ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รวิ, -รวิ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ รพี | น. พระอาทิตย์. (ป., ส. รวิ) |
|
| | รวิ | (n) sun, Syn. รวิ, รพิ, รพี, รำไพ, พระอาทิตย์, Count Unit: ดวง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | รวิวาร | (n) Sunday, Syn. วันอาทิตย์, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | การวิวาท | (n) dispute, See also: controversy, argument, quarrel, contention, brawl, wrangle, squabble, Syn. การทะเลาะวิวาท, การทะเลาะ, การโต้เถียง, Example: การวิวาทกันของนักเรียนช่างกลสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชนทั่วไปเป็นอันมาก | มารวิชัย | (n) Lord Buddha, Syn. มารวิชิต, มารชิ, มารวิชิต, พระพุทธเจ้า, Example: พระพุทธชินสีห์เป็นพระเนื้อโลหะปางมารวิชัยหน้าตัก 5 ศอกคืบ 4 นิ้ว, Thai Definition: พระพุทธรูปปางนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวางคว่ำลงที่พระชานุ ในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้ ว่า พระปางมารวิชัย, พระปางสะดุ้งมาร หรือ พระปางมารสะดุ้ง ก็เรียก, Notes: (บาลี) | มารวิชัย | (n) Lord Buddha, Syn. มารวิชิต, มารชิ, มารวิชิต, พระพุทธเจ้า, Example: พระพุทธชินสีห์เป็นพระเนื้อโลหะปางมารวิชัยหน้าตัก 5 ศอกคืบ 4 นิ้ว, Thai Definition: พระพุทธรูปปางนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวางคว่ำลงที่พระชานุ ในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้ ว่า พระปางมารวิชัย, พระปางสะดุ้งมาร หรือ พระปางมารสะดุ้ง ก็เรียก, Notes: (บาลี) | ไตรวิชชา | (n) three-acknowledgement group, Syn. วิชชา 3, Thai Definition: วิชชา 3 คือ วิชชาระลึกชาติหนหลังได้ 1 วิชชารู้ความตายความเกิดของคนและสัตว์ 1 วิชชารู้ในทางทำให้สิ้นกิเลส 1 | ละครวิทยุ | (n) radio play, Example: ปริศนาเป็นนิยายอมตะของว.ณประมวญมารคที่สร้างเป็นภาพยนต์ ละครทีวี และละครวิทยุหลายครั้ง, Count Unit: เรื่อง | สรีรวิทยา | (n) physiology | สรีรวิทยา | (n) physiology, Example: การมองเห็นภาพต่างๆ และสีสรร เป็นเรื่องทางสรีรวิทยาที่ซับซ้อน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยคุณสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต, Notes: (บาลี) | สรีรวิทยา | (n) physiology, Example: การมองเห็นภาพต่างๆ และสีสรร เป็นเรื่องทางสรีรวิทยาที่ซับซ้อน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยคุณสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต, Notes: (บาลี) | อักขรวิธี | (n) orthography, Example: ตำราภาษาไทยแต่เดิม ประกอบด้วย อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ ฉันทลักษณ์, Thai Definition: วิธีเขียน และอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, Notes: (บาลี) | การวิพากษ์ | (n) criticism, See also: review, comment, Syn. การวิพากษ์วิจารณ์, การวิจารณ์, การวิเคราะห์วิจารณ์, Example: หนังสือได้เสนอแง่มุมของการวิพากษ์สังคมตะวันตกโดยคนตะวันตกเอง, Thai Definition: การพิจารณาตัดสิน | ผลการวิจัย | (n) research result, Syn. ผลวิจัย, ผลงานวิจัย, ผลการวิเคาะห์, Example: ญี่ปุ่นได้รวบรวมผลการวิจัยในการป้องกันมลภาวะสิ่งแวดล้อมไว้มากมาย, Count Unit: ชิ้น, เรื่อง, Thai Definition: ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ | อักขรวิทยา | (n) paleography | รายการวิทยุ | (n) radio program | นักษัตรวิทยา | (n) astrology, See also: science of stars, knowledge of stars, Syn. วิชาดาว, โหราศาสตร์, Notes: (สันสกฤต) | โครงการวิจัย | (n) research project, See also: research plan, Syn. แผนการวิจัย, Example: มหาวิทยาลัยดำเนินโครงการวิจัยฐานข้อมูลขนาดใหญ่, Count Unit: โครงการ, Thai Definition: แผนหรือเค้าโครงตามที่กะหรือกำหนดไว้สำหรับการทำวิจัย | การวินิจฉัยโรค | (n) diagnosis, Example: การวินิจฉัยโรคในปัจจุบันได้มีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้าช่วยในการวินิจฉัยโรคมากขึ้น | ผลการวิเคราะห์ | (n) analysis result, Syn. ผลวิจัย, Example: จากผลการวิเคราะห์ พบว่าการโคจรของดาวเทียมทำให้เรามีสื่อสารที่ก้าวหน้ามากขึ้น, Thai Definition: ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ | รายงานการวิจัย | (n) research report, Example: รายงานการวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก, Count Unit: ฉบับ, เรื่อง, Thai Definition: เอกสารที่ได้จากการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ | การวิจัยพื้นฐาน | (n) basic research, Example: การผนึกกำลังกันวิจัยทั้งในการวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์เป็นสิ่งจำเป็นในการพัฒนาอุตสาหกรรม | การวิเคราะห์งาน | (n) analysis, Example: การวิเคราะห์งานในแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียด | การวิจัยเชิงทดลอง | (n) experimental research, Example: มีการวิจัยเชิงทดลองเพื่อวัดระดับความรู้ภาษาไทยของนักศึกษาปี 1 ของทุกมหาวิทยาลัย | การวิจัยและการพัฒนา | (n) research and development, Example: สินค้าได้ผ่านการวิจัยและการพัฒนาและเตรียมออกวางตลาดในเร็วๆ นี้ | การวิเคราะห์เนื้อหา | (n) content analysis, Example: ขั้นตอนที่ยากที่สุดในการทำรายงานคือการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อเขียนในรายงาน | ห้องปฏิบัติการวิจัย | (n) laboratory, Example: ห้องปฏิบัติการวิจัยทางโทรคมนาคมในมหาวิทยาลัยกำลังเปิดรับสมัครนักวิจัยที่สนใจจะทำงานในด้านโทรคมนาคม, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: สถานที่ที่ใช้ทำการวิจัย | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | (n) Srinakharinwirot Unversity, Example: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒนับเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของไทย ที่สามารถเปิดสอนวิชาชีพครูได้ถึงระดับปริญญา |
| กรวิก ๑ | (กะระ-, กอระ-) น. นกการเวก. | กรวิก ๒ | (กะระ-, กอระ-) น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๓ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป.; ส. กรวีก). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ ที่ สัต ๒, สัต- ๒, สัตตะ ๑). | การวิก | (การะวิก) น. นกการเวก เช่น การวิกรวังวนกุณาล พเพรียกพร้องกระแสงใส (สมุทรโฆษ). | คณะกรรมาธิการวิสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง. | โฆรวิส | (โคระวิด) น. งูพิษ. | โฆรวิส | (โคระวิด) ว. มีพิษร้าย. | ไตรวิชชา | (-วิดชา) น. ความรู้แจ้งในทางพระพุทธศาสนา ๓ อย่าง คือ ๑. ระลึกชาติหนหลังได้ ๒. รู้การตายการเกิดของคนและสัตว์ ๓. รู้วิธีทำให้สิ้นกิเลส. | ธนุรวิทยา, ธนุรเวท | (ทะนุระ-) น. วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ๆ. (ส.). (ดู อุปเวท ประกอบ). | นักษัตรวิทยา | น. วิชาดาว, โหราศาสตร์. | มารวิชัย | (มาระ-, มาน-) น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายหงายวางบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวางควํ่าลงที่พระชานุ นิ้วพระหัตถ์ชี้ลงที่พื้นธรณีในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้ ว่า พระปางมารวิชัย, พระปางชนะมาร หรือ พระปางสะดุ้งมาร ก็เรียก. | รวิ ๑, รวี | น. พระอาทิตย์, ใช้แผลงว่า รพิ รพี หรือ รำไพ ก็ได้. | รวิวาร | น. วันอาทิตย์. | รวิ ๒ | น. ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางคืน. (ดู ยาม). | ราชวรวิหาร | (ราดชะวอระวิหาน) น. เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรมหาวิหาร ว่า ชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร เช่น วัดเบญจมบพิตร วัดราชประดิษฐ์, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดหนึ่ง ซึ่งมีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรมหาวิหาร ว่า ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เช่น วัดเทพศิรินทร์ วัดราชสิทธาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสูงสุด ว่า ชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร เช่น วัดปทุมวนาราม วัดรัชฎาธิษฐาน. | ละครวิทยุ | น. ละครพูดที่แสดงทางวิทยุ มักมีเพลงประกอบ. | วรวิหาร | (วอระ-) น. เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดตํ่าสุด ว่า ชั้นโทชนิดวรวิหาร เช่น วัดบพิตรพิมุข วัดอนงคาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นตรีชนิดวรวิหาร เช่น วัดราชนัดดา วัดเทพธิดา. | ศรวิษฐา | (สะระวิดถา) น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา มี ๔ ดวง, ดาวกา ดาวไซ ดาวเศรษฐี หรือ ดาวธนิษฐะ ก็เรียก. | สรีรวิทยา, สรีรศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต. | อักขรวิธี | น. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร. | อักขรวิบัติ | น. การเขียน อ่าน หรือออกเสียงไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี. | อาศิรพิษ, อาศิรวิษ, อาศีรพิษ, อาศีรวิษ | น. “ผู้มีพิษในเขี้ยว” คือ งู, อสรพิษ. | อินทรวิเชียร | (อินทฺระ-) น. ชื่อฉันท์ ๑๑ แบบหนึ่ง หมายความว่า ฉันท์ที่มีลีลาอันรุ่งเรืองงดงามดุจสายฟ้าซึ่งเป็นอาวุธของพระอินทร์ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๖ คำ รวม ๒ วรรค เป็น ๑ บาท นับ ๒ บาท เป็น ๑ บท คำที่ ๓ ของวรรคหน้ากับคำที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ของวรรคหลังเป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ รับสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ แต่เดิมไม่นิยมสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ เช่น
| (อิลราช). |
แต่ต่อมานิยมสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ อย่างเดียวกับกาพย์ยานี ๑๑ เพราะถือว่าไพเราะ เช่น
| กมเลศ | พระนารายณ์ เช่น ดุจองค์สมเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นสุทธาวาสบวรวิมาน (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์). | กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. | กรีฑา ๑ | (กฺรีทา) น. กีฬาอย่างหนึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ประเภทลู่ เช่น การวิ่งระยะทางต่าง ๆ วิ่งผลัด วิ่งข้างรั้ว ซึ่งในการแข่งขันต้องมีทางหรือแนวทางวิ่ง อีกประเภทหนึ่ง คือ ประเภทลาน เช่น กระโดดสูง พุ่งแหลน ทุ่มน้ำหนัก ซึ่งต้องมีสถานที่กว้างเพื่อการแข่งขัน | กา ๑ | ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา เห็นเป็นรูปอีกา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์ (อภัย), ดาวไซ ดาวเศรษฐี ดาวศรวิษฐา หรือ ดาวธนิษฐะ ก็เรียก. | การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. | กุณาล | (-นาน) น. นกดุเหว่า เช่น การวิกระวังวน กุณาล (สมุทรโฆษ). | คำสั่งทางปกครอง | น. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ. | โคลงโบราณ | น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งคล้ายโคลง ๔ มีบังคับสัมผัส แต่ไม่มีบังคับเอกโท เช่น โคลงมหาวิชชุมาลี โคลงมหาสินธุมาลี ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตำรากาพย์สารวิลาสินี. | ไซ ๓ | น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา มี ๔ ดวง, ดาวกา ดาวเศรษฐี ดาวศรวิษฐา หรือดาวธนิษฐะ ก็เรียก. | ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. | ดุลพินิจ | (ดุนละ-, ดุน-) น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลยพินิจ ก็ใช้. | ดุลยพินิจ | น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลพินิจ ก็ใช้. | ตะโกรง | (-โกฺรง) ว. อาการวิ่งโทง ๆ | ตะติน | ว. บอกอาการวิ่ง, บางทีเขียนเป็น ตติน ก็มี เช่น แล้วก็เอากลออมดิน แล่นตตินยงงท่า แบกน้ำด้วยบ่ามายงงเรือนตน โสดแล (ม. คำหลวง ชูชก). | ตะโพง | ว. อาการวิ่งก้าวยาว ๆ หรือวิ่งอย่างกระโดด | ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา | น. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. | ธนิษฐะ, ธนิษฐา | (ทะนิดถะ, ทะนิดถา) น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๓ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปอีกา, ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี ดาวไซ หรือ ดาวกา ก็เรียก. | นักษัตร ๑, นักษัตร- | (นักสัด, นักสัดตฺระ-) น. ดาว, ดาวฤกษ์, มี ๒๗ หมู่ คือ ๑. อัศวินี, อัสสนี (ดาวม้า ดาวคอม้า ดาวคู่ม้า หรือ ดาวอัศวยุช) มี ๗ ดวง ๒. ภรณี (ดาวก้อนเส้า) มี ๓ ดวง ๓. กฤติกา, กฤตติกา, กัตติกา (ดาวธงสามเหลี่ยม หรือ ดาวลูกไก่) มี ๘ ดวง ๔. โรหิณี (ดาวพราหมี ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวคางหมู) มี ๗ ดวง ๕. มฤคศิระ, มฤคเศียร, มิคสิระ (ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวมฤคศิรัส หรือ ดาวอาครหายณี) มี ๓ ดวง ๖. อารทรา (ดาวอัททา ดาวตัวโค หรือ ดาวตาสำเภา) มี ๑ ดวง ๗. ปุนัพสุ, ปุนัพพสู (ดาวหัวสำเภา ดาวสำเภาทอง ดาวสะเภา ดาวยามเกา หรือ ดาวตาเรือชัย) มี ๓ ดวง ๘. บุษยะ, บุษย์, ปุษยะ, ปุสสะ (ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสำเภา หรือ ดาวสิธยะ) มี ๕ ดวง ๙. อาศเลษา, อสิเลสะ (ดาวเรือน หรือ ดาวนกอยู่ในปล่อง) มี ๕ ดวง ๑๐. มฆะ, มฆา, มาฆะ (ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้) มี ๕ ดวง ๑๑. บุรพผลคุนี, ปุรพผลคุนี, ปุพพผลคุนี (ดาววัวตัวผู้ หรือ ดาวงูเมีย) มี ๒ ดวง ๑๒. อุตรผลคุนี, อุตตรผลคุนี (ดาวเพดาน หรือ ดาววัวตัวเมีย) มี ๒ ดวง ๑๓. หัสต, หัสตะ, หัฏฐะ (ดาวศอกคู้ หรือ ดาวศีรษะช้าง) มี ๕ ดวง ๑๔. จิตระ, จิตรา (ดาวต่อมนํ้า ดาวไต้ไฟ ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวเสือ) มี ๑ ดวง ๑๕. สวาดิ, สวาตี, สวัสติ (ดาวช้างพัง หรือ ดาวงูเหลือม) มี ๕ ดวง ๑๖. วิศาขา, วิสาขะ (ดาวคันฉัตร หรือ ดาวศีรษะกระบือ) มี ๕ ดวง ๑๗. อนุราธ, อนุราธะ, อนุราธา (ดาวประจำฉัตร หรือ ดาวนกยูง) มี ๔ ดวง ๑๘. เชษฐะ, เชษฐา (ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ) มี ๑๔ ดวง ๑๙. มูล, มูละ, มูลา (ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว) มี ๙ ดวง ๒๐. ปุรพษาฒ, บุรพอาษาฒ, บุพพาสาฬหะ (ดาวสัปคับช้าง หรือ ดาวราชสีห์ตัวผู้) มี ๓ ดวง ๒๑. อุตราษาฒ, อุตตรอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ (ดาวแตรงอน หรือ ดาวราชสีห์ตัวเมีย) มี ๕ ดวง ๒๒. ศรวณะ, ศระวณ, สาวนะ (ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี) มี ๓ ดวง ๒๓. ธนิษฐะ, ธนิษฐา (ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี ดาวไซ หรือ ดาวกา) มี ๔ ดวง ๒๔. ศตภิษัช, สตภิสชะ (ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์) มี ๔ ดวง ๒๕. บุรพภัทรบท, ปุพพภัททะ (ดาวโปฐบท ดาวแรดตัวผู้ หรือ ดาวหัวเนื้อทราย) มี ๒ ดวง ๒๖. อุตรภัทรบท, อุตตรภัทรบท, อุตตรภัททะ (ดาวแรดตัวเมีย หรือ ดาวไม้เท้า) มี ๒ ดวง ๒๗. เรวดี (ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวนาง) มี ๑๖ ดวง. | บังวาย | ก. เสื่อมเสีย, เสียหาย, เช่น ท่านท้าวเทเวศทังหลาย ทำกลบังวาย มิได้พินิตริะตรอง (สามดวง), เสื่อมคลาย เช่น แม้รักด้วยฤทธิ์ประสิทธิมน ตรวิกลกฤติยา พลันหน่ายบังวายสวาทอา ดุรร้าง บ่ รางนาน (กฤษณา). | บิวเรตต์ | น. หลอดแก้วยาว ปลายล่างมีลูกบิดให้ปิดเปิดได้ ข้างหลอดมีขีดบอกปริมาตรสำหรับวัดของเหลวที่ไขออก ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ทางเคมี. | ปริทัศน์ | (ปะริ-) น. การวิจารณ์ | เป็นลม, เป็นลมเป็นแล้ง | ก. มีอาการวิงเวียนหน้ามืด บางคราวถึงกับหมดสติ. | ฝึกสอน | ก. ฝึกหัดการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรวิชาการศึกษา | พยานหลักฐาน | น. ในทางแพ่งหมายถึง สิ่งที่จะนำมาใช้ในการวินิจฉัยข้อเท็จจริง ในทางอาญาหมายถึง สิ่งที่จะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยหรือผู้ต้องหามีความผิดหรือบริสุทธิ์. | พระที่นั่ง | น. อาคารที่ประทับของพระมหากษัตริย์ซึ่งตามปรกติอยู่ในพระราชวัง เช่น พระที่นั่งบรมพิมาน พระที่นั่งอัมพรสถาน, อาคารที่เสด็จออกมหาสมาคม เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งวโรภาษพิมาน, ที่ประทับซ้อนบนพระแท่นราชบัลลังก์ภายใต้นพปฎลเศวตฉัตร เช่น พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์, ยานที่ประทับในการเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนแห่ทางบก เช่น พระที่นั่งพุดตานทอง พระที่นั่งราเชนทรยาน | ภาษาราชการ | น. ภาษาที่ใช้สื่อสารในราชการและวิชาการเป็นต้น เช่น จดหมายติดต่อราชการ รายงานการประชุมของหน่วยงาน รายงานการวิจัย รายงานวิชาการสาขาต่าง ๆ, ภาษาระดับทางการ หรือ ภาษากึ่งแบบแผน ก็เรียก | ภาษาศาสตร์ | น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล. | เภสัชเคมี | (เพสัด-) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน. |
| period analysis | การวิเคราะห์ตามช่วงเวลา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | proximate analysis | การวิเคราะห์ขั้นต้น [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | pathological diagnosis | การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology | สรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, animal; zoodynamics; zoophysiology | สัตวสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, hominal; physiology, human | มนุษยสรีรวิทยา, สรีรวิทยามนุษย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, human; physiology, hominal | มนุษยสรีรวิทยา, สรีรวิทยามนุษย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, morbid; pathophysiology; physiology, pathologic | พยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, pathologic; pathophysiology; physiology, morbid | พยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | panel analysis | การวิเคราะห์ตามบุคคลในรุ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | pathologic physiology; pathophysiology; physiology, morbid | พยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pharmacodiagnosis | การวินิจฉัยโรคด้วยยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | psychophysiology | จิตสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathophysiology; physiology, morbid; physiology, pathologic | พยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiognosis | การวินิจฉัยโรคจากโฉมหน้าและสีหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiological | -สรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiological age | อายุทางสรีรวิทยา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | lexical analysis | การวิเคราะห์ศัพท์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | laboratory diagnosis | การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | lobby | ๑. การวิ่งเต้น๒. ที่นั่งผู้เข้าฟัง (ในสภา) [ ดู galleries ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | lobbying | การวิ่งเต้นหาเสียงในการออกกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | longitudinal migration analysis | การวิเคราะห์การย้ายถิ่นตามยาว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | longitudinal analysis | การวิเคราะห์ตามยาว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | level of analysis | ระดับการวิเคราะห์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | radiological diagnosis | การวินิจฉัยทางรังสีวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | real analysis | การวิเคราะห์เชิงจริง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | roentgen diagnosis | การวินิจฉัยด้วยรังสีเรินต์เกน [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, X-ray ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | ratio decidendi (L.) | เหตุผลในการวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | research, operation | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | symptomatology; semeiology; semiology | อาการวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | sequential analysis | การวิเคราะห์โดยลำดับ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | stable population analysis | การวิเคราะห์ประชากรคงตัว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | select committee | ๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการเฉพาะกิจ๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | systems analysis | การวิเคราะห์ระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | systems analysis | การวิเคราะห์ระบบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | semiology; semeiology; symptomatology | อาการวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | social engineering | การวิศวกรรมทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | semeiology; semiology; symptomatology | อาการวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | systems analysis | การวิเคราะห์ระบบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | syntactical analysis | การวิเคราะห์เชิงวากยสัมพันธ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | syndrome, organic anxiety | กลุ่มอาการวิตกกังวลเหตุพยาธิสภาพทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | snatching | การวิ่งราวทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | serum diagnosis; serodiagnosis | การวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | select committee | ๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | serodiagnosis; diagnosis, serum | การวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | self-analysis | การวิเคราะห์ตน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | occlusal analysis | การวิเคราะห์การสบ (ฟัน) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | operation research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | objective | วัตถุวิสัย, ปรวิสัย, ปรนัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | objective correlative | สหสัมพัทธ์ปรวิสัย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Technical report | รายงานการวิจัย [เทคโนโลยีการศึกษา] | Book review | บรรณนิทัศน์, การวิจารณ์หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Content analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา , การวิเคราะห์เนื้อหา, Example: Content analysis หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นวิธีการในทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร โดยการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ปรากฏในตำรา หนังสือ เอกสาร ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ บทสนทนา หรือรูปภาพ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ เนื้อหาเพื่อผลิตสื่อการสอน โดยผู้สอนมักมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับของเนื้อหา และขอบเขตเนื้อหาอย่างละเอียด รวมทั้งทำให้ผู้สอนเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแต่ละช่วงเวลาที่ทำการวิเคราะห์ด้วย และผลจากการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาช่วยให้สามารถแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยและหัวข้อย่อย สำหรับหน่วยในการวิเคราะห์ เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ จึงมักวิเคราะห์ออกมาเป็น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยหัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนแนวคิด จำนวนหน้า เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Journal | วารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Research service | บริการช่วยการวิจัย, Example: <p>บริการช่วยการวิจัย (Research service) เป็นบริการสำคัญหนึ่งของห้องสมุด จัดขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและสมบูรณ์ ซึ่งบรรณารักษ์จะติดตามข่าวสารความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาวิจัยนั้น รวบรวมข้อมูลรายการบรรณานุกรมจากหนังสือ วารสาร เอกสาร ทั้งที่เป็นสิ่งตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ โดยรูปแบบการจัดบริการช่วยการวิจัย มีดังนี้ <p>1. บริการสืบค้นข้อมูลในเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัย โดยรวบรวมรายการบรรณานุกรมจากทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจัดทำสาระสังเขปประกอบไว้ด้วยเพื่อช่วยประหยัดเวลาในการอ่านของผู้ใช้ <p>2. บริการจัดทำดรรชนี เพื่อเป็นคู่มือในการค้นหาสารสนเทศจากทรัพยากรห้องสมุด เช่น ดรรชนีวารสารที่ห้องสมุดบอกรับ <p>3. บริการจัดทำสาระสังเขป สาระสังเขปแต่ละรายการจะให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมอย่างครบถ้วน ได้แก่ ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ พร้อมเนื้อหาสาระที่สำคัญโดยสรุป ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัดเวลาของผู้ใช้ หากสนใจอ่านฉบับเต็มก็สามารถติดตามหาอ่านได้ง่าย <p>4. บริการแนะนำการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Technical report | รายงานการวิจัย, Example: คำว่า การวิจัย มาจากคำว่า Research มีรากศัพท์มาจาก Re + Search Re แปลว่า ซ้ำ Search แปลว่า ค้น ดังนั้น Research แปลว่า ค้นคว้าซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งน่าจะหมายถึง การค้นหาความรู้ความจริง ค้นแล้วค้นอีก ซึ่งจะทำให้ได้รับรู้ความรู้ ความจริงที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เพราะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการสรุปเป็นความรู้ความจริงนั้น ๆ ความหมายของการวิจัยตามพจนานุกรม การวิจัย คือ การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา (พจนานุกรม. 2525) การวิจัยคือ กระบวนการหาความรู้ความจริงใหม่ ที่มีระบบแบบแผนตามหลักวิชา อาศัยหลักเหตุผล ที่รอบคอบ รัดกุม ละเอียดและเชื่อ ถือได้ และความรู้ความจริงนั้นจะนำไปเป็นหลักการ ทฤษฎี หรือ ข้อปฏิบัติที่ทำให้มนุษย์ได้รับรู้และนำไปใช้เพื่อให้สามารถดำรงชีวิต ด้วยความสงบสุขหรือป้องกันและหลีกเลี่ยงภัยอันตรายต่าง ๆ ได้ ความหมายของรายงานผลการวิจัย หรือเรียกสั้นๆว่า รายงาน หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบ เรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้น คว้าที่เป็นระบบ มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ <p>วัตถุประสงค์ของรายงานผลการวิจัย <p>1. เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่ หรือปรับปรุงข้อมูลเดิม <p>2. เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิด เป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน สละสลวย <p>3. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิงอันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | System analysis | การวิเคราะห์ระบบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Large scale simulation research | การวิจัยการจำลองขนาดใหญ่ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnosis | การวินิจฉัยโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science communication | การสื่อสารวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Latent structure analysis | การวิเคราะห์กลุ่มแฝง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Logistic regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Conjoint analysis (Marketing) | การวิเคราะห์คอนจอยท์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Plastic analysis (Engineering) | การวิเคราะห์ด้วยวิธีพลาสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Colorimetric analysis | การวิเคราะห์โดยการวัดสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrochemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมีำไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nearest neighbor analysis (Statistics) | การวิเคราะห์เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (สถิติ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Function point analysis | การวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnosis, Ultrasonic | การวิเคราะห์ด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Williams syndrome | กลุ่มอาการวิลเลียมส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Activity analysis | การวิเคราะห์กิจกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Agricultural research | การวิจัยทางการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] | Cost analysis | การวิเคราะห์ต้นทุน [เศรษฐศาสตร์] | Cost-benefit analysis | การวิเคราะห์ต้นทุนต่อผลตอบแทน [เศรษฐศาสตร์] | Analysis | การวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] | Diversification | การวิเภท [เศรษฐศาสตร์] | Economic analysis | การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | Chemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมี [เศรษฐศาสตร์] | Comparative analysis | การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์] | Economic research | การวิจัยทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | Monetary analysis | การวิเคราะห์ภาวะการเงิน [เศรษฐศาสตร์] | Discriminant analysis | การวิเคราะห์การจำแนกประเภท [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Remote-sensing images | การวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Remote sensing | การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Error analysis (Mathematics) | การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Analysis of variance | การวิเคราะห์ความแปรปรวน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Analysis of covariance | การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Value analysis (Cost control) | การวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Structural analysis (Engineering) | การวิเคราะห์โครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cluster analysis | การวิเคราะห์จัดกลุ่ม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Complex analysis | การวิเคราะห์เชิงซ้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Quantitative analysis | การวิเคราะห์เชิงปริมาณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Instrumental analysis | การวิเคราะห์โดยอุปกรณ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Factor analysis | การวิเคราะห์ตัวประกอบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Principle components analysis | การวิเคราะห์ตัวประกอบสำคัญ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| อาคารวิจัย | [ākhān wijai] (n, exp) EN: research center FR: centre de recherches [ m ] ; unité de recherches [ f ] | อักขรวิธี | [akkharawithī] (n) EN: treatise on spelling and phonetics ; orthography | อาณาจักรวิทยาศาสตร์ | [ānājak witthayāsāt] (n, exp) EN: domain of science ; field of science FR: domaine de la science [ m ] | ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์ | [baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis | ดำเนินการวิจัย | [damnoēnkān wijai] (v, exp) EN: conduct a research | กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา | [kāiyawiphāksāt lae sarīrawitthayā] (n, exp) EN: anatomy and physiology | การวิจัย | [kān wijai] (n) EN: research FR: étude [ f ] | การวิจัยเชิงปริมาณ | [kān wijai choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ | [kān wijai choēng patibatkān] (n, exp) EN: action research ; | การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม | [kān wijai choēng patibatkān baēp mī suanruam] (n, exp) EN: Participatory Action Research (PAR) | การวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา | [kān wijai choēng patibatkān thāng kānseuksā] (n, exp) EN: action research in education | การวิจัยเชิงประยุกต์ | [kān wijai choēng prayuk] (n, exp) EN: applied research FR: recherche appliquée [ f ] | การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ | [kān wijai choēng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific research FR: recherche scientifique [ f ] | การวิจัยขั้นพื้นฐาน | [kān wijai khanpheūnthān] (n, exp) EN: basic research FR: recherche fondamentale [ f ] | การวิจัยและพัฒนา | [kān wijai lae phatthanā] (n, exp) EN: Research and Development ; R&D FR: recherche et développement ; R&D | การวิจัยตลาด | [kān wijai talāt] (n, exp) EN: market research | การวิจัยทางสังคมศาสตร์ | [kān wijai thāng sangkhomsāt] (n, exp) EN: social science research | การวิจัยวัฒนธรรม | [kān wijai watthanatham] (n, exp) EN: cultural research | การวิจารณ์ | [kān wijān] (n) EN: review FR: critique [ f ] | การวิจารณ์หนังสือ | [kān wijān nangseū] (n, exp) EN: book review FR: critique littéraire [ f ] | การวิเคราะห์ | [kān wikhrǿ] (n) EN: analysis FR: analyse [ f ] | การวิเคราะห์เชิงเหตุผล | [kān wikhrǿ choēng hētphon] (n, exp) EN: causal analysis | การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ | [kān wikhrǿ choēng khunnaphāp] (n, exp) EN: qualitative analysis FR: analyse qualitative [ f ] | การวิเคราะห์เชิงปริมาณ | [kān wikhrǿ choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative analysis FR: analyse quantitative [ f ] | การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ khā sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis | การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ | [kān wikhrǿ khunnaphāp nām] (n, exp) FR: analyse de la qualité de l'eau [ f ] | การวิเคราะห์ความแปรปรวน | [kān wikhrǿ khwām praēprūan] (n, exp) EN: analysis of variance (ANOVA) | การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม | [kān wikhrǿ khwām praēprūan ruam] (n, exp) EN: analysis of covariance (ANCOVA) | การวิเคราะห์กระบวนการ | [kān wikhrǿ krabūankān] (n, exp) EN: process analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา | [kān wikhrǿ neūahā] (n, exp) EN: content analysis | การวิเคราะห์งาน | [kān wikhrǿ ngān] (n, exp) EN: job analysis | การวิเคราะห์ปัจจัย | [kān wikhrǿ patjai] (n, exp) EN: factor analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน | [kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค | [kān wikhrǿ patjai thāng thēknik] (n, exp) EN: technical analysis | การวิเคราะห์ภายใน | [kān wikhrǿ phāinai] (n, exp) EN: internal analysis | การวิเคราะห์ภายนอก | [kān wikhrǿ phāinøk] (n, exp) EN: external analysis | การวิเคราะห์พฤติกรรม | [kān wikhrǿ phreuttikam] (n, exp) EN: behavior analysis FR: analyse du comportement [ f ] | การวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ | [kān wikhrǿ phreuttikam manut] (n, exp) FR: étude du comportement humain [ f ] | การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค | [kān wikhrǿ phreuttikam phūbøriphōk] (n, exp) FR: analyse du comportement du consommateur [ f ] | การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop] (n, exp) EN: system analysis | การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop khøkhwām] (n, exp) EN: discourse analysis | การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis | การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย | [kān wikhrǿ sahasamphan yāng-ngāi] (n, exp) EN: simple correlation analysys | การวิเคราะห์สัมพันธสาร | [kān wikhrǿ samphanthasān] (n, exp) EN: discourse analysis | การวิเคราะห์ศัพท์ | [kān wikhrǿ sap] (n, exp) EN: lexical analysis | การวิเคราะห์เศรษฐกิจ | [kān wikhrǿ sētthakit] (n, exp) EN: economic analysis FR: analyse économique [ f ] | การวิเคราะห์ตลาด | [kān wikhrǿ talāt] (n, exp) EN: market analysis FR: analyse de marché [ f ] | การวิเคราะห์ต้นทุน | [kān wikhrǿ tonthun] (n, exp) EN: cost analysis FR: analyse du coût [ f ] | การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ | [kān wikhrǿ tonthun lae phonprayōt] (n, exp) EN: cost-benefit analysis FR: analyse coût-bénéfice [ f ] ; analyse coût-avantage [ f ] | การวิ่ง | [kān wing] (n) EN: running FR: course (à pied) [ f ] ; jogging [ m ] |
| marathon | (n, vt) การวิ่งแข่งมาราธอน (วิ่งนาน ต้องใช้ความอดทน) | physiology | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | push-up | (n) |Amer| การวิดพื้น | haccp | (abbrev) การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม, มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร ย่อจาก hazard analysis critical control point | anthropogenic | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องการกำเนิดและการวิวัฒนาการของมนุษย์, ที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ เช่น The anthropogenic contribution to greenhouse gas has been established as an infinitesimally small amount., See also: anthropogenetic | numbers | (n) หนังสือกันดารวิถี หนังสือเล่มที่ 4 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament | hyperventilate | (vi) หายใจลึก ยาว และเร็วกว่าปกติ บางครั้งทำให้เกิดการวิงเวียนศีรษะ | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| analysis | (n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown | analysis | (n) จิตวิเคราะห์, See also: การวิเคราะห์ทางจิตใจ, Syn. psychotherapy, depth psychiatry | analysis | (n) ผลการวิเคราะห์ | analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์, See also: ซึ่งใช้การวิเคราะห์, Syn. analytical, systematic | anatomy | (n) การวิเคราะห์อย่างละเอียด | animadversion | (n) การวิพากษ์วิจารณ์, Syn. blame, comment | ARS | (n) การวิจัยทางการเกษตร | assay | (n) การวิเคราะห์ทางเคมี | barrage | (n) การโต้แย้ง, See also: การวิจารณ์ | brawl | (n) การวิวาท, See also: การทะเลาะเบาะแว้ง, การทุ่มเถียง, การทะเลาะวิวาท, Syn. fight | canter | (n) การวิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง) | canter | (vt) วิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง) | canter | (vi) วิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง), Syn. jog, trot | condemnation | (n) การวิจารณ์อย่างแรง, Syn. censure, denunciation | critical | (adj) เกี่ยวกับการวิจารณ์ | criticism | (n) การวิจารณ์, Syn. caviling, carping | dash | (n) การวิ่งแข่งระยะสั้น (ทางกีฬา), See also: การแข่งขันวิ่ง, Syn. race, sprint | debate | (n) การพิจารณา, See also: การใช้ดุลยพินิจ, การไตร่ตรอง, การใคร่ครวญ, การวินิจฉัย, Syn. cogitation, consideration, deliberation, meditation, reflection | diagnosis | (n) การวินิจฉัยโรค, See also: การหาสาเหตุ, Syn. prognosis, pathology, analysis, determination | diagnostic | (adj) ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยโรค, See also: ซึ่งใช้ในการหาสาเหตุ, Syn. demonstrative, distinquishing | disparagement | (n) การดูถูกดูหมิ่น, See also: การวิพากษ์วิจารณ์ในทางลบ, Syn. depreciation, detraction | efferent | (adj) ซึ่งสั่งการจากอวัยวะส่วนกลาง (โดยเฉพาะสมองและไขสันหลัง) (ทางสรีรวิทยา), See also: ซึ่งออกจากจุดศูนย์กลาง, Ant. afferent | electrophoresis | (n) การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้น, See also: วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข | entreaty | (n) การขอร้อง, See also: การวิงวอน, การออดอ้อน, Syn. plea, request, supplication | estimation | (n) การประเมิน, See also: การวินิจฉัย, การอนุมาน, Syn. assessment, evaluation, judgement | fag | (n) เด็กรับใช้, See also: เด็กนักเรียนที่มีงานพิเศษคือ การวิ่งซื้อของให้เจ้านาย, Syn. errand boy | going-over | (n) การตรวจสอบ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การสืบสวน, การวิเคราะห์, Syn. inspection, examination, overhaul | home run | (n) การตีลูกที่ทำให้ผู้ตีสามารถทำแต้มโดยการวิ่งได้ครบรอบทั้ง4 เบสในกีฬาเบสบอล | write in for | (idm) เขียนไปขอ (จากรายการวิทยุ, โฆษณา) | lobby through | (phrv) ได้รับอนุมัติกฎหมายโดยการวิ่งเต้น (ทางการเมือง), See also: ล้อบบี้ผ่าน / ทาง | jog | (n) การวิ่งเหยาะๆ, See also: การวิ่งช้าๆ | laboratory | (n) ห้องปฏิบัติการ, See also: ห้องทดลอง, ห้องปฏิบัติการวิจัย, Syn. lab, research lab, science lab | lope | (n) การวิ่งเร็วอย่างสบายๆ | middle-distance | (adj) เกี่ยวกับการวิ่งแข่งระยะกลาง | misdiagnosis | (n) การวินิจฉัยผิด | pace | (n) อัตราการเดิน, See also: อัตราการวิ่ง, อัตราการเคลื่อนไหว, Syn. speed | phylogenesis | (n) การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต | physiology | (n) สรีรศาสตร์, See also: สรีรวิทยา | plea | (n) การขอร้อง, See also: การวิงวอน, Syn. appeal, request | pleadings | (n) การแก้ต่าง, See also: การแก้ตัว, การแก้ฟ้อง, การขอร้อง, การวิงวอน | press-up | (n) การวิดพื้น, Syn. push-up | programming | (n) ตารางรายการวิทยุหรือโทรทัศน์, See also: การจัดตารางรายการวิทยุหรือโทรทัศน์, Syn. broadcasting, programing | project | (n) แผนงาน, See also: โครงการ, โครงการวิจัย, Syn. design, scheme, plan | qualitative analysis | (n) การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ | qualmish | (adj) ที่มีอาการวิงเวียน | quantitative analysis | (n) การวิเคราะห์หาปริมาณหรือจำนวณ | quarrel | (n) การทะเลาะ, See also: การวิวาท, Syn. bickering, dispute | relay | (n) การวิ่งผลัด, Syn. team race | remark | (n) การให้ข้อคิดเห็น, See also: คำติชม, การวิพากษ์วิจารณ์ | request | (n) เพลงที่ถูกขอตามรายการวิทยุหรือในสถานเริงรมย์ (เช่น ไนต์คลับ, บาร์) |
| accidence | (แอค' ซิเดินซฺ) n. อักขรวิธี, การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของรูปคำ, Syn. rudiment | algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ | analysis | (อะแนล' ลิซิส) n. การวิเคราะห์, การแยกธาตุ, การจำแนกแยกแยะ, การวิเคราะห์, การวิภาค, Syn. anatomization, dissection | analyst | (แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้วิเคราะห์, นักวิเคราะห์, จิตแพทย์ผู้ทำการวิเคราะห์ | analytic | (แอนนะลิท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการวิเคราะห์, เกี่ยวกับการแยกธาตุ, เกี่ยวกับการจำแนกแยกแยะ., Syn. logical | anchorman | หัวเรืยวหัวแรง, หลักสำคัญ, นักกีฬาหลักคนสุดท้าย (เช่นในการวิ่งผลัด) | animadversion | (แอนนิแมดเวอ' เชิน) n. การตำหนิ, การวิจารณ์, คำตำหนิ, คำวิจารณ์ (censure) | appreciation | (อะพรี'ชีเอ'เชิน) n. ความรู้คุณค่า, ความกตัญญู, การประเมินค่า, การตระหนัก, การหยั่งรู้, การเพิ่มขึ้นของราคา, การวิจารณ์, บทวิจารณ์, Syn. esteem, acknowledgment, advance, Ant. disregard, depreciation | arpanet | (อาร์ปาเน็ต) ARPA นั้นย่อมาจาก Advanced Research Project Agency เป็นชื่อหน่วยงานที่ทำการวิจัยและทดลองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบัน เครือข่ายอาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (Internet) | assay | (อะเซ') vt. ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์, ประเมินค่า, พยายาม. -n. การหาปริมาณของโลหะ (โดยเฉพาะเงินหรือทอง) ในแร่หรือโลหะผสม, สารที่ได้รับวิเคราะห์, รายงานการวิเคราะห์, ความพยายาม -assayer n., Syn. test, analyze, examination | assertion | (อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement | autocriticism | (ออโทคริท'ทิซิสซึม) n. การวิจารณ์ตัวเอง, การสำเร็จตัวเอง | baton | n. ตะบอง, กระบอง, ไม้ของผู้นำจังหวะดนตรี, คทา, ไม้ต่อแรงของการวิ่งผลัด | breakdown | (เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว, การล้มเจ็บ, การไม่สบาย, การสลายตัว, การวิเคราะห์, การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง | buret | (บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี | burette | (บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี | byway | n. ถนนส่วนตัว, ถนนลี้ภัย, ถนนสายเปลี่ยว, การวิจัยที่ปิดบัง, ความพยายามที่ปิดบัง | canter | (แคน'เทอะ) { cantered, cantering, canters } n. ชายพเนจร, ผู้ที่ปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, การวิ่งเหยาะ ๆ ของม้า vt., vi. วิ่งเหยาะ ๆ | catacrotism | (คะแท็ค'โครทิสซึม) n. ชีพจรวิกล | computer specialist | ผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์หมายถึง ผู้ที่มีความรู้พิเศษในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ อาจหมายถึง ระบบตัวเครื่อง การเขียนโปรแกรม หรือการวิเคระห์ระบบ ก็ได้ | critical | (คริท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับการวิจารณ์, เกี่ยวกับการวิเคราะห์, ซึ่งติเตียน, เกี่ยวกับความเป็นความตาย, เกี่ยวกับวิกฤติกาล, อันตราย, เกี่ยวกับจุดเปลี่ยนแปลงหรือจุดวิกฤตบนเส้นโค้ง, See also: criticalness n. ดูcritical, Syn. censor | criticism | (คริท'ทิซิสซึม) n. การวิจารณ์, การติเตียน, การจับผิด, บทวิจารณ์, วิธีการวิจารณ์ | critique | (คริทิด') { critiqued, critiquing, critiques } n. บทวิจารณ์, บทวิจารณ์สั้น ๆ , วิธีการวิจารณ์. vt. วิจารณ์, วิเคราะห์ | cronyism | (โคร้ว หนี่ ยิ เสิ่ม) n. การวิจารณ์, การติเตียน, การจับผิด, บทวิจารณ์, วิธีการวิจารณ์ | cursorial | (เคอโซ'เรียล) adj. เกี่ยวกับการวิ่ง | darpanet | (ดาร์พาเน็ต) ย่อมาจาก Defense Advanced Research Projects Agency Network (แปลว่า เครือข่ายสำนักงานโครงการวิจัยขั้นสูงของกระทรวงกลาโหม) เป็นชื่อหน่วยงานที่เป็นเครือข่ายสำนักงานที่ทำโครงการวิจัยขั้นสูงทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบันเครือข่ายดาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (internet) ดู internet ประกอบ | deejay | (ดี'เจ) n. โฆษกรายการเพลงจากแผ่นเสียงของรายการวิทยุกระจายเสียง, Syn. disk jockey, DJ | degeneracy | (ดิเจน'เนอระซี) n. ความเสื่อม, การวิปริต | diagnosis | (ไดแอกโน'ซิส) n. การวินิจฉัย, การตรวจโรค, | diagnostic | (ไดแอกนอส'ทิค) adj. เกี่ยวกับการวินิจฉัย | diagnostic program | ชุดคำสั่งวินิจฉัยหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนประกอบใด ๆ ของเครื่อง หรือวินิจฉัยข้อผิดพลาดของการลงรหัส | discrimination | (ดิสคริมมะเน'เชิน) n. การแยกแยะ, การแบ่งแยก, การเลือกที่รักมักที่ชัง, การวินิจฉัย., Syn. perception, bias, Ant. equity, impartiality | electronics | n. วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้อุปกรณ์และระบบที่เกี่ยวกับการวิ่งของอิเล็กตรอนในสูญญากาศ หรือในสื่อที่เป็นแก๊ส | emergence | (อิเมอ'เจินซฺ) n. การโผล่ออกมา, การปรากฎออกมา, การวิวัฒนาการ | entreaty | (เอนทรี'ที่) n. การขอร้อง, การวิงวอน, คำขอร้อง, คำวิงวอน, คำอ้อนวอน | estimation | (เอสทิเม'เชิน) n. การประมาณ, การประเมิน, การวินิจฉัย, ความคิดเห็น, ความนับถือ, ความเคารพ, Syn. estimate | exploration | (เอคซฺพละเร'เชิน) n. การสำรวจค้น, การสำรวจ, การตรวจ, การวินิจฉัย, สอบสวน | field work | n. การวิจัยค้นคว้าหรือสำรวจในสถานที่จริง., See also: fieldworker n. | flak | (แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน., Syn. flack | gait | (เกท) { gaited, gaiting, gaits } n. ท่าทางการเดิน, ท่าทางการย่างก้าว, ท่าทางการวิ่ง, ความเร็วของการเคลื่อนที่ดังกล่าว. vt. สอนวิธีการย่างเท้าของม้า, Syn. bearing | gaited | (เก'ทิด) adj. ซึ่งมีท่าทาง เฉพาะของการเดิน (การย่างเท้าและการวิ่ง) | gallop | (แกล'ลัพ) vi. ความบ้า, วิ่งควบ, วิ่งกระโดดอย่างรวดเร็วเหมือนม้า. vt. ทำให้ม้าวิ่งควบ. n. ท่าวิ่งควบของม้า ยกขาทั้ง4ขึ้นควบแต่ละครั้ง) , การวิ่งในท่าดังกล่าว, การไปอย่างรวดเร็ว., See also: galloper n., Syn. trot, run | home run | (เบสบอล) n. การตีลูกที่ทำให้ผู้ตีสามารถทำแต้มโดยการวิ่งรอบสนามเล่น, ขากลับ, การวิ่งตอนสุดท้าย | hook | (ฮุค) n. ตะขอ, ขอ, ตะขอแขวน, เบ็ดปลา, เคียว, สับ, กับดัก, หลุมพราง, หญิงโสเภณี, หมัดสอยดาว, คุ้งแม่น้ำ -Phr. (by hook or by crook โดยวิธีการวิธีหนึ่ง) vt. เกี่ยวติด, ใช้ตะขอเกี่ยว, ใช้เบ็ดตก, ล่อ, หลอกลวง, ล้วงกระเป๋า, ขโมย, ต่อยหมัดตวัดหรือสอยดาว. vi. ยึดติดหรือเกี่ยวโดย | image processing | การประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น | information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | inquisition | (อินควิซิช'เชิน) n. การสอบสวนอย่างขู่เข็ญ, การสืบสวน, การวินิฉัย, คณะผู้ทำการสอบสวน, ศาลพระสเปนสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, Syn. investigation | it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | knock | (น็อค) { knocked, knocking, knocks } vi. เคาะ, ตี, ทุบ, กระแทก, ชก, ต่อย, ชน n. การเคาะ, เสียงเคาะ, การวิจารณ์ในทางที่ไม่ดี, เสียงเครื่องยนต์ที่ไม่ปกติ -Phr. (knock around (about) เถลไถล ปล่อยเวลาให้ผ่านไปโดยเปล่า, ประโยชน์) . -Id. (knock it off หยุด) . -Phr. (knock out | lap | (แลพ) { lapped, lapping, laps } n. หน้าตัก, ตัก, ที่เป็นแอ่ง, ชายเสื้อ, กระพุ้งผ้า, การควบคุม, การรับผิดชอบ, การพับ, การพัน, การคาด, การคาด, การห่อ, การวางซ้อน, การวิ่งรอบ, ส่วนที่เกย v. พับ, พัน, คาด, ห่อ, วางซ้อน, วิ่งแซงหน้าไปหนึ่งรอบ, ก่อเชื่อม, ทับเกย, วิ่งรอบ, เลย. abbr. laparotomy, leucine aminopeptidase, left atrail presaure, leukocyte alkaline phosphatase |
| acquaintance | (n) การวิสาสะ, ความสนิทสนม, ความเป็นกันเอง, ความคุ้นเคย | altercation | (n) การวิวาท, การทะเลาะ | analysis | (n) วิภาค, การแยกแยะ, การวิเคราะห์ | analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | analytical | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | animadversion | (n) การวิจารณ์, การติเตียน, การตำหนิ | assay | (n) การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์ | brawl | (n) การทะเลาะกัน, การมีปากเสียง, การวิวาท | broadside | (n) การวิจารณ์อย่างรุนแรง, กระดาษพิมพ์หน้าเดียว | bustle | (n) การวิ่งเต้น, การเป็นธุระให้, ความกระวีกระวาด, ความวุ่นวาย | career | (n) อาชีพ, งานการ, การวิ่งเต้น | censure | (n) การตำหนิ, การด่าว่า, การติเตียน, การวิจารณ์ | construe | (n) การตีความ, การวิเคราะห์ประโยค, การอนุมาน, การอธิบาย | critical | (adj) วิกฤติอันตราย, เกี่ยวกับการวิจารณ์ | criticism | (n) การวิจารณ์, การวิเคราะห์, การติเตียน, บทวิจารณ์ | critique | (n) บทวิจารณ์, คำวิจารณ์, ศิลปะแห่งการวิจารณ์ | delineation | (n) การวาดภาพ, การวาดเค้าโครง, การวาดลายเส้น, การวิเคราะห์, การพรรณนา | diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค | diagnostic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์โรค, เกี่ยวกับการตรวจโรค | dissection | (n) การผ่าตัด, การชำแหละ, การผ่าศพ, การวิเคราะห์, การจำแนก | dissension | (n) การทะเลาะ, การวิวาท, ความขัดแย้ง, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน | electrolysis | (n) การวิเคราะห์สารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า | entreaty | (n) การอ้อนวอน, การวิงวอน, การขอร้อง, การร้องขอ, คำขอร้อง | estimation | (n) การประมาณ, การประเมิน, การตีราคา, ความคิดเห็น, การวินิจฉัย | exploration | (n) การสำรวจ, การตรวจค้น, การสอบสวน, การวินิจฉัย | faint | (n) อาการเป็นลม, อาการวิงเวียน, อาการหน้ามืด, ความอ่อนแรง | identification | (n) การชันสูตร, การวินิจฉัย, การชี้ตัว, การแยกแยะ | inference | (n) การลงความเห็น, การวินิจฉัย, การสรุป, การอนุมาน, การแสดง | marathon | (n) การวิ่งทน, การวิ่งมาราธอน | marriage | (n) การสมรส, การแต่งงาน, การวิวาห์ | matrimony | (n) การแต่งงาน, การสมรส, การวิวาห์ | miscalculation | (n) การคำนวณผิด, การคาดผิด, การกะผิด, การวินิจฉัยผิด | physiological | (adj) เกี่ยวกับสรีรวิทยา | physiologist | (n) นักสรีรศาสตร์, นักสรีรวิทยา | physiology | (n) สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | plea | (n) คำขอร้อง, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง, การวิงวอน, การอ้อนวอน | quarrel | (n) ข้อพิพาท, การทะเลาะ, การวิวาท, เรื่องวิวาท | race | (n) การแข่งขัน, การวิ่งแข่ง, ชนชาติ, เชื้อสาย | racing | (n) การแข่งรถ, การแข่งความเร็ว, การวิ่งแข่ง, การแข่งม้า | rampage | (n) การอาละวาด, ความวุ่นวาย, ความโมโห, การวิ่งพล่าน | relay | (n) การสืบทอด, กองหนุน, การวิ่งผลัด, เครื่องถ่ายทอด | research | (n) การวิจัย, การค้นคว้า, การสำรวจ, การวินิจฉัย | review | (n) การวิจารณ์หนังสือ, การสวนสนาม, บทวิจารณ์, การทบทวน | run | (n) ทางน้ำไหล, การวิ่ง, การเดินเครื่อง, ทิศทาง, เที่ยวเรือ | running | (n) การแข่งขัน, การวิ่ง, การวิ่งเต้น, การเคลื่อนที่, การจัดการ, ความต่อเนื่อง | scamper | (n) การวิ่งเล่น, การวิ่งหนี | snatch | (n) การฉก, การฉวย, การตอด, การวิ่งราว, การฉุดคร่า, การขโมย | SOAP soap opera | (n) ละครโทรทัศน์, ละครวิทยุ | solicitation | (n) การวิงวอน, การขอร้อง, การเชื้อเชิญ, การชักชวน, การจูงใจ | stampede | (n) การวิ่งอลหม่าน, การตื่นตูม, การแตกตื่น, การแตกหนี, การหลั่งไหล |
| analyzed | (vt) กระบวนการวิเคราะห์ | chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม | convergent evolution | (n) การวิวัฒนาการแบบเข้าหากัน | disease | (n) การตอบสนองทางพยาธิสรีรวิทยาต่อปัจจัยภายนอก หรือภายใน | Diskriminanzanalyse { f } | การวิเคราะห์จำแนกประเภท | dynamic | จรวิสัย, See also: A. static | hawthorne effect | [ฮาวธอร์น] (n) 1. การบิดเบือนผลการวิจัยเนื่องจากการตอบแบบสอบถาม -> A distortion of research results caused by the response of subjects to the special attention they receive from researchers [ แปลจาก www.onelook.com ] 2. The effect (usually positive or beneficial) of being under study, upon the persons being studied; their knowledge of the study often influences their behaviour. [ www.onelook.com ] | Hepatobiliary scintigraphy (HIDA) | เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี | rinth | [รินธฺ] (n) การวิ่ง | S.W.O.T | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true | spectroscopy | (n) การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สเปกตรัม | swot | (abbrev) SWOT คือ รูปแบบการวิเคราะห์ทางการตลาด เกิดจาก Strengths, Weaknesses, Opportunities และ Threats, Syn. SWOT Analysis | swot | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
| | 走り | [はしり, hashiri] การวิ่ง , ผลไม้ผักปลา , ต้นฤดู , จุดเริ่มปรากฏการณ์ | 解析 | [かいせき, kaiseki] (n) การวิเคราะห์ | 解析する | [かいせきする, kaisekisuru] (vt) การวิเคราะห์ | 賛否両論 | [さんぴりょうろん, sanpiryouron] (n) การวิพากวิจารณ์ที่แยกสองฝ่ายทั้งดีและไม่ดี | 研究発表 | [けんきゅうはっぴょう, kenkyuuhappyou] (n) การรายงานผลการวิจัย | 損益分岐点分析 | [そんえきぶんきてんぶんせき, son'ekibunkitenbunseki] การวิเคาระห์จุดคุ้มทุน, See also: R. break-even analysis | 費用便益分析 | [ひようべんえきぶんせき, hiyouben'ekibunseki] การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์, See also: R. cost-benefit analysis |
| schwindlig | (adj) วิงเวียน, คลื่นไส้ เช่น Mir ist schwindlig. ฉันมีอาการวิงเวียน, See also: schwindelig | schwindelig | (adj) วิงเวียน, คลื่นไส้ เช่น Mir ist schwindelig. ฉันมีอาการวิงเวียน, See also: schwindlig | Marathonlauf | (n) |der, nur Sg.| การวิ่งมาราธอน | Physiologie | (n) |die, nur Sg.| ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | physiologisch | (adj, adv) เกี่ยวกับสรีรศาสตร์, เกี่ยวกับสรีรวิทยา |
| course | (n) n.f. การวิ่ง, การวิ่งแข่งขัน(กีฬา), การแข่งม้า (หรือสัตว์ชนิดอื่น เช่น กระต่าย) | recherche | (n) |f| งานวิจัย, การวิจัย, Syn. étude |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |