาวกับหลานที่ต้องมาเจอพ่อพรรค์อย่างนี้ แต่มันช่วยไม่ได้จริงๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | พลพรรค | (n) partisan, See also: friends, company, party, gang, associate, followers, Syn. พรรคพวก, พวกพ้อง, Example: พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นำพลพรรคความหวังใหม่ลงใต้ เจาะฐานเสียงพรรคประชาธิปัตย์, Count Unit: คน | พรรคพวก | (n) partisan, See also: followers, friends, Syn. พวก, พวกพ้อง, Example: เขาได้รับเลือกเป็นผู้แทนเพราะเขามีพรรคพวกมากในเขตที่เขาลงสมัคร, Count Unit: คน, Thai Definition: พวกเดียวกัน, กลุ่มเดียวกัน | ลูกพรรค | (n) member of a political party, See also: party member, member, Syn. สมาชิกพรรค, Ant. หัวหน้าพรรค, Example: พรรคแกนนำของรัฐบาลมีลูกพรรค 100 กว่าคน, Count Unit: คน, Thai Definition: สมาชิกของพรรคการเมือง ยกเว้นหัวหน้าพรรค | พรรคนาวิน | (n) marine, See also: naval officers, Example: พรรคนาวินกำลังประชุมแผนการรบ, Thai Definition: เหล่าทหารเรือที่ประจำการพลรบ | นโยบายพรรค | (n) party policy, Example: ประชาชนสนใจนโยบายพรรคมากกว่าไม่ใช่การซื้อเสียงของพรรค, Count Unit: นโยบาย | หัวหน้าพรรค | (n) party leader, Example: พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ หัวหน้าพรรคชาติพัฒนาประกาศวางมือทางการเมืองในวันที่ 1 มกราคม 2540, Thai Definition: หัวหน้าพรรคการเมือง | พรรคการเมือง | (n) political party, Example: ในสภาผู้แทนราษฎรขณะนี้มี ส.ส. รวมทั้งสิ้น 357 คน มาจากพรรคการเมือง 12 พรรคด้วยกัน, Count Unit: พรรค, Thai Definition: กลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ร่วมกันจัดตั้งและจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย | พรรคฝ่ายค้าน | (n) opposition party, Ant. พรรครัฐบาล, Example: พรรคฝ่ายค้านเคลื่อนไหววิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลอย่างรุนแรงในเรื่องของความล้มเหลวทางเศรษฐกิจ, Count Unit: พรรค, Thai Definition: พรรคการเมืองที่ไม่ได้เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาลและไม่ได้เป็นพรรคการเมืองที่เข้าร่วมรัฐบาล | สมัครพรรคพวก | (n) followers, See also: adherents, gang, partisans, clans, clique, friends, Syn. พรรคพวก, Example: หากใครเป็นคนสำคัญในท้องถิ่นที่มีบริวารและสมัครพรรคพวกมาก ก็มักมีผู้คนเข้าไปขอความช่วยเหลือ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เต็มใจเข้าพวกด้วย | พรรคสังคมนิยม | (n) socialist party, Example: ลักษณะเด่นของระบบพรรคการเมืองในประเทศญี่ปุ่นคือการแข่งขันระหว่างพรรคเสรีประชาธิปไตยกับพรรคสังคมนิยม, Count Unit: พรรค, Thai Definition: พรรคการเมืองที่มีนโยบายว่าทรัพย์ทั้งหลายควรเป็นของรัฐ | พรรคนาวิกโยธิน | (n) marines, Example: ผู้บัญชาการกองทัพเรียกพรรคนาวิกโยธินประชุมราชการลับ, Thai Definition: เหล่าทหารเรือที่ประจำการพลรบฝ่ายบก | พรรคร่วมรัฐบาล | (n) coalition government parties, Ant. พรรคฝ่ายค้าน, Example: พรรคกิจสังคมไม่ขอร่วมเป็นพรรคร่วมรัฐบาลกับพรรคประชาธิปัตย์, Thai Definition: พรรคการเมืองที่ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล หรือพรรคการเมืองที่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นรัฐบาล เพื่อที่จะทำให้เสียงของฝ่ายรัฐบาลกลายเป็นเสียงข้างมาก พอที่จะทำให้การดำเนินงานในรัฐสภา มีเสถียรภาพ และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น | เล่นพรรคเล่นพวก | (v) play favoritism, See also: favour one's friends, Syn. เล่นพวก, เล่นพวกเล่นพ้อง, Example: นักการเมืองคนนี้เล่นพรรคเล่นพวกทำให้เขามีพวกพ้องมากมาย, Thai Definition: ถือเอาพรรคพวกของตนเป็นใหญ่และสำคัญ | การเล่นพรรคเล่นพวก | (n) favoritism, Syn. การเล่นพวกเล่นพ้อง, Example: การเล่นพรรคเล่นพวกในการทำงานทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่คนในสังคม |
| คนพรรค์นั้น | น. คนพวกนั้น (มักใช้ในทางดูหมิ่นดูแคลน). | พรรค, พรรค-, พรรค์ | (พัก, พักคะ-, พัน) น. หมู่คนที่เข้ารวมกันเป็นพวกเป็นฝ่าย เช่น พรรคการเมือง, พวก เช่น คนพรรค์นั้น. | พรรคกลิน | (พักกะลิน) น. เหล่าของทหารเรือที่ทำหน้าที่ดูแลรักษาซ่อมบำรุงเครื่องยนต์กลไกประเภทต่าง ๆ ที่มีใช้ในกองทัพเรือ. | พรรคการเมือง | น. กลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ร่วมกันจัดตั้งและจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย. | พรรคนาวิกโยธิน | (พักนาวิกกะ-) น. เหล่าของทหารเรือที่ทำหน้าที่รบบนบกยกพลขึ้นบกเพื่อยึดหัวหาดหรือยึดพื้นที่. | พรรคนาวิน | (พัก-) น. เหล่าของทหารเรือที่ทำหน้าที่ทางเรือ และสนับสนุนการยุทธ์ทางเรือ. | พรรคพวก | น. พวกเดียวกัน. | พรรคานต์ | (พักคาน) น. ตัวอักษรที่สุดวรรค คือ ง ญ ณ น ม. | ลูกพรรค | น. สมาชิกที่มิได้เป็นหัวหน้าของพรรคการเมือง. | เล่นพรรคเล่นพวก, เล่นพวก, เล่นพวกเล่นพ้อง | ก. ถือพวกพ้องเป็นใหญ่หรือสำคัญ. | สมัครพรรคพวก | น. ผู้เข้าร่วมเป็นพวกด้วย เช่น เขาเป็นคนกว้างขวาง มีสมัครพรรคพวกมาก. | กระแบก | น. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็เรียก. | กุนซือ | น. ที่ปรึกษา เช่น พรรคนี้มีกุนซือเก่ง ๆ หลายคน ใครนะเป็นกุนซือให้นายกยุบสภา. | แกนนำ | ผู้ที่เป็นหลักในการเจรจาเพื่อดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พรรคที่ได้คะแนนเสียงข้างมากเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล. | เข้า ๑ | รวม เช่น เข้าหุ้น เข้าทุน, รวมเป็นพวก เช่น เข้าพรรค เข้าแถว เข้าข้าง | โฆษก | ผู้แถลงข่าวแทน เช่น โฆษกพรรคการเมือง. | จดูร- | (จะดูระ-) ว. สี่ เช่น จดูรพรรค ว่า รวม ๔ อย่าง (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | โจมตี | ก. ใช้กำลังบุกเข้าตี เช่น โจมตีข้าศึก, โดยปริยายหมายความว่า พูดหรือเขียนว่าหรือกล่าวหาผู้อื่นอย่างรุนแรง เช่น ๒ พรรคการเมืองโจมตีกันและกัน หนังสือพิมพ์โจมตีผู้บริหารที่ทุจริต. | ชรไม | (ชะระ-) ว. ชไม, ทั้งคู่, เช่น พรรคหนึ่งนกชื่อชิวปุต์ตา ครพชรไมมามเหมื่อย (ม. คำหลวง จุลพน). | ชูธง | ก. แสดงจุดยืนอย่างชัดเจน เช่น พรรคการเมืองชูธงเรื่องการปราบคอร์รัปชัน. | ตาเป็นสับปะรด | ว. ตาของพรรคพวกที่คอยสอดส่องดูแลเหตุการณ์อยู่รอบข้าง. | ถือเขาถือเรา | ก. มีความรู้สึกว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเราถือเขา ก็ว่า. | ถือเราถือเขา | ก. มีความรู้สึกว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเขาถือเรา ก็ว่า. | บาบี | น. คนมีบาป, คนมีความชั่ว, เช่น ชนะแต่บาบีพรรค์ พรั่งพร้อม (ตะเลงพ่าย). | เปลี่ยน | (เปฺลี่ยน) ก. แปรหรือกลายไปจากลักษณะหรือภาวะเดิม, เอาสิ่งหนึ่งเข้าแทนอีกสิ่งหนึ่งโดยกรรมวิธีต่าง ๆ เช่น แลกเปลี่ยน ผลัดเปลี่ยน สับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง, ย้าย เช่น เปลี่ยนที่อยู่ เปลี่ยนพรรค เปลี่ยนคลื่นวิทยุ. | ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ. | ฝ่ายค้าน | น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทำหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึง ผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน. | พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. | ยึดหัวหาด | ก. ยึดชายฝั่งทะเลซึ่งอยู่ในความครอบครองของข้าศึกเพื่อสะดวกในการยกพลขึ้นบก, โดยปริยายหมายถึงยึดจุดสำคัญหรือบุคคลสำคัญเป็นต้นเพื่อที่จะทำให้แผนการขั้นต่อไปประสบความสำเร็จ เช่น ต้องยึดหัวหาดในพรรคให้ได้ก่อน. | แยกตัว | ก. ผละออก เช่น เขาแยกตัวออกจากพรรคพวก | สาวไส้ให้กากิน | ก. นำความลับของฝ่ายตนไปเปิดเผยให้คนอื่นรู้เป็นการประจานตนหรือพรรคพวกของตน. |
| politics, partisan; partisan politics | การเมืองแบบยึดแนวทางพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | politics, party; party politics | การเมืองระบบพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | policy, party; party policy | นโยบายพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parlor caucus | การประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | partisan | พรรคพวก, พลพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | partisan politics; politics, partisan | การเมืองแบบยึดแนวทางพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | partisan, offensive | ข้าราชการที่เข้าช่วยพรรคการเมืองอย่างออกหน้า (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pairing | การจับคู่งดออกเสียง (ระหว่างสมาชิกสภาต่างพรรค) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | politburo | คณะกรรมการบริหารสูงสุดของพรรคคอมมิวนิสต์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political party; party, political | พรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | political party; party, political | พรรคการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | party identification | การสังกัดพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party line | แนวทางพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party list | บัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party loyalist | ผู้ภักดีต่อพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party organization | ๑. การจัดระเบียบพรรค๒. องค์การพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party policy; policy, party | นโยบายพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party politics; politics, party | การเมืองระบบพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party system | ระบบพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party | ๑. พรรค (การเมือง)๒. ภาคี, คู่กรณี, คู่ความ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party convention | การประชุมใหญ่ของพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party elder | ผู้อาวุโสในพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party faithful | ผู้ยึดมั่นในพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party, liberal | พรรคเสรีนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party, political; political party | พรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party, political; political party | พรรคการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | party, splinter | พรรคการเมืองที่แยกออกมา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party, third | ๑. พรรคที่สาม๒. บุคคลภายนอก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pneumotropic | ๑. สัมพรรคปอด๒. สัมพรรคเชื้อนิวโมค็อกคัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | platform | แนวนโยบายพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | platform | แนวนโยบายของพรรคการเมือง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | leader | ผู้นำ, หัวหน้าพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | line, party | แนวทางพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | liberal party | พรรคเสรีนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | leader, floor | ผู้นำสมาชิกพรรคในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rank and file | พลพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ranking member | สมาชิกคนสำคัญของพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | radical party | พรรคหัวรุนแรง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ranking minority member | สมาชิกคนสำคัญของพรรคฝ่ายข้างน้อย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ring | ๑. กลุ่มภายในพรรค๒. กลุ่มมิจฉาชีพ๓. เวทีการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rat | การละทิ้งพรรค, ผู้ละทิ้งพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | split ticket | บัตรเลือกตั้งแยกพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | straight ticket | บัตรเลือกตั้งรวมเป็นพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | single-party system | ระบบพรรคเดี่ยว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | system, biparty; system, two-party | ระบบสองพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | system, two-party; system, biparty | ระบบสองพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | splinter party | พรรคการเมืองที่แยกออกมา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | system, multi-party | ระบบหลายพรรค, ระบบพหุพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | one-party states | ประเทศระบบพรรคเดียว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | offensive partisan | ข้าราชการที่เข้าช่วยพรรคการเมืองอย่างออกหน้า (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Malayan Communist Party | พรรคคอมมิวนิสต์มาลายา [TU Subject Heading] | One party systems | ระบบพรรคการเมืองเดียว [TU Subject Heading] | One-party system | ระบบพรรคการเมืองเดียว [TU Subject Heading] | Party discipline | วินัยในพรรคการเมือง [TU Subject Heading] | Political parties | พรรคการเมือง [TU Subject Heading] | Affinity | สัมพรรคภาพ, Example: การชอบสิ่งหนึ่งมากกว่าสิ่งหนึ่ง เช่น ในระบบแลกเปลี่ยนประจุ เรซินบางชนิด ชอบ Ca++ มากกว่า Na+ ถือว่ามี affinity กับ Ca++ มากกว่ากับ Na+ [สิ่งแวดล้อม] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] | Affinity | สัมพรรคภาพ, ความโน้มน้าว, สัมพรรคภาพ, ความสามารถในการจับกับแอนติเจน, ยึดแน่น, ความเกี่ยวพัน, ความสามารถในการจับ, ความสัมพรรค, การจับตัว, สัมพรรค, แอฟฟินิตี้ [การแพทย์] | Affinity Constant | ค่าสัมพรรคภาพ [การแพทย์] | Affinity, High | ความสามารถในการจับ, จับกันอย่างเหนียวแน่น, ความสัมพรรคสูง [การแพทย์] | Biological Affinity | สัมพรรคภาพทางชีววิทยา [การแพทย์] | Chromatography, Affinity | โครมาโตกราฟีแบบสัมพรรคภาพ, วิธีแอฟฟินิตี้โครมาตอคกราฟฟี่ [การแพทย์] |
| What, and you think I killed him to stop him writing some stupid article? | อะไรนะ คุณคิดว่าผมฆ่าเขา... ...เพื่อจะหยุดเขาเขียน บทความโง่ๆพรรค์นั้น? Basic Instinct (1992) | I mean, she doesn't need this kind of worry right now. This would upset her. | ไม่อยากให้เธอกังวลกับเรื่องพรรค์นี้ The Bodyguard (1992) | As you know, we're non-political these days. Hey. | เดี๋ยวนี้เราฝักใฝ่พรรคใดไม่ได้ The Bodyguard (1992) | Thank your fearless Stern... and others among you who worried about you... and faced death at every moment. | กับคนอื่นรอบๆตัวที่ร่วมชะตากรรม ฉันเป็นสมาชิกพรรคนาซี... Schindler's List (1993) | Next time try red, like the Party. | คราวหน้าลองสีแดง เหมือนพรรคคอม Wild Reeds (1994) | Relax, buddy. You're awake now. | ใจเย็นพรรคพวก ตอนนี้คุณตื่นแล้วนะ In the Mouth of Madness (1994) | Eat up, guys! | กินเข้าไป พรรคพวก Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | Hey, man... you know any place to rent around here? | พรรคพวก มีบ้านให้เช่าแถวนี้บ้างมั้ย Heat (1995) | A party! | พรรค! Pinocchio (1940) | All right friends... | เอาล่ะ พรรคพวก... The Good, the Bad and the Ugly (1966) | - You are going to join... with us... the members of... the American Socialist White People's Party: | กับพวกเรา เป็นสมาชิกของ พรรคอเมริกาสังคมชาวผิวขาว The Blues Brothers (1980) | - What bums? - The fucking Nazi party. | ใคร พรรคนาซี The Blues Brothers (1980) | And our first act should be to convene a congress party convention and demand independence. | งานชิ้นแรกของเราน่าจะเป็น จัดประชุมพรรคชาตินิยม และเรียกร้องการเป็นเอกราช Gandhi (1982) | Jinnah Patel all of congress has called for the end of noncooperation. | จินนาห์ พาเต็ล และทุกพรรคตกลงยุติ การไม่ให้ความร่วมมือ Gandhi (1982) | Congress leaders are selling it on the streets of Delhi. | หัวหน้าพรรคขายเกลือไปทั่วเดลฮี Gandhi (1982) | Nehru, Patel most congress officials are in jail. And their wives and children. | และ จนท.พรรคอยู่ในคุกหมด รวมทั้งภรรยาและลูกๆ Gandhi (1982) | Mr. Gandhi, the sole Indian Congress Party delegate is staying at Kingsley Hall in London's East End for the duration of the talks. | คานธี ตัวแทนคนเดียว ของพรรคชาตินิยมอินเดีย จะพักที่คิงสลีย์ฮอลล์ในลอนดอน ระหว่างที่ร่วมประชุม Gandhi (1982) | If necessary, the partisan way. | ถ้าจำเป็นก็ให้พรรคพวก Idemo dalje (1982) | He's an inspector, the district vice-president, a prominent partisan. | เขาเป็นผู้ตรวจสอบ, รองประธานเขตที่โดดเด่นพรรค Idemo dalje (1982) | Take me, for example, when I was a partisan. | พาฉันไปเช่นตอนที่ฉันเป็นพรรคพวก Idemo dalje (1982) | Once, when I was already grown-up, a partisan, I peed in my pants. | เมื่อผมโตขึ้นแล้ว, พรรคพวกฉันกินเข- ้าไปในกางเกงของฉัน Idemo dalje (1982) | You're a teacher and a partisan. | แต่ไม่ใช่ที่นี่ คุณเป็นครูและพรรคพวก Idemo dalje (1982) | Looking at Huo Du and his men, all idiots... | ดูฮั่วตูและพรรคพวกสิ งี่เง่าสิ้นดี... Return of the Condor Heroes (1983) | Whoever killed Mr. Boddy also wanted his accomplices dead. | คนที่ฆ่าคุณบ๊อดดี้ ยังต้องการฆ่าพรรคพวกของเขาด้วย Clue (1985) | - Get in here. | -ขึ้นมาเลยพรรคพวก Day of the Dead (1985) | I got a cousin in America. | ฉันมีพรรคพวก อยู่ในอเมริกาล่ะ An American Tail (1986) | Company, halt. | พลพรรค หยุด Labyrinth (1986) | Man, that's a plan-and-a-half. | พรรคพวก นั่นล่ะแผน แล้วอีกครึ่งหนึ่ง Stand by Me (1986) | Stand back, men! | ถอยไป พรรคพวก Stand by Me (1986) | Every motherfucker in that ville. | ไอ้พวกตาชั้นเดียวพรรค์นั้น Casualties of War (1989) | - I'm going up there and get some. I ain't gonna miss this. | ข้าไปเอง เรื่องพรรค์นี้ไม่ยอมพลาดอยู่แล้ว Casualties of War (1989) | - Just stay away from the garbage. - Look, Paulie- | อย่ายุ่งกับของพรรค์นั้น ฟังนะ พอลลี่ Goodfellas (1990) | Yes, but I'm sure that as a distinguished member... of the National Socialist Party, you would be proud to plant... our country's flag on the summit of Nanga Parbat when you reach it. | ครับ แต่ผมมั่นใจว่าในฐานะ สมาชิกผู้โด่งดัง ของพรรคสังคมนิยมแห่งชาติ คุณคงจะภูมิใจถ้าได้ปัก ธงของประเทศเราบนยอดเขานังการ์ปาบัต เมื่อคุณปีนขึ้นไปถึงบนนั้น Seven Years in Tibet (1997) | Yeah, man. | ได้ พรรคพวก American History X (1998) | I did think the police used their clubs rather excessively. | ฉันคิดว่าตำรวจ/เล่นพรรคเล่นพวก แม่งทำเกินไป American History X (1998) | Comrades, students, revolutionary companions-in-arms... | สหายทุกท่าน นักเรียนทุกคน และมิตรของพรรคประชาชน The Red Violin (1998) | Comrade Li was purged and humiliated. | สหายหลี่คือความอัปยส เขาถูกเนรเทศออกจากพรรคไปแล้ว The Red Violin (1998) | Students, comrades, revolutionary Red Guards... | นักเรียน สหาย และ สมาชิกพรรค ( Red Guard ) ทุกท่าน The Red Violin (1998) | I am a cadre in the Party, do you understand? I can't keep it. | ฉันเป็นคนของพรรค เข้าใจมั๊ย ฉันเก็บไว้ไม่ได้ The Red Violin (1998) | Don't I always do shit like this for you? | ไม่ใช่ฉันเหรอที่คอยเช็ดเรื่องพรรค์นี้ให้เธอตลอด? Brokedown Palace (1999) | It used to be that when I came home angry or depressed. I'd just clean my condo. | (เสียงเพลงร๊อคดังลั่น) เอาน่า, พรรคพวก, กลับบ้านได้แล้วนะ Fight Club (1999) | I´m not the kind of girl... who does things like this. | ผู้หญิงแบบที่ทำอะไรพรรค์นั้น Never Been Kissed (1999) | - Way to go, Dad! Fight the machine! - How do you know about the machine? | เจ๋งไปเลย พ่อ ไม่ยอมก้มหัวให้พวกที่เหนือกว่า \ แกมันจะไปรู้อะไรกับเรื่องพรรค์นั้น Death Has a Shadow (1999) | - I want Toninho and the troubadours back. | เอาโทนินโย่กับพรรคพวกกลับมา Woman on Top (2000) | I'll tell our party secretary you won't let me go to the Fascist exercises. | ผมจะฟ้องเลขาพรรค... ว่าพ่อไม่ให้ผมไปฝึกฟาสซิสต์ Malèna (2000) | Didn't she join the Communist Party? | เธอเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์ไม่ใช่เหรอ Malèna (2000) | - Design my ass. - Want some tea? | ของห่วยๆพรรค์นั้นน่ะเหรอ เข้ามาดื่มชาก่อนมั้ย? Il Mare (2000) | Voldemort started to gather some followers. | โวลเดอมอร์ รวบรวมสมัครพรรคพวก Harry Potter and the Sorcerer's Stone (2001) | You guys, come here. | เฮ้ พรรคพวก, ทางนี้ Metamorphosis (2001) | - You have a lot of friends in high places. | และก็คงบอกให้พวกนั้นสั่งพักงานฉันด้วย แต่ดูเหมือนว่าคุณจะมีพรรคพวกอยู่ที่นี่ไม่น้อยเลยนะ Hothead (2001) |
| หัวหน้าพรรค | [hūanā phak] (n) EN: party head ; party leader FR: président de parti [ m ] ; présidente de parti [ f ] ; chef de parti [ m, f ] | การเล่นพรรคเล่นพวก | [kān len phak lenphūak] (n, exp) EN: favoritism FR: favoritisme [ m ] | กิจกรรมหาเสียงของพรรคการเมือง | [kitjakam hāsīeng khøng phak kānmeūang] (xp) EN: electioneering | ไล่...ออกจากพรรค | [lai ... øk jāk phak] (v, exp) EN: expel ... (sb.) from the party FR: exclure ... (qqn) du parti | เล่นพรรคเล่นพวก | [len phak lenphūak] (v, exp) EN: play favoritism; favour one's friends FR: favoriser son entourage | นโยบายพรรค | [nayōbāi phak] (n, exp) EN: party policy FR: politique du parti [ f ] | ออกจากพรรค | [øk jāk phak] (v, exp) EN: defect FR: quitter un parti ; faire défection | พรรค | [phak] (n) EN: party ; political party ; class ; group FR: parti [ m ] ; parti politique [ m ] ; classe [ f ] ; groupe [ m ] ; formation [ f ] | พรรคอนุรักษ์นิยม | [phak anurakniyom] (x) EN: Conservative Party FR: Parti conservateur [ m ] | พรรคชาตินิยม | [phak chātniyom] (n, exp) EN: nationalist political party FR: parti nationaliste [ m ] | พรรคชาติไทย | [Phak Chāt Thai] (org) EN: Chat Thai Party FR: parti Chat Thai [ m ] ; parti de la Nation thaïe [ m ] | พรรคการเมือง | [phak kānmeūang] (n, exp) EN: political party FR: parti politique [ m ] ; formation politique [ f ] | พรรคการเมืองใหม่ | [Phak Kānmeūang Mai] (org) EN: New Politics party (NPSP) | พรรคการเมืองไทย | [phak kānmeūang Thai] (n, exp) EN: Thai political party FR: parti politique thaïlandais [ m ] | พรรคคอมมิวนิสต์ | [phak khømmiūnit = phak khømmiūnis] (n, exp) FR: parti communiste [ m ] | พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) | [Phak Khømmiūnit Haeng Prathēt Thai (Phø.Khø.Thø.)] (org) EN: Communist Party of Thailand (CPT) | พรรคมัชฌิมาธิปไตย | [Phak Matchimāthipatai] (org) EN: Matchimathipataya ; Matchima FR: Matchimathipataya ; Matchima | พรรคมหาชน | [Phak Mahāchon] (org) EN: Mahachon Party FR: parti Mahachon [ m ] ; parti du Peuple [ m ] | พรรคพลังประชาชน | [Phak Phalang Prachāchon] (org) EN: People Power party (PPP) FR: parti du Pouvoir du Peuple (PPP) | พรรคเพื่อชีวิตที่ดีกว่า | [Phak Pheūa Chīwit Thī Dī Kwā] (org) EN: Socialist Party of Thailand. FR: Parti socialiste (thaïlandais) [ m ] | พรรคเพื่อแผ่นดิน | [Phak Pheūa Phaēdin] (n, prop) EN: Puea Pandin FR: Puea Pandin | พรรคเพื่อไทย | [Phak Pheūa Thai] (org) EN: Peua Thai ; Peua Thai party ; Pheu Thai Party ; For Thais Party | พรรคพวก | [phakphūak] (n) EN: partisans ; followers ; friends ; band ; gang FR: partisans [ mpl ] ; entourage [ m ] ; amis [ mpl ] | พรรคภูมิใจไทย | [Phak Phumjai Thai] (org) EN: Bhum Jai Thai Party ; Thai Pride Party | พรรคประชาธิปัตย์ | [Phak Prachāthipat] (org) EN: Democrat Party ; Democrats FR: Parti Démocrate [ m ] | พรรครัฐบาลผสม | [phak ratthabān phasom] (n, exp) EN: coalition partner FR: parti de la coalition [ m ] ; partenaire de la coalition [ m ] | พรรคสังคมนิยม | [phak sangkhomniyom] (n, exp) EN: socialist party FR: parti socialiste [ m ] | พรรคไทยรักไทย | [Phak Thai Rak Thai] (n, prop) EN: Thai Rak Thai Party FR: parti Thai Rak Thai [ m ] | พรรคที่เป็นรอง | [phak thī penrøng] (n, exp) EN: underdog | ผู้หญิงพรรค์อย่างว่า | [phūying phan yāng wā] (n, exp) EN: that sort of woman ; prostitute | รัฐบาลหลายพรรค | [ratthabān lāi phak] (n, exp) EN: coalition government FR: gouvernement de coalition [ m ] | รัฐบาลพรรคเดียว | [ratthabān phak dīo] (n, exp) EN: single party government | รอเดี๋ยวพรรคพวก | [rø dīo phakphūak] (v, exp) FR: attendez les amis ! | สมัครพรรคพวก | [samakphakphūak] (n) EN: followers ; adherents ; gang ; partisans ; clans ; clique ; friends FR: partisans [ mpl ] ; clique [ f ] | ถือพรรคถือพวก | [theū phak theū phūak] (v, exp) EN: stick together | ถือพรรคถือพวก | [theū phak theū phūak] (adj) EN: partisan ; cliquish | ยุบพรรค | [yup phak] (v, exp) FR: dissoudre un parti politique | ปชป. (พรรคประชาธิปัตย์) | [Pøchøpø.] EN: Democrat Party ; Democrats FR: Parti Démocrate [ m ] |
| adherent | (n) พลพรรค, See also: พรรคพวก, ผู้ติดตาม, ผู้สนับสนุน, สาวก | backer | (n) พรรคพวก, See also: ผู้สนับสนุน, Syn. sponsor, benefactor | bipartisan | (adj) ซึ่งรวมพรรค2พรรค | bivouac | (n) ค่ายพรรคชั่วคราว | be in cahoots with | (idm) เป็นพรรคพวกของ, See also: ติดต่ออย่างลับๆกับ | be in league with | (idm) เป็นพรรคพวกของ, See also: ติดต่ออย่างลับๆกับ | camp follower | (n) ผู้ที่สนับสนุนกลุ่มหรือพรรคการเมือง แต่ไม่ได้เป็นสมาชิก | campaign | (n) การหาเสียง, See also: การหาเสียงของพรรคการเมือง | caucus | (n) การประชุมของสมาชิกหรือกลุ่มผู้นำของพรรคการเมืองเพื่อลงคะแนนเลือกหรือวางแผนทางการเมือง | cell | (n) หน่วยเล็กๆในหน่วยใหญ่ เช่น กลุ่มเล็กๆในพรรคการเมือง | communist | (n) สมาชิกของพรรคคอมมิวนิสต์ | cross over | (phrv) เปลี่ยนฝ่าย, See also: แปรเปลี่ยนไป, ย้ายพรรค, ย้ายไปเข้าข้าง | defect | (vi) ละทิ้ง, See also: เปลี่ยนใจ, ย้ายพรรค, Syn. apostatize, desert | Democrat | (n) สมาชิกพรรคเดโมแครต (ของประเทศอเมริกา), Syn. liberal, Jeffersonian, Ant. Republican, Tory, Socialist | expulsion | (n) การขับไล่ (ออกจากโรงเรียน, พรรค, สถาบัน), See also: การไล่ออก จากโรงเรียน, พรรค, สถาบัน, Syn. dismissal, ejection, purge | factional | (adj) เกี่ยวข้องกับฝ่ายหรือพรรคการเมือง | favoritism | (n) ความลำเอียง, See also: การเล่นพรรคเล่นพวก, Syn. bias, inequity, partiality | fellow traveller | (n) ผู้สนับสนุนพรรคแต่ไม่ได้เป็นสมาชิกพรรค | follower | (n) ผู้ติดตาม, See also: พรรคพวก, บริวาร, สาวก, ลูกศิษย์, ลูกน้อง, ผู้สนับสนุน, ผู้รับใช้, Syn. disciple, adherent, supporter, Ant. objector | go over to | (phrv) ย้ายไปเข้าข้าง, See also: เปลี่ยนไปจงรักภักดีกับ, ย้ายพรรคไปอยู่กับ, Syn. bring round, go across to | ginger group | (n) กลุ่มคนในพรรคการเมืองหรือองค์กรที่ชักจูงคนอื่นให้คล้อยตาม | government party | (n) พรรครัฐบาล | laborite | (n) สมาชิกหรือผู้สนับสนุนพรรคแรงงาน | left wing | (n) สมาชิกพรรคฝ่ายซ้าย, Syn. leftist, left-of-center, Ant. rightist | leftist | (n) สมาชิกของพรรคการเมืองฝ่ายซ้าย, See also: พวกนิยมฝ่ายซ้าย, Syn. collectivist, left-winger | left-wing | (adj) ฝ่ายซ้าย (กลุ่มหรือพรรคการเมือง) | mafioso | (n) สมุนมาเฟีย, See also: สมาชิกพรรคมาเฟีย | Mafioso | (n) สมุนมาเฟีย, See also: สมาชิกพรรคมาเฟีย | majority leader | (n) หัวหน้าพรรคเสียงข้างมากในสภา | multiparty | (adj) เกี่ยวกับพรรคการเมืองมากกว่าสองพรรค, See also: ซึ่งแบ่งเป็นหลายส่วน | national convention | (n) การประชุมพรรคเพื่อเลือกผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี | national socialism | (n) แนวความคิดของพรรคนาซี, See also: ลัทธินาซี, Syn. Nazism | National Socialism | (n) แนวความคดของพรรคนาซี, See also: ลัทธินาซี, Syn. Nazism | Nazi | (n) พรรคนาซี | Nazi | (adj) เกี่ยวกับพรรคนาซี | nepotism | (n) การเล่นพรรคเล่นพวก, Syn. favoritism | nepotist | (n) คนเล่นพรรคเล่นพวก | nonparty | (adj) ซึ่งไม่เกี่ยวกับพรรคการเมือง | Opposition | (n) ฝ่ายค้าน, See also: พรรคฝ่ายค้าน, Ant. Government | opposition | (n) ฝ่ายค้าน, See also: พรรคฝ่ายค้าน, Ant. Government | partisan | (n) พรรคพวก, See also: พวกเดียวกัน, Syn. factionist | partisan | (adj) ซึ่งถือพรรคถือพวก, See also: ซึ่งลำเอียง, ซึ่งเข้าข้าง, Syn. biased, one-sided | party | (n) พรรคการเมือง | party | (adj) เกี่ยวกับพรรคการเมือง | phalanx | (n) กลุ่มคน, See also: กลุ่มสัตว์, กลุ่ม, พรรค | platform | (n) นโยบายพรรคที่แถลงก่อนการเลือกตั้ง, See also: แผนงาน, หลักการ, Syn. policies, principles | political | (adj) เกี่ยวกับพรรคการเมือง | popular front | (n) กลุ่มพรรคการเมืองฝ่ายซ้าย | press officer | (n) ผู้ทำงานในสำนักข่าวรัฐบาล องค์กรใหญ่ๆ หรือพรรคการเมือง | Republican | (n) สมาชิกพรรครีพับริกันของสหรัฐอเมริกา, Syn. registered Republican, conservative |
| affinity | (อะฟิน' นิที) n. ความสัมพันธ์อย่างสนิท, ความดึงดูด, ความดึงดูดความสนใจ, การมีอารมณ์ร่วม, ความชอบพอกัน, ความพอใจในการร่วม, ความ สัมพรรค, Syn. inclination-A. antipathy | ally | (vt, vi. อะไล', -n. แอล' ไล, อะไล') ผูกพัน, เข้าข้าง, เป็นพันธมิตร, พันธมิตร, ประเทศพันธมิตร, พรรคพวก, ผู้ช่วย, สิ่งที่เกี่ยวดองกัน. -alliable adj., Syn. confederate, partner-A. enemy | apostasy | (อะพอส'ทะซี) n. การผละออกจากศาสนาหลักการณ์ พรรคหรืออื่น ๆ | appetence | (แอพ' พิเทินซฺ) n. ความอยากอย่างมากตามธรรมชาติ, แนวโน้มของสัญชาตญาณ, การดึงดูด, ความสัมพรรค, การติดนิสัย (intense desire) | apstate | (อะพอส'เทท) n. บุคคลที่ผละออกจากศาสนา หลักการพรรคหรืออื่น ๆ (convert) apostatise, apostatize (อะพอส'ทะไทซ) n. กระทำการ apostasy (commit apostasy) | bandwagon | (แบนแวก'เกิน) n. รถดนตรีในขบวนแห่, ความนิยม, พรรคการเมืองในสหรัฐอเมริกาที่ได้รับความนิยมอยู่ | bipartisan | (ไบพารฺ์'ทิเซิน) adj.ประกอบด้วยสมาชิกของสองพรรคหรือกลุ่ม, See also: bipartisanism, bipartizanism n. | bipartizan | (ไบพารฺ์'ทิเซิน) adj.ประกอบด้วยสมาชิกของสองพรรคหรือกลุ่ม, See also: bipartisanism, bipartizanism n. | bloc | (บลอค) n. กลุ่มคน, หมู่คน, กลุ่มสมาชิกพรรคการเมือง, Syn. group | bolshevik | (บอล'ชะ วิค) n. พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซียตั้งแต่ปี ค.ศ.1917, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์, ผู้ที่มีหัวรุนแรง, See also: bolshevism n. ดูBolshevik Bolshevism n. ดูBolshevik Boshevist n. ดูBolshevik bolshevistic | brown shirt | n. สมาชิกพรรคนาซี, สมาชิกพวกฟาสซิสท์ | caucus | (คอ'คัส) n. การประชุมพรรคการเมืองเพื่อเลือกตั้งตัวแทนเข้าแข่งขัน vi. ประชุมพรรคการเมืองดังกล่าว -pl. caucuses | clansman | n. สมาชิกของเผ่าพันธ์, พรรคพวก, พวกพ้อง, See also: clansmanship n. ดูclansman | committeeman | (คะมิท'ทีเมิน) n. กรรมการ กรรมาธิการ, หัวหน้าพรรคการเมืองในเขตเลือกตั้ง -pl. committeemen | communist | (คอม'มิวนิสทฺ) n. ผู้นิยมลัทธิคอมมิวนิสต์, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์, สมาชิกของระบบคอมมูน commune) adj. เกี่ยวกับพรรคหรือลัทธิคอมมิวนิสต์, See also: communistic adj. | comrade | (คอม'ริด, คอม'เรด) n. สหาย, เพื่อน, มิตรสนิท, เพื่อนสมาชิกหรือพรรค, สมาชิกพรรค คอมมิวนิสต์, Syn. friend, companion | conservative | (คันเซอ'วะทิฟว) adj. ซึ่งอนุรักษ์ไว้, ซึ่งสงวนไว้, เกี่ยวกับการเก็บรักษา, ซึ่งมีขอบเขต, รอบคอบ, เกี่ยวกับพรรคConservative. n. นักอนุรักษ์นิยม, นักจารีตนิยม, ผู้รักษาสิ่งเก่า ๆ , สมาชิกพรรคคอนเซอวาตีฟ, ตัวกันบูด., See also: conservativeness n. คำที่มีความ | convention | (คันเวน'เชิน) n. การประชุม, การประชุมพรรคการเมือง, สัญญา, สนธิสัญญา, อนุสัญญา, ระเบียบแบบแผน, จารีตประเพณี, ธรรมเนียมปฎิบัติ, การประชุมที่มีกำหนด, Syn. meeting, custom | conversion | (คันเวอ'เชิน) n. การเปลี่ยนแปลง, ภาวะที่ถูกเปลี่ยนแปลง, การเปลี่ยน (ศาสนา ความเชื่อ พรรคหรืออื่น ๆ) , การแลกเปลี่ยน, การแปลงหนี้., See also: conversional adj. ดูconversion conversionary adj. ดูconversion | convert | (คัน'เวิร์ทฺ') { converted, converting, converts } vt. เปลี่ยนแปลง, เปลี่ยนกลับ, ทำให้เปลี่ยนศาสนา (ตำแหน่ง พรรคหรืออื่น ๆ) vi. เปลี่ยนศาสนา, See also: convertive adj. ดูconvert | democrat | (เดม'มะแครท) n. ผู้นิยมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย, สมาชิกพรรคเดมโมแครท | factious | (แฟค'เชิส) adj. ซึ่งเล่นพรรคเล่นพวก, ซึ่งแบ่งเป็นฝักเป็นฝ่าย., See also: factiousness n. | fusion | (ฟิว'เชิน) n. การหลอมละลาย, การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมละลาย, การผสมของพรรคการเมือง, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่หนักขึ้น (nuclear, See also: fusion, Syn. coalescence, combine, Ant. separate | independent | (อินดิเพน' เดินทฺ) adj. อิสระ, ไม่ขึ้นใคร, เป็นตัวของตัวเอง, ไม่อยู่ภายใต้การช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากผู้อื่น, มีเงินเพียงพอที่จะช่วยตัวเอง, มีความเชื่อมั่นในตัวเอง. -n. คนที่อิสระ, คนที่เป็นตัวของตัวเอง, ผู้ออกเสียงอิสระ (ไม่ขึ้นอยู่พรรคการเมืองใด ๆ) | junto | (จัน'โท) n. คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเอง (โดยเฉพาะที่มีจุดประสงค์ทางการเมือง) , กลุ่มอิทธิพลทางการเมือง, ฝ่าย, พรรค, Syn. cabal | kind | (ไคดฺ) n. ชนิด, จำพวก, ประเภท, กลุ่ม, พรรคพวก, พันธุ์, ลักษณะ, คุณสมบัติ, แบบ, รูปแบบ. -Phr. (inkind แบบเดียวกัน, เป็นสินค้า (แทนที่จะเป็นเงิน)) . -Phr. (of akind ชนิดเดียวกัน ลักษณะเดียวกัน) adj. กรุณา, ปรานี, ใจดี, หวังดี, เมตตา | kinship | (คิน'ชิพ) n. ความเป็นญาติมิตร, ความสัมพันธ์ทางครอบครัว, ความเกี่ยวดอง, ความสัมพันธ์โดยธรรมชาติ, ความสัมพรรค, Syn. blood, family, affinity | leftwing | ปีกซ้าย, ฝ่ายซ้าย, ฝ่ายเอียงซ้าย (ของพรรคการเมือง), See also: leftwing adj. ดูleftwing leftwinger n. ดูleftwing, Syn. liberal | liberal | (ลิบ'เบอเริล) adj. ใจกว้าง, ใจป้ำ, โอบอ้อมอารี, ตามอารมณ์, ตามอำเภอใจ, มากมาย, อุดมสมบูรณ์ n. ผู้มีใจกว้าง, มีใจป้ำ, ผู้มีใจโอบอ้อมอารี, สมาชิกพรรคลิบเบอรัลของอังกฤษ, See also: liberalness n. ดูliberal, Syn. abundant, Ant. stingy | machine | (มะชีน') n. เครื่องจักร, เครื่อง, จักร, อุปกรณ์, ระบบที่ซับซ้อน, ระบบการทำงาน, การปฏิบัติงาน, กิจกรรมของพรรคหรือองค์การ. vt. กระทำด้วยเครื่อง, เตรียมด้วยเครื่อง. | majority leader | n. ผู้นำพรรคที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา | nazi | (นา'ซี, แนท'ซี) n., adj. สมาชิกพรรคนาซีของเยอรมันที่มีฮิตเลอร์เป็นผู้นำ) ., See also: Nazism, Nazism n. pl. Nazis | opposition | (ออพพะซิซ'เชิน) n. การคัดค้าน, การต่อต้าน, การเป็นปรปักษ์, ผู้เป็นปรปักษ์, พรรคฝ่ายค้าน, การวางให้อยู่ตรงกันข้าม, ตำแหน่งที่อยู่ตรงกันข้าม (เป็นมุม180องศา) ., See also: oppositional adj., Syn. antagonism | oppositionist | (ออพพะซิซ'ชันนิสทฺ) n. สมาชิกพรรคฝ่ายค้าน, ผู้เสนอนโยบายที่คัดค้าน | partisan | (พาร์ทิซัน) n. ผู้ถือข้าง, ผู้ถือพรรคถือพวก | party | (พาร์ท'ที) n. พรรค, พวก, หมู่คณะ, ฝาย | party man | n. สมาชิกพรรค | party whip | n. ผู้ควบคุมเสียงของพรรค | platform | (แพลท'ฟอร์ม) n. แท่น, ชานชลาสถานี, เวทีสำหรับกล่าวคำปราศัย, ยกพื้น, ดาดฟ้า, แท่นยิง, แท่นปืนใหญ่, นโยบายของพรรคการเมือง, คำแถลงการณ์, การปราศรัยต่อมวลชน, การแสดงปาฐกถา | politbureau | (พอล'ลิทบิวโร) n. ชื่อคณะกรรมการหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์ในโซเวียต | politburo | (พอล'ลิทบิวโร) n. ชื่อคณะกรรมการหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์ในโซเวียต | pravda | (พราฟว'ดะ) n. หนังสือพิมพ์ทางการของพรรคคอมมิวนิสต์โซเวียต | regular | (เรก'กิวละ) adj. ปกติ, ธรรมดา, สามัญ, เป็นประจำ, สม่ำเสมอ, เป็นกิจวัตร, ตามกฎ, มีกฎเกณฑ์, มีระเบียบ, ตามระเบียบ, ตามแบบแผน, ถูกต้องตามกฎเกณฑ์, เกี่ยวกับทหารประจำการ, (กาแฟ) มีปริมาณปกติของนมหรือครีม n. ลูกค้าประจำ, ทหารอาชีพ, ทหารประจำการ, สมาชิกพรรคที่ยึดถือนโยบายของพรรค | republican | (รีพับ'ลิเคิน) adj., n. (ผู้สนับสนุน) เกี่ยวกับสาธารณรัฐ, Republican adj., n. (สมาชิก) เกี่ยวกับพรรค Republican Partyในอเมริกา | royalist | (รอย'อัลลิสทฺ) n. , adj. (เกี่ยวกับ) สมาชิกพรรคอนุรักษ์กษัตริย์, See also: royalistic adj. | sect | (เซคทฺ) n. สำนัก, นิกาย, ลัทธิ, นิกายศาสนา, กลุ่ม, แขนง, พรรค, ส่วน, ตอน, ช่วง, ภาค, แผนก, Syn. denomination | sectarian | (เซคแท'เรียน) adj. (เกี่ยวกับ) นิกาย ลัทธ'สำนัก , ความผิดที่คับแคบ, การแบ่งพรรคแบ่งพวก. n. สมาชิกนิกาย ลัทธ'สำนัก, Syn. parochial, partisan, cultist | standard-bearer | n. ผู้ถือธง, ผู้นำที่เด่นชัด, ผู้นำพรรคการเมือง, ผู้นำกิจการ, See also: standard-bearership n. | ticket | (ทิค'คิท) n. ตั๋ว, บัตร, บัตรอนุญาต, ใบอนุญาต, รายชื่อสมาชิกผู้สมัครรับเลือกตั้ง (ที่พรรคการเมืองเสนอชื่อ) , ใบสั่ง สำหรับผู้กระทำผิดกฎจราจร, สิ่งที่เหมาะสม, โครงการของพรรคการเมือง, ฉลากติดสินค้า, ฉลากฉีก. vt. ติดฉลาก, ติดบัตร | tory | (ทอ'รี) n., adj. สมาชิกพรรคอนุรักษ์นิยมในอังกฤษหรือแคนาดา, See also: Toryish adj. |
| adherent | (n) ผู้ติดตาม, พรรคพวก, ภาคี, สาวก, ผู้สนับสนุน | ally | (n) พันธมิตร, พรรคพวก, พวกพ้อง | associate | (n) มิตรสหาย, เพื่อนฝูง, พรรคพวก, ผู้ร่วมงาน, ภาคี | caucus | (n) การประชุมพรรคการเมือง | clannish | (adj) ถือพวก, ถือพี่ถือน้อง, เล่นพรรคเล่นพวก | factious | (adj) ชอบขัดแย้ง, เป็นก๊กเป็นเหล่า, เล่นพรรคเล่นพวก | federation | (n) สหพันธ์, กลุ่มการเมือง, การจัดตั้งพรรคการเมือง, การรวมกัน | friend | (n) เพื่อน, เกลอ, สหาย, มิตร, พรรคพวก, ผู้ช่วยเหลือ | friendless | (adj) ไม่มีเพื่อน, ไม่มีพวกพ้อง, ไม่มีพรรคพวก | independence | (n) เอกราช, ผู้ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด, อิสรภาพ, พรรคการเมืองอิสระ | junto | (n) พรรคการเมือง, พรรคพวก, คณะปกครอง, คณะผู้ก่อการร้าย | nepotism | (n) การแบ่งพรรคพวก, การถือพวกพ้อง, การเลือกที่รักมักที่ชัง | partisan | (adj) ซึ่งแบ่งพวกพ้อง, ซึ่งถือพรรคถือพวก, ซึ่งเข้าข้าง | partisan | (n) ผู้เข้าข้าง, พรรคพวก, พวกพ้อง, พลพรรค | partisanship | (n) การแบ่งพวก, การถือพรรคถือพวก, การเข้าข้าง | partizan | (n) ผู้เข้าข้าง, พรรคพวก, พวกพ้อง, พลพรรค | party | (n) พรรค, พวก, ฝ่าย, งานเลี้ยง, คู่ความ | phalanx | (n) กองทหารราบ, ฝูงสัตว์, กลุ่มคน, พรรคการเมือง | sectarian | (n) สมาชิกพรรค, สมาชิกในนิกาย | sectary | (n) สมาชิกพรรค, สมาชิกในนิกาย |
| cronyism | (n) ระบบพวกพ้อง การเล่นพรรคเล่นพวก หรือ การเอื้อประโยชน์ให้แก่คนใกล้ชิดของตน | RMB | (n, uniq) The renminbi (simplified Chinese: 人民币; traditional Chinese: 人民幣; pinyin: rénmínbì; literally "people's currency") is the currency of the People's Republic of China (PRC) - คือ ชื่อเรียกของเงินจีน โดยหน่วยเงินสกุลนี้ คือ หยวน [ yuan (simplified Chinese: 元 or 圆; traditional Chinese: 圓; pinyin: yuán; Wade-Giles: yüan) ] เงิน RMB - renmibi นั้น เริ่มต้นครั้งแรกในปี 1948 โดยธนาคาร People's Bank of China หนึ่งปีก่อนพรรคคอมมิวนิสจีนจะชนะในสงครามการเมือง โดยเงินนี้ เรียกว่า renmibi นั้น แปลว่า เงินของประชาชน "People's Currency" - สำหรับหน่วยเงินจีนนั้น สามารถใช้ได้ทั้ง RMB / CNY / ¥. >> อ่านเพิ่มเติมใน http://en.wikipedia.org/wiki/Rmb Image: |
| 幹事長 | [かんじちょう, kanjichou] (n) เลขาธิการ(พรรคการเมือง) |
| 愛国党 | [あいこくとう, aikokutou] (n) พรรคไทยรักไทย | 民主党 | [みんしゅとう, minshutou] (n) พรรคประชาธิปัตย์ | 党員 | [とういん, touin] (n) สมาชิกพรรคการเมือง | 共産党 | [きょうさんとう, kyousantou] (n) พรรคคอมมิวนิสต์ |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |