ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: สังเกต, -สังเกต- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ลิขสิทธิ์ | ข้อสังเกต ไม่ควรมีเนื้อหาข้างล่าง ในส่วนต้นของคำ 'ลิขสิทธิ์' เพราะ ไม่ใช่ definition / คำแปล / คำจำกัดความ: ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้. |
|
| สังเกต | (v) observe, See also: notice, perceive, Syn. พินิจ, พิจารณา, ดู | สังเกต | (v) observe, See also: notice, note, perceive, discern, spot, see, Example: ผมสะดุ้งเล็กน้อย และพยายามไม่ให้อาจารย์ท่านนั้นสังเกตได้, Thai Definition: คอยจับตาดู, หมายจดจำไว้, ฟังหรือดูอย่างละเอียดละออ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ข้อสังเกต | (n) notice, See also: remark, observation, Syn. ข้อคิดเห็น, Example: คณะกรรมการมีข้อสังเกตว่าบริษัทจะต้องส่งเสริมกิจกรรมสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง, Count Unit: ข้อ, ประการ, Thai Definition: ข้อที่ตั้งเอาไว้หรือหมายเอาไว้ | น่าสังเกต | (adj) noticeable, See also: spectacular, doubtful, Example: ปรากฏการณ์ที่น่าสังเกตคือ ฝนดาวตกมักไม่เกิดก่อนการกลับมาของดาวหาง, Thai Definition: เป็นที่น่าสะดุดใจหรือน่ากังขา | พึงสังเกต | (v) note, See also: remark, notice, Syn. พึงระวัง, ควรระวัง, Example: เราต้องพึงสังเกตคนพวกนี้ไว้ให้ดี อาจจะนำความเดือดร้อนมาให้เราก็ได้ | ความสังเกต | (n) observation, See also: notice, Syn. การสังเกต, Example: พระแท้ซึ่งจะมีลักษณะหดเล็กและไม่คมชัดซึ่งหากใช้ความสังเกตแล้วสามารถพบเห็นได้โดยง่าย, Thai Definition: การคอยจับตาดูหรือฟังอย่างละเอียดลออ | ช่างสังเกต | (v) be observant, Syn. ตาไว, ช่างพินิจพิเคราะห์, ช่างสังเกตสังกา, Example: ครูควรจะช่างสังเกต และจับตาดูเด็กที่มีพฤติกรรมที่ต่างไปจากเพื่อนฝูง | สังเกตเห็น | (v) notice, See also: see something happen, Syn. มองเห็น, Ant. ไม่ได้สังเกต, Example: คนบางคนพูดไปยักคิ้วไปโดยไม่รู้ตัว แต่ผู้อื่นนั้นสังเกตเห็น | สังเกตการณ์ | (v) observe, See also: watch, keep an eye on, keep track of, monitor, Example: ด้วยความสนใจ ผมจึงได้แวะไปสังเกตการณ์และเข้าชมโรงเรียนต่างๆ เหล่านี้, Thai Definition: เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง | ข้อน่าสังเกต | (n) observation, See also: note, remark, Syn. ข้อสังเกต, Example: การเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมต่างๆ นี้มีข้อน่าสังเกตอยู่หลายประการ, Count Unit: ข้อ | นักสังเกตการณ์ | (n) observer, See also: watcher, watchman, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ทำหน้าที่สังเกตการณ์ | ผู้สังเกตการณ์ | (n) observer, See also: spectator, Syn. ผู้ดู, ผู้เฝ้าดู, Example: สุเทพได้รับคำสั่งให้เป็นผู้สังเกตการณ์บริเวณลานจอดรถ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง | ผู้สังเกตการณ์ | (n) observer, Syn. ผู้ดู, ผู้เฝ้าดู, ผู้อยู่ในเหตุการณ์, Example: ในการประชุมครั้งนี้ ท่านได้เข้าร่วมในฐานะผู้สังเกตการณ์เท่านั้น, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เข้าร่วมประชุมที่ไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง |
| ข้อสังเกต | น. สิ่งที่กำหนดไว้ให้สนใจเป็นพิเศษ เช่น บทความนี้มีข้อสังเกตอยู่หลายประการ เขาตั้งข้อสังเกตว่า ๒-๓ วันนี้มีชายแปลกหน้ามาเยี่ยม ๆ มอง ๆ ที่ประตูบ้านบ่อย. | ผิดสังเกต | ก. ไม่เป็นไปตามปรกติอย่างที่เคยพบเคยเห็น. | สังเกต | ก. กำหนดไว้, หมายไว้, เช่น ทำเครื่องหมายไว้เป็นที่สังเกต | สังเกต | ตั้งใจดู, จับตาดู, เช่น ไม่ได้สังเกตว่าวันนี้เขาแต่งตัวสีอะไร สังเกตกิริยาท่าทางเขาไว้ว่าเป็นคนดีหรือคนร้าย. | สังเกตการณ์ | ก. เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง. น. เรียกผู้เข้าร่วมประชุมที่ไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง ว่า ผู้สังเกตการณ์. | กา ๕ | ก. ทำเครื่องหมายเป็นรูปกากบาท, ทำเครื่องหมายไว้ให้สังเกตได้ เช่น ดูเฉพาะที่กาไว้. | การณ์ | (กาน) น. เหตุ, เค้า, มูล, เช่น รู้เท่าไม่ถึงการณ์ สังเกตการณ์. | ขนาด ๑ | (ขะหฺนาด) น. ลักษณะของรูปที่กำหนดสังเกตได้ว่าใหญ่ เล็ก สั้น ยาว หนัก หรือ เบา เท่านั้นเท่านี้ เช่น ขนาดใหญ่ ขนาดยาว ขนาด ๒ x ๑ เมตร | ขอมดำดิน | น. คนที่ปรากฏตัวขึ้นทันทีอย่างไม่คาดฝันหรือหายไปอย่างรวดเร็วไม่ทันได้สังเกต. | ความคลาด | ความแตกต่างระหว่างตำแหน่งของดาวฤกษ์ หรือเทห์ฟากฟ้าที่สังเกตเห็นกับตำแหน่งจริงของมันในขณะนั้น. | จับตา ๒, จับตาดู | ก. คอยเฝ้าสังเกต, จ้องระวังระไว. | ดอกจัน | น. เครื่องหมายมีลักษณะรูปกลม ๆ เป็นจัก ๆ ดังนี้ * เขียนไว้ข้างหน้าหรือหลังข้อความ เพื่อให้เป็นที่สังเกตหรือแสดงความสำคัญของคำหรือข้อความนั้น ๆ. | ตังเก | น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง ใช้จับปลาตามชายฝั่งทะเล ทางด้านค่อนมาทางหัวเรือมีเก๋ง ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นที่ติดตั้งเครื่องยนต์ ชั้นบนเป็นที่สำหรับผู้ควบคุมเรือใช้ดูทิศทาง มีเสากระโดง บนเสากระโดงมีแป้นกลมสำหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์ เรียกว่า รังกา ด้านท้ายเรือมีที่สำหรับโรยอวน และด้านหัวเรือมีที่สำหรับกว้านอวน. | ตำหนิ | น. รอยแผลเป็นหรือไฝปานเป็นต้นที่เป็นเครื่องหมายให้สังเกตเห็นได้, รอยเสียที่ผลไม้หรือสิ่งของ. | แตรฝรั่ง | น. เครื่องเป่าชนิดหนึ่งของชาวตะวันตก ทำด้วยโลหะ ใช้ลมเป็นต้นกำเนิดของเสียง มีหลายลักษณะ ใช้เป่าในงานพระราชพิธี มีผ้าของหมู่ทหารห้อยเป็นที่สังเกต, แตรลำโพง ก็เรียก. | ทัก ๑ | ก. กล่าวเป็นเชิงเตือน, พูดโอภาปราศรัยด้วยอัธยาศัยไมตรีเมื่อพบหน้ากัน, กล่าวหรือออกเสียงให้ระวังหรือสังเกตว่าจะเป็นภัยตามลัทธิที่ถือกัน เช่น จิ้งจกทัก. | ประสบการณ์นิยม | การแสวงหาความรู้โดยอาศัยการสังเกต การทดลอง และวิธีอุปนัย, ประจักษนิยม ก็ว่า. | เป้าหมาย | น. บุคคลหรือสิ่งที่ใช้เป็นเป้าแห่งการโจมตี หรือเป็นศูนย์กลางแห่งความใส่ใจหรือสังเกต | ผิดหูผิดตา | ก. ผิดสังเกต, ผิดแปลกไปจากเดิม. | แมวมอง | ผู้ที่คอยสังเกตหรือซุ่มดูว่ามีใครสวยหรือเล่นกีฬาเก่ง แล้วแนะนำให้วงการที่เกี่ยวข้องชักชวนมาเป็นดารา ประกวดความงาม หรือร่วมแข่งขันกีฬา เป็นต้น. | รังกา | น. ที่สำหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์บนยอดเสากระโดงเรือ มักทำเป็นแป้นกลมมีรั้วล้อมรอบ. | เรือตังเก | น. เรือต่อชนิดหนึ่ง ใช้จับปลาตามชายฝั่งทะเล ทางด้านค่อนมาทางหัวเรือมีเก๋ง ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นที่ติดตั้งเครื่องยนต์ ชั้นบนเป็นที่สำหรับผู้ควบคุมเรือใช้ดูทิศทาง มีเสากระโดง บนเสากระโดงมีแป้นกลมสำหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์ เรียกว่า รังกา ด้านท้ายเรือมีที่สำหรับโรยอวนและด้านหัวเรือมีที่สำหรับกว้านอวน. | เรือธง | น. เรือที่ผู้บัญชาการกองเรือ ซึ่งมียศตั้งแต่พลเรือตรีขึ้นไปใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน. | ลูกกระวิน | น. สิ่งที่มีรูปร่างกลมแบน ทำด้วยกระดูกสัตว์หรือพลาสติก สำหรับร้อยสายรัดประคดเอวด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อเป็นที่สังเกตว่าด้านใดเป็นด้านขวาหรือด้านซ้าย, ลูกกวิน หรือ ลูกถวิน ก็ว่า. | วิจิต | สังเกต, เห็นแจ้ง, รู้แจ้ง. | วิทยาศาสตร์ | น. ความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากปรากฏการณ์ธรรมชาติแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ, วิชาที่ค้นคว้าได้หลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ. | สรตะ | โดยปริยายหมายความว่า การคาดคะเนตามข้อสังเกตหรือสันนิษฐาน, การเก็งหรือการคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก, เช่น คิดสรตะแล้วงานนี้ขาดทุน, เขียนเป็น สะระตะ ก็มี. | สัญประกาศ | (สันยะปฺระกาด) น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ – ใช้ขีดไว้ใต้คำหรือข้อความที่สำคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่านสังเกตเป็นพิเศษ, ขีดเส้นใต้ ก็เรียก. | เส้นลึก | อาการที่เก็บความรู้สึกได้ดีจนยากที่จะสังเกตได้ว่าพอใจหรือไม่พอใจสิ่งใด เช่น เขาจับเส้นเจ้านายไม่ถูก เพราะเป็นคนเส้นลึกมาก. | หลงตา, หลงหูหลงตา | ว. ตกค้างอยู่โดยไม่เห็น, ปล่อยให้ผ่านสายตาไปโดยไม่ทันได้สังเกตเห็น. | หอคอย | น. อาคารสูงที่สร้างขึ้นสำหรับคอยระวังเหตุและสังเกตการณ์. | อ่าน | สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ | อาลักษณ์ ๒ | น. การเห็น, การสังเกต. |
| paired observations | ข้อมูลสังเกตชนิดคู่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | period of observation | ช่วงเวลาการสังเกต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | participant observer | ผู้สังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | observation | การสังเกต, ข้อสังเกต, การสังเกตการณ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | observation | ๑. การสังเกต, ข้อสังเกต๒. การปฏิบัติตาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | observation error | ความเคลื่อนคลาดของการสังเกต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | observation method | ระเบียบวิธีแบบสังเกต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | observer | ผู้สังเกตการณ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | obiter dictum (L.) | ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู dictum ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | observer status | สถานะผู้สังเกตการณ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | observer, participant | ผู้สังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | automonitor | โปรแกรมเฝ้าสังเกตตัวเอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | judicial dictum | ข้อสังเกตของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | monitor | ๑. ตัวจอภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ video display unit (VDU) ]๒. เฝ้าสังเกต [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | monitor | ๑. ตัวจอภาพ๒. เครื่องเฝ้าสังเกต, มอนิเตอร์ [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | monitor | ๑. ตัวจอภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ video display unit (VDU) ]๒. เฝ้าสังเกต [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | monitor system | ระบบเฝ้าสังเกต [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | method, observation | ระเบียบวิธีแบบสังเกต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | dictum | ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู obitor dictum ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Area monitoring | การเฝ้าสังเกตพื้นที่, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี หรือการเปื้อนของสารกัมมันตรังสีจากการตรวจวัดพื้นที่ในสถานปฏิบัติการทางรังสี ณ ตำแหน่งต่างๆ [นิวเคลียร์] | Condition monitoring | การเฝ้าสังเกตภาวะ, การสังเกต การวัด หรือแนวโน้ม ของตัวบ่งชี้ภาวะโดยเทียบกับพารามิเตอร์เสรี เช่น เวลาหรือรอบการทำงาน เพื่อแสดงว่า โครงสร้าง ระบบ หรือส่วนประกอบ สามารถใช้งานตามเกณฑ์ที่กำหนดได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต, Example: [นิวเคลียร์] | Environmental monitoring | การเฝ้าสังเกตสิ่งแวดล้อม, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี และความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมภายนอกสถานปฏิบัติการทางรังสี [นิวเคลียร์] | Workplace monitoring | การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ, การตรวจติดตามปริมาณรังสี และ/หรือ ความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสี ในสภาวะแวดล้อมของสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์] | Task related monitoring | การเฝ้าสังเกตตามภารกิจ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างเร่งด่วนสำหรับการบริหารจัดการในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์] | Special monitoring | การเฝ้าสังเกตพิเศษ, การตรวจติดตามที่กำหนดขึ้นสำหรับสถานการณ์จำเพาะ ของสถานปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอที่แสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมที่ดี โดยมากจะใช้ในขั้นตอนดำเนินการของสถานปฏิบัติการใหม่ ใช้ในกรณีที่มีการดัดแปลงที่สำคัญของสถานปฏิบัติการและวิธีปฏิบัติ หรือใช้กับปฏิบัติการภายใต้ภาวะผิดปกติ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ การเฝ้าสังเกตพิเศษนี้ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการเฉพาะแห่ง, Example: [นิวเคลียร์] | Source monitoring | การเฝ้าสังเกตต้นกำเนิดรังสี, การตรวจติดตามกัมมันตภาพที่ปลดปล่อยจากวัสดุกัมมันตรังสีสู่สิ่งแวดล้อม หรืออัตราปริมาณรังสีจากต้นกำเนิดรังสีในสถานปฏิบัติการ, Example: [นิวเคลียร์] | Routine monitoring | การเฝ้าสังเกตประจำ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีอย่างต่อเนื่อง โดยมีความมุ่งหมายเพื่อแสดงว่า สภาพการปฏิบัติงาน รวมทั้งระดับของปริมาณรังสีรายบุคคล เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำหนด การเฝ้าสังเกตประจำ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือการเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ, Example: [นิวเคลียร์] | Personal monitoring | การเฝ้าสังเกตรายบุคคล, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี และ/หรือ ความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในร่างกาย และ/หรือ บนร่างกายของแต่ละบุคคล โดยการใช้เครื่องวัดรังสี เช่น มาตรรังสีแบบพกพา หรือเครื่องวัดรังสีทั่วร่างกาย [นิวเคลียร์] | Mutant | พันธุ์กลาย, ผลจากการกลาย, สิ่งมีชีวิตที่สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ เกิดการกลายพันธุ์ขึ้นหนึ่งลักษณะหรือมากกว่า สามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นถัดไป และสังเกตเห็นผลที่เกิดจากการกลายพันธุ์ได้ [นิวเคลียร์] | Monitoring | การเฝ้าสังเกต, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี หรือ การเปื้อนของสารกัมมันตรังสีจากการตรวจวัด เพื่อประเมินหรือควบคุมการรับรังสี แบ่งเป็น 2 แบบ คือ <br>1. การเฝ้าสังเกตตามจุดตรวจ ได้แก่ การเฝ้าสังเกตตามรายบุคคล สถานที่ปฏิบัติการ ต้นกำเนิดรังสี และสิ่งแวดล้อม</br> <br>2. การเฝ้าสังเกตตามความมุ่งหมาย ได้แก่ การเฝ้าสังเกตเป็นประจำ หรือตามภารกิจที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นกรณีพิเศษ</br> [นิวเคลียร์] | Individual monitoring | การเฝ้าสังเกตรายบุคคล, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี และ/หรือ ความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในร่างกาย และ/หรือ บนร่างกายของแต่ละบุคคล โดยการใช้เครื่องวัดรังสี เช่น มาตรรังสีแบบพกพา หรือเครื่องวัดรังสีทั่วร่างกาย [นิวเคลียร์] | สังเกต | คำที่มักเขียนผิด คือ สังเกตุ, Example: กำหนดไว้ หมายไว้ ตั้งใจดู จับตาดู [คำที่มักเขียนผิด] | Election monitoring | การสังเกตการณ์การเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Environmental monitoring | การเฝ้าสังเกตุการณ์สิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] | Missing observations (Statistics) | ค่าสังเกตที่ขาดหายไป (สถิติ) [TU Subject Heading] | Monitoring | การสังเกตการณ์ [TU Subject Heading] | Observations | การสังเกต [TU Subject Heading] | Observers' manuals | คู่มือนักสังเกตการณ์ [TU Subject Heading] | Participant observation | การสังเกตการณ์แบบเข้าร่วม [TU Subject Heading] | Andean Community (Communidad Andina - CAN) | ประชาคมแอนเดียน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2512 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ประเทศ ได้แก่ โบลิเวีย โคลัมเบีย เอกวาดอร์ และเปรู และสมาชิกสมทบ 4 ประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา บราซิล อุรุกวัยและปารากวัย และประเทศผู้สังเกตการณ์ 2 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก และปานามา [การทูต] | Andean Community (Communidad Andina -CAN) | ประชาคมแอนเดียน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2515 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ประเทศ ได้แก่ โบลิเวีย โคลัมเบีย เอกวาดอร์ และเปรู และสมาชิกสมคบ ประเทศ ได้แก้ อาร์เจนตินา บราซิล อุรุกวัย และปารากวัย และประเทศผู้สังเกตการณ์ 2 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก และปานามา [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] | The Conference on Interaction and Confidence-Building Measures in Asia | การประชุมว่าด้วยการแสวงหามาตรการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (ด้านความมั่นคง) ในเอเชีย " CICA ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยความริเริ่มของคาซัคสถาน และมีสมาชิกเข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อินเดีย ปากีสถาน ปาเลสไตน์ รัสเซีย ตุรกี จีน อิสราเอล อิหร่าน อัฟกานิสถาน อียิปต์ อาเซอร์ไบจาน มองโกเลีย คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน และประเทศผู้สังเกตการณ์อีก 10 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยูเครน เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเลบานอน " [การทูต] | Cobra Gold | การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต] | Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] | Organization of American States | องค์กรรัฐอเมริกัน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2491 เป็นองค์กรความร่วมมือในทวีปอเมริกาและ แคริบเบียน ซึ่งเป็นองค์กรหลักด้านการเมืองในทวีปอเมริกา และในปัจจุบันได้ขยายบทบาทเน้นหนักความร่วมมือเพื่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการร่วมมือป้องกันและปราบปรามยาเสพติดและคอรัปชั่น ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประเทศผู้สังเกตการณ์ 45 ประเทศ โดยประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ถาวรของ OAS เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2541 (ประเทศสมาชิกดูที่ FTAA) [การทูต] | Organization of Islamic Conference | องค์การการประชุมอิสลาม " เป็นองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศอิสลาม ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนพฤษภาคม 2514 ปัจจุบันมีสมาชิก 56 ประเทศ ไทยเข้าเป็นผู้สังเกตการณ์เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2541 " [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Pacific Islands Forum | PIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต] | Palestinian Liberation Organization | องค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2507 เพื่อเป็นตัวแทนของชาวปาเลสไตน์ มีนาย Yasser Arafat เป็นประธาน PLO มีฐานะเป็นผู้สังเกตการณ์ (observer) ในสหประชาชาติ [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | Central American Integration System หรือ Sistema de la Integracion Centromericana | ระบบการรวมกลุ่มในอเมริกากลาง ก่อตั้งเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2534 เพื่อกระตุ้นกระบวนการบูรณาการกลุ่มประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ประกอบด้วยสมาชิก 7 ประเทศจากอเมริกากลางได้แก่ เบลิซ คอสตาริกา เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส นิการากัว และปานามา และสมาชิกสมทบ 1 ประเทศ คือ สาธารณรัฐโดมิกัน และประเทศผู้สังเกตการณ์ 3 ประเทศ ได้แก่ สเปน จีน และเม็กซิโก [การทูต] | United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] | Vienna Convention on Consular Relations | อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1961 สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้ตกลงให้จัดการประชุมระหว่างผู้แทนผู้มีอำนาจเต็ม จากประเทศสมาชิก เพื่อทำหน้าที่พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล และได้ประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1963 ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม ถึงวันที่ 22 เมษายน มีประเทศสมาชิกเข้าร่วมประชุม เป็นจำนวน 92 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ส่วนประเทศโบลิเวีย กัวเตมาลา ปละปารากวัย ได้เข้าร่วมประชุมด้วยในฐานะผู้สังเกตการณ์ (Observers)มีข้อน่าสังเกตว่า ในข้อ 73 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างอนุสัญญานี้ว่า จะไม่มีผลกระทบต่อความตกลงระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่ใช้บังคับระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงดังกล่าว และไม่มีข้อความใดในอนุสัญญานี้ที่จะตัดหนทางของรัฐในการทำความตกลงระหว่าง ประเทศ เพื่อยืนยันหรือเติมต่อหรือยืดขยายบทแห่งอนุสัญญานี้ออกไปอีก [การทูต] | Gene | ยีน, ส่วนของดีเอ็นเอทำหน้าที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ผ่านการสร้างโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างและกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ลักษณะที่ปรากฏภายนอกแบบต่างๆ เช่น รูปร่างหน้าตาของเด็กที่มีส่วนคล้ายกับพ่อแม่ สีสันของดอกไม้ หรือรสชาติของผลไม้ รวมไปถึงลักษณะภายในบางอย่างที่ไม่อาจสังเกตเห็นได้ด้วยตา เป็นผลโดยตรงหรือผลบางส่วน (ร่วมกับสิ่งแวดล้อม) จากการทำงานของยีน [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Mechanical stability time | ความเสถียรเชิงกลของน้ำยาง หมายถึง ความเสถียรของน้ำยางต่ออิทธิพลทางกล เช่น การกวน การปั๊ม การเคลื่อนย้าย หรือการกระทำทางกลโดยวิธีอื่นๆ สามารถทำได้โดยวัดระยะเวลาที่เริ่มปั่นกวนน้ำยางจนกระทั่งสังเกตเห็นน้ำยาง เริ่มจับตัวเป็นเม็ดเล็กๆ ในหน่วยของวินาที ค่า MST สูงจะบ่งชี้ว่า น้ำยางมีความเสถียรต่ออิทธิพลทางกลได้สูง แต่ถ้าค่า MST ต่ำแสดงว่าน้ำยางนั้นจะสูญเสียความเสถียร สามารถจะจับเป็นเม็ดได้ง่าย เมื่อน้ำยางถูกกระทบกับอิทธิพลทางกล [เทคโนโลยียาง] | Bed Unit, Observation | หน่วยเตียงสำหรับสังเกตอาการ [การแพทย์] | Billings Method | การสังเกตมูกปากมดลูก [การแพทย์] | Blood Pressure, Flush Method for Measurement | การวัดความดันโดยวิธีสังเกตสีเลือดฝาด [การแพทย์] | Case Studies | การศึกษาด้วยการสังเกตผู้ป่วยรายกรณี, การศึกษาเฉพาะกรณี, รายงานผู้ป่วยแต่ละคนที่มีลักษณะต่างจากผู้ป่วย, กรณีศึกษา [การแพทย์] | Cervical Mucous Method | การสังเกตมูกปากมดลูก [การแพทย์] | Clot Observation Test | การทดสอบการแข็งตัวของโลหิต, การทดสอบสังเกตลิ่มเลือด [การแพทย์] | Conferences, Preobservation | การประชุมปรึกษาก่อนการสังเกตการทำงาน [การแพทย์] | Conferences, Preobservation | การประชุมปรึกษาก่อนการสังเกตการทำงาน [การแพทย์] | Disease under Surveillance | โรคที่ต้องเฝ้าสังเกต [การแพทย์] |
| การสังเกต | [kān sangkēt] (n) EN: notice FR: observation [ f ] ; étude [ f ] | ข้อสังเกต | [khøsangkēt] (n) EN: notice ; remark ; observation ; note ; explanatory remark ; comment FR: observation [ f ] ; remarque [ f ] ; commentaire [ m ] | น่าสังเกต | [nāsangkēt] (adj) EN: noticeable ; spectacular ; doubtful FR: marquant ; remarquable ; notable | ผิดสังเกต | [phitsangkēt] (v) EN: be unusual ; not look right ; be unaccustomed ; be abnormal ; look funny | ผิดสังเกต | [phitsangkēt] (adj) EN: unusual ; untoward FR: bizarre ; étrange ; insolite ; inhabituel ; singulier ; qui sort de l'ordinaire | ผิดสังเกต | [phitsangkēt] (adv) EN: noticeably ; remarkably ; unusually | ผู้สังเกตการณ์ | [phū sangkētkān] (n) EN: observer FR: observateur [ m ] | สังเกต | [sangkēt] (v) EN: observe ; keep an eye on ; note ; notice ; watch ; examine ; view ; look at ; remark ; perceive ; discern ; spot ; see ; monitor FR: observer ; examiner ; noter ; remarquer | สังเกตเห็น | [sangkēt hen] (v, exp) EN: notice ; see something happen FR: constater ; percevoir ; discerner | สังเกตการณ์ | [sangkētkān] (v) EN: observe ; watch ; keep an eye on ; keep track of ; monitor FR: observer | สังเกตออก | [sangkēt øk] (v) EN: see ; make out ; perceive ; find out FR: percevoir |
| abnormally | (adv) อย่างผิดปกติ, See also: ผิดสังเกต | behold | (vt) เห็น, See also: แลดู, สังเกตเห็น, Syn. notice, see | bystander | (n) ผู้เห็นเหตุการณ์, See also: ผู้สังเกตการณ์, Syn. onlooker, watcher | be in evidence | (idm) ปรากฏตัวให้เห็นเด่นชัด, See also: เป็นที่สังเกต, สังเกตได้, สะดุดตา | bring someone to attention | (idm) ทำให้สังเกตเห็น, See also: ทำให้มองเห็น, Syn. come to | bring to attention | (idm) ทำให้สังเกตเห็น, See also: ทำให้มองเห็น, ทำให้สะดุดตากับ, Syn. come to | cognize | (vt) สังเกต, Syn. notice | contemplate | (vt) สังเกตอย่างพินิจพิเคราะห์, Syn. gaze at, notice | creep | (vi) ค่อยๆ เพิ่มขึ้น (อย่างไม่ทันสังเกต) | catch sight of | (phrv) สังเกตเห็น, See also: มองเห็น | detect in | (phrv) จับได้, See also: ตรวจสอบได้, สังเกตได้ | discern between | (phrv) มองเห็น, See also: เข้าใจ, สังเกตเห็น ความแตกต่าง, ความเหมือน, ความเชื่อมโยง | for the record | (idm) ที่น่าสังเกต | eagle-eyed | (adj) ซึ่งมีสายตาที่คมกริบ, See also: ซึ่งสามารถสังเกตเห็นได้ในสิ่งที่คนอื่นไม่เห็น, Syn. keen-sighted, sharp-eyed, sharp-sighted | espy | (vt) เห็นในทันทีทันใด (คำทางการ), See also: สังเกตเห็นในทันทีทันใด, Syn. notice, observe, sight | examine | (vt) พินิจพิจารณา, See also: พินิจ, ตรวจ, สังเกต, จับตามอง, พิเคราะห์, Syn. inspect, study | give to | (phrv) สนใจ, See also: สังเกตเห็น, Syn. pay to, take of | glitter with | (phrv) สะดุดตา, See also: สำคัญ, เป็นที่น่าสังเกต | go by | (phrv) ไม่สังเกตเห็น | play it cool | (idm) ทำแบบเงียบๆ ไม่ให้คนอื่นสังเกตเห็น, See also: ทำอย่างลับๆ | inappreciable | (adj) ซึ่งไม่สำคัญ, See also: แทบจะไม่ได้สังเกตเห็น, Syn. insignificant, negligible, Ant. appreciable, significant | inconspicuous | (adj) ซึ่งไม่สะดุดตา, See also: ซึ่งไม่เป็นเป้าสายตา, ซึ่งไม่เป็นที่สังเกต, ซึ่งไม่เด่น, Syn. unnoticeable, Ant. conspicious, noticeable | indiscernible | (adj) ซึ่งไม่สามารถสังเกตเห็นได้, See also: ซึ่งไม่สามารถเข้าใจได้, Syn. imperceptible, indistinct, Ant. discernible, perceptible | induction | (n) อุปนัย (ทางตรรกวิทยา), See also: การสรุปจากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้น | inductive | (adj) โดยอุปนัย, See also: โดยการหาข้อสรุปจากสิ่งที่สังเกตได้, Syn. understandable, comprehensible | leap out | (phrv) สะดุดตา, See also: เป็นที่สังเกตเห็น | let by | (phrv) ไม่สังเกตเห็น | let past | (phrv) ไม่สังเกตเห็น | keen | (adj) ช่างสังเกต, See also: สายตากว้างไกล, มีสายตาแหลมคม | landmark | (n) จุดสังเกต, See also: สถานที่ที่เป็นจุดสังเกต | look at | (phrv) ตรวจดู, See also: ดูอย่างสังเกต, Syn. examine | looker-on | (n) คนมอง, See also: ผู้สังเกต, Syn. onlooker | lowprofile | (n) ลักษณะที่แทบจะสังเกตไม่เห็น | lunar | (n) การสังเกตพระจันทร์เพื่อการเดินเรือ | mark | (vt) จด, See also: บันทึก, สังเกตเห็น, Syn. note, record | mind | (vt) สังเกต, See also: เข้าใจ | monitor | (vt) ดูแล, See also: ตรวจ, ติดตาม, เฝ้าสังเกต, Syn. control, watch, observe | note | (vt) สังเกต | noteworthy | (adj) น่าสังเกต, See also: สำคัญ, ควรพิจารณา, น่าจดจำ, น่าสนใจ, Syn. significant, Ant. insignificant, unimportant | notice | (n) ข้อสังเกต, Syn. indication, sign | notice | (n) การสังเกต, Syn. consideration, observation | notice | (vt) สังเกตเห็น, See also: พบ, เจอ, Syn. discover, examine, observe | obscure | (adj) ที่ไม่เด่น, See also: ซึ่งไม่เป็นที่สังเกต, ซึ่งไม่สำคัญ, Syn. unknown, undistinguished, Ant. famous, celebrated | observable | (adj) ที่สังเกตเห็นได้, See also: ที่เห็นได้, Syn. noticeable, visible, Ant. invisible | observance | (n) การสังเกต, Syn. observation | observant | (adj) ช่างสังเกต, Syn. watchful, attentive, perceptive, Ant. nonobservant, inattentive | observation | (n) การสังเกต, See also: การเฝ้าดู, การสังเกตการณ์, Syn. watching, review | observatory | (n) หอสังเกตการณ์ | observe | (vt) สังเกต, See also: สังเกตการณ์, Syn. notice, note, see, Ant. overlook, miss | observer | (n) ผู้สังเกตการณ์, See also: ผู้สังเกต |
| a posteriori | (เอ'โพสเทอรีออ'ไร) จากผลถึงเหตุ, จากประสบการณ์, จากการสังเกต | argus | (อาร์'กัส) n. ยักษ์ 100 ตาในนิยายกรีก, ผู้สังเกต, ผู้ที่ระมัดระวัง a giant with 100 eyes | astrodome | (แอส'โทรโดม) n. ห้องหลังคาโค้งเป็นรูปครึ่งวงกลมที่โปร่งใสบนส่วนสูงของเครื่องบินเป็นที่ ๆ สังเกตเหตุการณ์ท้องฟ้าและการขับเครื่องบิน | cognizance | n. การรับรู้, การยอมรับ, การสังเกต, คำสั่งศาล, อำนาจการพิจารณาคดี, อำนาจศาล, วงความรู้, ขอบข่ายของการสังเกต, Syn. cognisance | comment | (คอม'เมินทฺ) { commented, commenting, comments } n., vi., vt. (ให้) ข้อคิดเห็น, ความเห็น, ข้อสังเกต, คำอธิบาย, คำวิจารณ์, See also: commenter n. | discern | (ดิเซิร์น') v. มองเห็น, มองออก, สังเกตออก, เข้าใจ, รู้ดี, หยั่งรู้., See also: discerner n. ดูdiscern discernible adj. ดูdiscern discerning adj. ดูdiscern discernment n. ดูdiscern, Syn. perceive | distinct | (ดิสทิงทฺ') adj. ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, แน่นอน, จำเพาะ, เจาะจง, หายาก, น่าสังเกต, แตกต่าง., See also: distinctness n. ดูdistinct, Syn. clear | empiric | (เอมเพอ'ริค) n. ผู้ที่อาศัยความชำนาญหรือประสบการณ์ (ไม่ใช่ความรู้) . ผู้อาศัยความสังเกต (ไม่ใช่อาศัยเหตุผล) หมอเถื่อน, หมอกำมะลอ. adj. ดูempirical, See also: empiricism n. ดูempiric empiricist n. ดูempiric | empirical | (เอมพี'ริเคิล) adj. ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือการทดลองหรือการสังเกต (โดยไม่อาศัยวิทยาศาสตร์หรือทฤษฎี), See also: empiricalness n. ดูempirical | gazebo | (กะซี'โบ) n. สถานที่สังเกตการณ์ -pl. gazebos, gazeboes | heed | (ฮีด) v., n. (การ) สนใจ, เอาใจใส่, สังเกต., See also: heeder n. heedful adj. heedness n., Syn. attention | indiscernible | (อินดิสเซิร์น'นะเบิล) adj. ดูไม่ออก, สังเกตไม่ออก., See also: indiscernibly adv. | induce | (อินดิวซฺ') vt. ชักจูง, ชักนำ, ชักชวน, เหนี่ยวนำ, มีอิทธิพลต่อ, ทำให้เกิดขึ้น, พิสูจน์, หาความจริงด้วยการสังเกตข้อเท็จจริง., See also: inducer n. inducible adj., Syn. instigate, persuade | induction | (อินดัค'เชิน) n. การเหนี่ยวนำกระแสไฟฟ้าสลับที่มีโวลท์, การหาความจริงด้วยการสังเกตข้อเท็จจริง, การพิสูจน์, การเหนี่ยวนำสนามแม่เหล็กไฟฟ้า | inspector | (อินสเพค'เทอ) n. นายตรวจ, จราจร, ผู้ตรวจสอบ, ผู้สังเกตการณ์., See also: inspectoral, inspectorial adj. inspectorship n. | job | (จอบ) { jobbed, jobbing, jobs } n. งาน, ชิ้นงาน, งานจ้าง, งานเหมา, งานปลีกย่อย, ภาระหน้าที่, ตำแหน่งงาน, เรื่องราว, ขบวนการทำงาน, รถยนต์ (แสลง) adj. เกี่ยวกับ, งานหรือธุรกิจเฉพาะอย่าง, ซื้อ ขายหรือจัดการด้วยกัน -Phr. (on thejob ตื่นเต้น, เฝ้าสังเกต) vi. ทำงานเป็นชิ้น ๆ , ทำง | lunar | (ลู'นะ) adj. เกี่ยวกับพระจันทร์, วัดโดยการหมุนรอบของดวงจันทร์, เกี่ยวกับธาตุเงิน. n. การสังเกตดวงจันทร์ | mark | (มาร์ค) n. คะแนน, เครื่องหมาย, หมาย, แกงได, รอย, จุด, แต้ม, เป้า, เป้าหมาย, สัญลักษณ์, มาตรฐาน, ความสำคัญ, ชื่อเสียง, เส้นเริ่มออกวิ่ง, พรมแดน, หน่วยเงินตราของเยอรมน vt. ทำเครื่องหมาย, ทำรอย, ทำให้เป็นแผลเป็น, เป็นมลทิน, ทำให้เป็นจุด, ชัด, กะ, แสดงให้ปรากฎชัด, เพ่งเล็ง, มุ่งหมาย, บันทึก, ระวัง, สังเกต | marked | (มาร์คฺ) adj. น่าสังเกต, เด่นชัด, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, มีรอย, มีเครื่องหมาย., See also: markedly adv. markedness n., Syn. conspicuous | mind | (ไมน์ดฺ) n. จิต, ใจ, จิตใจ, จริต, ความคิด, ปัญญา, เหตุผล, ข้อคิดเห็น, ความตั้งใจ, สติสัมปชัญญะ, ความจำ -Phr. (bear (keep) in mind จำ) -Phr. (make in one's mind ตัดสินใจ) . -Phr. (out of one's mind บ้า, วิกลจริต) v. ใส่ใจ, สนใจ, ระวัง, เชื่อฟัง, ดูแล, เป็นห่วง, คัดค้าน, สังเกต, จำได้ | monitor | (มอน'นิเทอะ) n. นักเรียนผู้ทำหน้าที่ช่วยครูดูแลความประพฤติของนักเรียนคนอื่น, เครื่องเตือน, เครื่องบอกเหตุ, เหี้ยหรือจะกวด, เครื่องรับการส่งวิทยุ, พี่เลี้ยง. vt. ใช้เครื่องรับฟังสัญญาณ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม, สังเกต, ควบคุม. vi. เป็นเครื่องเตือน, เป็นเครื่องตรวจ. ตัวจอภาพหมายถึง ตัวจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องปลายทาง (terminal) จอภาพนั้นมีหลายชนิด เช่น สีเดียว, หลายสี มีหลายขนาด จอภาพที่ดีจะต้องมีความถี่สูง ทำให้ได้ภาพที่นิ่งสนิท (non interlaced) ทำให้ไม่มีอันตรายต่อสายตา มีความคมชัดสูง (high resolution) ขนาดมาตรฐานจะมีความละเอียด 1024 x 768 จุด แบบที่ผลิตออกมาขายใหม่ ๆ จะมีข้อดีอีกข้อหนึ่ง คือ ประหยัดไฟ โดยปิดตัวเองได้ในขณะที่ไม่ใช้งาน เรียกว่า green monitor | moral | (มอ'เริล, โม'เริล) adj. เกี่ยวกับศีลธรรม, เกี่ยวกับจรรยา, เกี่ยวกับความรู้สึกผิดชอบ, บริสุทธิ์, เกี่ยวกับจิตใจ, ขึ้นอยู่กับการสังเกต. n. หลักศีลธรรม, หลักธรรมจริยา, See also: morals n. หลักความประพฤติ, Syn. ethical | notability | (โนทะบิล'ลิที) n. ความน่าสังเกต, ความเด่น, ความมีชื่อเสียง, บุคคลที่สังเกต, Syn. destinction | notable | (โน'ทะเบิล) adj., n. (คนที่) น่าสังเกต, เด่น, สะดุดตา, มีชื่อเสียง, น่าจดจำ, มีความสามารถ, ประหยัด, อุตสาหะ., See also: notably adv., Syn. wellknown | note | (โนท) { noted, noting, notes } n. บันทึก (เป็นลายมือ) สั้น ๆ , บันทึก, จดหมาย, หมายเหตุ, สาสน์, สาร, ธนบัตร, ชื่อเสียง, ความเด่น, ความสำคัญ, เสียงดนตรี, เครื่องหมายดนตรี, ทำนองเพลง vi. บันทึก, หมายเหตุ, จดจำ, สังเกต, ใส่เครื่องหมายดนตรี, แสดงดึง, ชี้บ่ง. -Phr. (compare notes แลก เปลี่ยนความคิดเห็น) | noteworthy | (โนทฺ'เวิร์ธธี) adj. น่าสังเกต, น่าจดจำ, น่าเอาใจใส่, Syn. important | notice | (โน'ทิส) { noticed, noticing, notices } n. ข่าวสาร, ข้อความที่เตือน, หมายเหตุ, ข้อสังเกต, การเตือน, การสังเกต, ความสนใจ. vt. สังเกต, ระวัง, แจ้งความ, ประกาศ, แจ้งล่วงหน้า, ออกความเห็น, ให้ความสนใจ, Syn. remark, note, heed | noticeable | (โน'ทิสซะเบิล) adj. น่าสังเกต, See also: noticeably adv. | observable | (อับเซิร์ฟ'วะเบิล) adj. น่าสังเกต, มองเห็นได้, เด่นชัด, น่าปฏิบัติตาม, น่าสนใจ, น่าฉลอง, See also: observability n. observably adv. | observance | (อับเซิร์ฟ'เวินซฺ) n. การสังเกต, การปฏิบัติตาม, การฉลอง, พิธี, พิธีการ, ขบวนการ, ธรรมเนียมปฏิบัติ, กฎ, วินัยศาสนา (ของนิกายโรมันคาทอลิก) | observant | (อับเซอ'เวินทฺ) adj. ระวัง, เอาใจใส่เคร่งครัด, ตาไว, คอยดู, ช่างสังเกต, ซึ่งรักษาวินัย, ซึ่งปฏิบัติตามกฎหรือระเบียบหรือหน้าที่.n. ผู้ปฏิบัติตาม, ผู้รักษาวินัย, Syn. attentive | observation | (ออบเซอเว'เชิน) n. การสังเกต, การปฏิบัติตามกฎหรือระเบียบหรือหน้าที่, ข้อสังเกต, ความเห็น, ข้อเตือนใจ, ข้อมูล, ข้อความ, ข่าว, สิ่งที่ได้จากการสังเกต, Syn. perception | observatory | (อับเซอ'วะโทรี) n. ที่สังเกตการณ์, หอดูดาว, หอคอย, สถานีอุตินิยมวิทยา | observe | (อับเซอฟว') vt. สังเกต, มองดู, คอยดู, สังเกตการณ์, ปฏิบัติตาม, ปฏิบัติหน้าที่, รักษาวินัย, รักษากฎหมาย, ประกอบพิธี, ฉลอง, เชื่อฟัง. | observer | (อับเซอ'เวอะ) n. ผู้สังเกต, Syn. onlooker | outlook | (เอาทฺ'ลุค) n. ภาพ, ทัศนียภาพ, ช่องหรือหอสังเกตการณ์, ทัศนะ, การภายหน้า, ภาพอนาคต, ท่าทาง, การมอง, การสังเกต | overlook | (โอ'เวอะลุค) vt. มองข้าม, เมินเฉย, แกล้งมองไม่เห็น, มองลงไปดูทัศนียภาพ, ควบคุม, ดูแล n. ทัศนียภาพที่ปรากฎแก่สายตา, การสำรวจ, การสังเกต | oversight | (โอ'เวอะไซทฺ) n. การสังเกตพลาด | parallax | (แพ'ระแลคซฺ) n. การเคลื่อนจากที่ของวัตถุ ที่เนื่องจากผู้สังเกตเคลื่อนไหวหรือตาหรือศีรษะเคลื่อนไหว, See also: parallactic adj. | patch test | การทดสอบภูมิแพ้โดยการปะตัวทำให้แพ้ (allergen) เข้ากับผิวหนังแล้วสังเกตดูว่ามีปฏิกิริยาแพ้เกิดขึ้นไหม | perceivable | (เพอซี'วะเบิล) adj. สังเกตได้, เห็นได้, เข้าใจได้., See also: perceivableness n. perceivability n. perceivably adv. | perceive | (เพอซีฟว) vt. สังเกต, มองเห็น, มองออก, เข้าใจ, สัมผัสรู้, สำเหนียก, รู้., See also: perceivedly adv. perceiver n., Syn. observe, see, understand, know | remark | (รีมาร์ค') vt. เอ่ย, พูด, กล่าว, สังเกตเห็น, ให้ข้อคิดเห็น vi. สังเกตเห็น, ให้ข้อคิดเห็น n. การเอ่ย, การพูด, การให้ข้อคิดเห็น, ข้อคิดเห็น, ความเห็น, =remarque (ดู), See also: remarker n., Syn. perceive, observe, heed | remarkable | (รีมาร์ค'คะเบิล) adj. พิเศษ, น่าทึ่ง, ยอดเยี่ยม, น่าสังเกต, See also: remarkability n. remarkableness n. remarkably adv., Syn. noteworthy, striking, unusual | review | (รีวิว') n. การทบทวน, การพิจารณาใหม่, สิ่งตีพิมพ์ปฏิทัศน์, บทนิพนธ์ปฏิทัศน์, การวิจารณ์, บทวิจารณ์, การตรวจพล, การสังเกตการณ์ vt. ทบทวน, ตรวจสอบอีก, พิจารณาใหม่, วิจารณ์, ตรวจพล, สังเกตการณ์ vi. เขียนบทวิจารณ์, เขียนบทปฏิทัศน์, See also: reviewal n. review | scout | (สเคาทฺ) n. ทหารสอดแนม, ทหารพราน, แมวมอง, ผู้สอดแนม, ลูกเสือ, เนตรนารี, เสือป่า, เจ้าหน้าที่สังเกตการณ์, ผู้เสาะแสวงหาคนใหม่ vt. ตรวจสอบ, สอดแนม, สังเกตการณ์, สอดแสวงหา, See also: scouting n., Syn. spy, explorer, patrol | see | (ซี) vt., vi. เห็น, มอง, ดู, นึกดู, ตรวจดู, ดูแล, หา, สังเกต, พบ, ผ่าน, เยี่ยม, ชม, ค้นพบ, ไปส่ง, ทราบ, ได้ทราบ, เข้าใจ, ชอบใจ, เห็นด้วย, ต้อนรับ, นัดพบ, ให้ความช่วยเหลือ, ดูแล, วางเดิมพัน, สอบถาม, พิจารณา, นึก, สังเกต n. เขตอำนาจหน้าที่ของพระราชาคณะในคริสต์ศาสนา -Phr. (see about ตร | seer | (ซี'เออะ) n. ผู้มอง, ผู้เห็น, ผู้สังเกต, ผู้พยากรณ์, ผู้ทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้า, โหร | sight | (ไซทฺ) n. สายตา, การเห็น, กำลังสายตา, ความสามารถในการเห็น, ภาพ, ทิวทัศน์, ขอบข่ายในการเห็น, การพิจารณา, การสังเกต, สิ่งที่เห็น, สิ่งที่เห็นแล้วทำให้สะดุ้งตกใจหรือเศร้าสลด, จำนวนมาก, ปริมาณมาก, vt. เห็น, มองเห็น, สังเกต, ทอด สายตา, ปรับภาพ, เล็ง. vi. ส่อง, เล็ง, เล็งวัด | signal | (ซิก'เนิล) n., v. (เป็น) สัญญาณ, เครื่องแสดง, สัญญา, ลาง, นิมิต, สิ่งบอกใบ้, เครื่องบอกใบ้, อาการ, อากัปกิริยา, สัญญาณวิทยุ, สัญญาณคลื่น. adj. เป็นสัญญาณ, เป็นเครื่องแสดง, น่าสังเกต, ยอดเยี่ยม, เลิศ, เด่น. -v. ให้สัญญาณ, ทำเครื่องหมาย, ส่งสัญญาณ., See also: signale |
| cognizance | (n) การยอมรับ, การสังเกต, อำนาจการพิจารณาคดี | comment | (n) คำวิจารณ์, คำอธิบาย, ความเห็น, ข้อสังเกต | comment | (vt) วิจารณ์, อธิบาย, ให้ข้อสังเกต, เสนอความเห็น | discern | (vt) สังเกตเห็น, มองเห็น, มองออก, รู้, วินิจฉัยออก | discernible | (adj) ซึ่งมองออก, ซึ่งมองเห็นได้, ซึ่งสังเกตเห็น, ซึ่งวินิจฉัยออก | distinguishable | (adj) ซึ่งเห็นความแตกต่างได้, ซึ่งสังเกตได้, ซึ่งแบ่งแยกได้, ซึ่งจำแนกได้ | empirical | (adj) เกี่ยวกับการทดลอง, ชัดเจน, โดยอาศัยการสังเกต, ซึ่งได้จากประสบการณ์คี | inspector | (n) นายตรวจ, นายตำรวจ, ผู้ตรวจการ, ผู้สังเกตการณ์ | mark | (vt) ทำเครื่องหมาย, สังเกต, เพ่งเล็ง, บันทึก | mind | (vt) ระวัง, เอาใจใส่, สนใจ, สังเกต, ตั้งใจฟัง, รังเกียจ | notable | (adj) สะดุดตา, มีชื่อเสียง, เด่น, น่าสังเกต, น่าจดจำ | notably | (adv) อย่างน่าจดจำ, อย่างน่าสังเกต, อย่างสะดุดตา | note | (vt) บันทึก, สังเกต, จด, ใส่เครื่องหมาย, ทำหมายเหตุ | noted | (adj) เป็นที่สังเกต, เด่น, สะดุดตา, มีชื่อเสียง | noteworthy | (adj) น่าสังเกต, มีชื่อเสียง, เด่น, สำคัญ, น่าจดจำ | notice | (n) ข้อสังเกต, การเตือน, ข่าวสาร, หมายเหตุ, ความสนใจ | notice | (vt) สังเกตเห็น, ประกาศ, ออกความเห็น, แจ้งล่วงหน้า, สนใจ | observable | (adj) เด่นชัด, สังเกตได้ง่าย, ควรถือปฏิบัติ, น่าติดตาม | observance | (n) การปฏิบัติตาม, การสังเกต, ธรรมเนียมปฏิบัติ | observant | (adj) ซึ่งรักษาวินัย, คอยดู, ช่างสังเกต, ระวัง | observation | (n) การสังเกต, ความเห็น, ข้อมูล | observatory | (n) หอดูดาว, หอคอย, ที่สังเกตการณ์ | observe | (vt) สังเกต, ปฏิบัติตาม, กล่าว, ประกอบพิธี | observer | (n) ผู้ตรวจการ, ผู้สังเกตการณ์, ผู้ออกความเห็น | perceive | (vt) รู้, สังเกตเห็น, แลเห็น, เข้าใจ, ได้ยิน | perceptible | (adj) สังเกตเห็นได้, สำเหนียกได้, เข้าใจได้ | perceptibly | (adv) โดยสังเกตเห็นได้, โดยเข้าใจได้ | perception | (n) การสังเกตเห็น, การได้ยิน, ความรู้สึก, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ญาณ | remark | (n) คำกล่าว, คำพูด, ข้อสังเกต, ข้อคิดเห็น | remark | (vt) กล่าว, สังเกต, พูด, เอ่ย, ให้ข้อคิด | remarkable | (adj) น่าทึ่ง, น่าสังเกต, ประหลาด | review | (vt) ทบทวน, วิจารณ์, สังเกตการณ์, พิจารณาใหม่ | scout | (n) ทหารพราน, หน่วยลาดตระเวน, คนสอดแนม, แมวมอง, ผู้สังเกตการณ์ | scout | (vt) สอดแนม, ลาดตระเวน, สังเกตการณ์, เที่ยวหา | see | (vi) สนใจ, เห็น, พบ, สังเกต, พิจารณา, สอบถาม | sight | (n) สายตา, การเห็น, ภาพ, สิ่งที่เห็น, การเล็ง, การสังเกต | sight | (vt) ส่อง, เห็น, เล็ง, สังเกต, ทอดสายตา | signal | (adj) เด่นชัด, สำคัญ, น่าสังเกต, เป็นสัญญาณ | significant | (adj) น่าสังเกต, สำคัญ, มีความหมาย, มีผล | spectator | (n) ผู้ชม, ผู้ดู, ผู้สังเกตการณ์ | unseen | (adj) ไม่มีใครเห็น, ไม่สังเกต | view | (vt) มองดู, สังเกต, พิจารณา, ตรวจดู, เจตนา | watchtower | (n) หอคอยยืนยาม, หอสังเกตการณ์ |
| long-toothed | (slang) มันช่างยาวนานเหลือเกิน มันยาวมาก มันนานมาก นานจนหงำเหงือก มาจากคำว่า 'long-in-the-tooth" (คำอุปมานี้มาจากการสังเกตผู้คนว่าพออายุมากขึ้นเหงือกของเขาก็จะร่นลงไป ทำให้เห็นว่าฟันยาวขึ้น) | moniter | (vt) สังเกต ดูแล ดู | portolan chart | [พอร์โทลาน ชาร์ท] (n) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) | quackery | (n) หมอเถื่อน; การรักษาและคำแนะนำของหมอเถื่อนที่ "มั่ว" ไปตามข้อสังเกตและประสบการณ์ โดยไม่คำนึงถึงหลักทางวิทยาศาสตร์, ความมั่ว | แผนที่การเดินเรือพอร์โทลาน | (Portolan chart) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org) |
| 異常(な) | [いじょう(な), ijou ( na )] (adj) ผิดปกติ, ผิดสังเกต, แปลกไป, ไม่ธรรมดา, Syn. 変(な) |
| 視察 | [しさつ, shisatsu] (n) การดูงาน, การสังเกตการณ์, การตรวจดู(ที่เกิดเหตุ) 視察員 (ผู้สังเกตการณ์) | 天体観測 | [てんたいかんそく, tentaikansoku] สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ | 観測 | [かんそく, kansoku] การสังเกต | 見受ける | [みうける, miukeru] (vt) สังเกตเห็น |
| 気づく | [きづく, kiduku] TH: สังเกตเห็น EN: to perceive | 注目 | [ちゅうもく, chuumoku] TH: สังเกต EN: observation | 注意 | [ちゅうい, chuui] TH: การสังเกต |
| Ißt du nicht? Doch, doch. | ไม่กินเหรอ? กิน กิน! สังเกตการใช้คำว่า Doch ซึ่งใช้ตอบประโยคคำถามที่มีความหมายเชิงปฏิเสธ โดย Doch บ่งชี้คำตอบรับที่มีความหมายตรงกันข้าม | aus Versehen | โดยการไม่ได้สังเกต, โดยการมองข้ามไป, ด้วยความเผลอเรอ | beobachten | (vt) |beobachtete, hat beobachtet| สังเกตการณ์, คอยเฝ้ามอง, See also: merken | merken | (vt) |merkte, hat gemerkt| สังเกตเห็น, See also: beobachten | malen | (vt) |malte, hat gemalt| วาดรูป, วาดภาพ (สังเกต: กรรมตรงของกิริยา malen เป็นภาพที่วาด) เช่น Kannst du mal einen Hund auf den Tisch malen? เธอช่วยวาดรูปสุนัขลงบนโตะหน่อยได้ไหม, See also: bemalen | bemalen | (vt) |bemalte, hat bemalt| วาดภาพ, วาดรูป (สังเกต: กรรมตรงของกิริยา bemalen เป็นวัตถุที่ถูกวาดลงบน) เช่น Kannst du mal den Tisch mit einem Hund bemalen? เธอช่วยวาดรูปสุนัขลงบนโตะหน่อยได้ไหม, See also: malen | spüren | (vi, vt) |spürte, hat gespürt| รู้สึกถึง, รับความรู้สึก, รับรู้ เช่น Du sollst spüren, daß sie immer für dich da ist. นายควรรับรู้ไว้ว่าเธออยู่ตรงนี้เสมอสำหรับนาย (สังเกตความแตกต่างระหว่าง spüren และ fühlen โดยมาก fühlen ใช้บ่งความรู้สึกทางร่างกาย เช่น Ich fühle mich schlecht.ซึ่งจะไม่พูดว่า Ich spüre schlecht. ), See also: Related: fühlen | davon | จากสิ่งนั้น หรือ เกี่ยวกับสิ่งนั้น (= da + von ใช้ย่อวลีหรือคำที่อยู่หลัง von) เช่น Sie hat fünf Pullover auf einmal gekauft. Zwei davon sind rot. เธอซื้อเสื้อกันหนาวทีเดียวห้าตัว สองตัวเป็นสีแดง (สังเกตว่า davon ณ ที่นี้ หมายถึง von fünf Pullover) | Jugendliche | (n) |der, pl. Jugendliche| เด็กวัยรุ่น (สังเกตว่า der Jugendliche แต่ ein Jugendlicher) | anscheinend | (adv) เป็นที่เห็นได้ชัด (ตัดสินหรือคาดการณ์จากสิ่งที่เห็นหรือสังเกตได้) เช่น Sein Koffer ist nicht mehr da. Anscheinend ist er schon weggefahren. กระเป๋าเดินทางของเขาไม่อยู่แล้ว เขาคงจะออกเดินทางไปแล้ว, See also: scheinbar, Syn. vermutlich | rosa | (adj) ที่มีสีชมพู เช่น ein rosa Hemd เสื้อเชิ้ตสีชมพู (สังเกตว่าคำคุณศัพท์ rosa ไม่ผันรูปตามคำนาม เป็นข้อยกเว้น) | an | (prep) |+D บ่งเวลา| ตอน, ช่วง เช่น Am Abend gehen wir zum Restaurant. ตอนเย็นเราไปร้านอาหารกันนะจ๊ะ (สังเกต am = an + นามเพศชายหรือเพศกลาง) | meines | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น meines alten Hauses, meines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | deines | ของฉัน |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น deines alten Hauses, deines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | Ihres | ของคุณ(เอกพจน์), ของพวกคุณ(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น Ihres alten Hauses, Ihres alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | seines | ของเขา |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สามเพศชายและเพศกลางรูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น seines alten Hauses, seines alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | ihres | ของหล่อน(เอกพจน์), ของพวกเขา(พหูพจน์) |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สามเพศหญิงเอกพจน์และเพศใดๆ พหูพจน์รูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น ihres alten Hauses, ihres alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | unseres | ของพวกเรา |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่หนึ่งพหูพจน์รูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น unseres alten Hauses, unseres alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | eures | ของพวกเธอ |คำสรรพนามของประธานบุรุษที่สองพหูพจน์รูป Genetiv ที่แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามเพศชายและเพศกลางเอกพจน์| เช่น eures alten Hauses, eures alten Tisches (สังเกต s หรือ es ท้ายคำนาม) | Aussichtsturm | (n) |der, pl. Aussichtstürme| ตึกหรือหอสังเกตการณ์ | Aussichtsturm | (n) |der, pl. Aussichtstürme| หอสังเกตการณ์ | Sternwarte | (n) |die, pl. Sternwarten| หอดูดาว, หอสังเกตการณ์ เช่น Schon seit vielen Jahren ist die Sternwarte ein bewährter Treffpunkt von Amateurastronomen und anspruchsvollen Himmelsbeobachtern. |
| *nblick { m }; Ansicht { f }; Sicht { f }; Blick { m }; Aus* | n. ภาพ, ทิวทัศน์, ทัศนวิสัย, ทรรศนะ, สายตา, การมอง, การสังเกต, ข้อคิดเห็น, ทัศนคติ, จุดประสงค์, เจตนา, จุดมุ่งหมาย, การสำรวจทั่วไป, -Phr. (in view ภายในแนวสายตา ภายใต้การพิจารณา) -Phr. (in view of เมื่อพิจารณาถึงในเรื่องเกี่ยวกับ) vt. ดู, มอง, สังเกต, สำรวจ, ตรวจสอบ | geprüft | (เก-พรูฟ-เทอะ) vt. ทบทวน, ตรวจสอบอีก, พิจารณาใหม่, วิจารณ์, ตรวจพล, สังเกตการณ์ vi. เขียนบทวิจารณ์, เขียนบทปฏิทัศน์ |
| américain | (adj) |-aine| เกี่ยวกับสหรัฐอเมริกา เช่น 1. Laura Bush est américaine. ลอรา บุช เป็นอเมริกัน แปลเป็นไทย คือ ลอรา บุช เป็นชาวอเมริกัน 2. รูปพหูพจนห์ให้เติม s เช่น Bush et Clinton sont américains. Laura et Hillary sont aussi américaines. (สังเกตความแตกต่างของการผัน adj.) | permis de conduire | (n) |m| ใบอนุญาตขับขี่รถ (สังเกตว่าเพศของคำประสมนี้จะตามนามตัวหน้า) | mademoiselle | เป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), See also: madame, Ant. monsieur, Related: madame | monsieur | เป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของผู้ชาย คล้ายกับ นาย ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Monsieur Allongue ในภาษาเขียน ย่อเป็น M. Allongue (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม monsieur ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), Ant. madame, mademoiselle | rester | (vi) |je reste, tu restes, il reste, nous restons, vous restez, ils restent| พักอยู่, ยังคงอยู่ เช่น (1) Je reste jusqu'à 22 heures. ผมอยู่ถึงสี่ทุ่ม (2) Cette semaine il doit reste à la maison. อาทิตย์นี้เขาต้องพักอยู่ที่บ้าน (สังเกตความหมายต่างจากกิริยา habiter ตรงที่ rester ไม่ได้แปลว่า อาศัย) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |