ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รวบรวม, -รวบรวม- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ รวบรวม | (v) compile, See also: gather, collect, accumulate, put together, amass, Syn. สะสม, เก็บ, Example: หอวรรณกรรมรวบรวมผลงานวรรณกรรมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและของท้องถิ่นตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน, Thai Definition: นำสิ่งต่างๆ ซึ่งอาจเอามารวมกันได้มากๆ มารวมกันไว้ |
| รวบรวม | ก. นำสิ่งต่าง ๆ มารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่น รวบรวมข้าวของ รวบรวมเงิน รวบรวมหลักฐาน. | กวาดต้อน | ก. รวบรวมคนหรือสัตว์พาหนะเป็นต้น ให้เคลื่อนย้ายจากถิ่นเดิม เช่น กวาดต้อนเชลยศึก. | กว้าน ๒ | รวบรวมซื้อจากที่ต่าง ๆ มาไว้เป็นจำนวนมาก เช่น กว้านสินค้ามากักตุนไว้ กว้านซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร. | การจัดรูปที่ดิน | น. การดำเนินงานพัฒนาที่ดินที่ใช้เพื่อเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงที่ดินทุกแปลงเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทำการรวบรวมที่ดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกัน เพื่อวางผังจัดรูปที่ดินเสียใหม่และสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและพัฒนาที่ดินนั้น. | เก็บ ๑ | ก. เอาไปหรือเอามาจากที่ เช่น เก็บผ้า เก็บผลไม้, เอาเข้าที่ เช่น เอาหนังสือไปเก็บ เอารถไปเก็บ, เอาสิ่งของที่ตกหล่นอยู่ขึ้นมา เช่น เก็บของตก, รวบรวมไว้ เช่น เก็บคะแนน, เรียกเอา เช่น เก็บค่าเช่า เก็บค่านํ้า, รักษาไว้ เช่น ห้องเก็บของ. | เก็บเกี่ยว | ก. เก็บรวบรวมพืชผลจากที่ได้หว่านหรือลงไว้. | เก็บเล่ม | ก. รวบรวมหนังสือหรือแผ่นภาพที่พิมพ์ไว้แล้ว เรียงตามลำดับเลขหน้าเข้าเป็นเล่ม (ใช้แก่การพิมพ์). | เก็บหอมรอมริบ | ก. เก็บรวบรวมไว้ทีละเล็กละน้อย. | ขุทกนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๕ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดเล็กน้อย รวบรวมข้อธรรมะที่ไม่อยู่ใน ๔ นิกายข้างต้น มี ๑๕ เรื่อง ซึ่งมีธรรมบทและชาดก รวมอยู่ในคัมภีร์นี้ด้วย. | ชุมพล | ก. รวบรวมกำลังไพร่พล. | ซ่องสุม | ก. รวบรวมผู้คนอย่างลับ ๆ เพื่อกระทำการใหญ่อย่างใดอย่างหนึ่ง. | ดรรชนี ๓ | น. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดัชนี ก็ใช้. | ดัชนี ๓ | น. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดรรชนี ก็ใช้. | ดาวเทียม | น. วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพื่อให้โคจรรอบโลกหรือรอบเทห์ฟากฟ้าอื่น มีอุปกรณ์สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศและถ่ายทอดข้อมูลนั้นมายังโลก, วัตถุลักษณะดังกล่าวที่โคจรรอบโลก ใช้เป็นอุปกรณ์โทรคมนาคมด้วย เช่น ถ่ายทอดคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ข้ามทวีป. | ตรวจการณ์ | ก. ตรวจค้นด้วยสายตาหรือใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เข้าช่วย เพื่อรวบรวมข่าวสารหรือประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ. | เถรวาท | (เถระวาด) น. ลัทธิที่ถือตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระอรหันตเถระรวม ๕๐๐ รูป ได้รวบรวมไว้ในคราวปฐมสังคายนา, ชื่อนิกายพระพุทธ-ศาสนาฝ่ายใต้ที่ถือกันในลังกา พม่า และไทยเป็นต้น, หินยาน หีนยาน หรือ ทักษิณนิกาย ก็ว่า. | ทีฆนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายแรกแห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดยาว รวบรวมพระสูตรขนาดยาวไว้ในหมวดนี้. | นิบาต | (-บาด) น. เรียกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดหรือชาดกต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน เช่น สุตตนิบาต = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน นิบาตชาดก = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมชาดกต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกไว้ด้วยกัน โดยแบ่งย่อยเป็นหมวดต่าง ๆ | นิบาตชาดก | น. ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมชาดกต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกไว้ด้วยกัน โดยแบ่งย่อยเป็นหมวดต่าง ๆ เช่น เอกกนิบาตชาดก ทุกนิบาตชาดก. | นิวคลิอิก | น. ชื่อกรดชนิดหนึ่ง ซึ่งมีโมเลกุลใหญ่มากและมีโครงสร้างซับซ้อน มี ๒ ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบ-นิวคลิอิก (deoxyribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า DNA และกรดไรโบนิวคลิอิก (ribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า RNA มีปรากฏอยู่ในสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทำหน้าที่เก็บรวบรวมและถ่ายทอดพันธุกรรม. | บรรณาธิกร | (บันนา-) ก. รวบรวมและจัดเลือกเฟ้นเรื่องลงพิมพ์. | บรรณาธิการ | (บันนาทิกาน) น. ผู้จัดเลือกเฟ้น รวบรวม ปรับปรุง และรับผิดชอบเรื่องลงพิมพ์. | บริเฉท, บริเฉท- | ข้อความที่รวบรวมเอามาจัดเป็นตอน ๆ, ข้อความที่กำหนดไว้เป็นหมวด ๆ. | ประมวล | ก. รวบรวมให้เข้าระเบียบเป็นหมวดหมู่, โบราณเขียนเป็น ประมวญ ก็มี. | ประมวล | น. หนังสือที่รวบรวมสิ่งซึ่งเป็นประเภทเดียวกัน เช่น ประมวลกฎหมาย ประมวลภาพ. | ประมวลกฎหมาย | น. บทบัญญัติที่รวบรวมไว้อย่างเป็นระบบและได้รับการประกาศให้ใช้บังคับเป็นกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ | พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน | (พิพิดทะพัน, -พันทะสะถาน) น. สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ. | มัชฌิมนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๒ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดปานกลาง รวบรวมพระสูตรขนาดปานกลางไว้ในหมวดนี้. | ระดม | รวบรวม, รวมเข้าด้วยกัน, เช่น ระดมทุน ระดมคนช่วยกันทำงาน. | วิจัย ๑ | น. การสะสม, การรวบรวม. | วิจิต | ก. รวบรวม. (ส.) | สงเคราะห์ | การรวบรวม เช่น หนังสือนามสงเคราะห์. | สถิติ | (สะ-) น. หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสำหรับเปรียบเทียบหรือใช้อ้างอิง เช่น สถิติในการส่งสินค้าออกปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว. | สมิต ๒ | (สะมิด) ก. ประสม, รวบรวม. | สมุจจัย | (สะหฺมุดไจ) น. การรวบรวม. | สวนพฤกษศาสตร์ | น. บริเวณที่ปลูกพรรณไม้มากชนิดทั้งในและต่างประเทศ รวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ มักเขียนป้ายบอกชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ไว้ด้วย เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาและพักผ่อนหย่อนใจเป็นต้น เช่น สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ จังหวัดเชียงใหม่ สวนพฤกษศาสตร์พุแค จังหวัดสระบุรี. | สวนสนุก | น. สถานที่ที่รวบรวมบรรดาสิ่งที่ทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินไว้บริการประชาชน. | สอบสวน | ก. รวบรวมพยานหลักฐานและดำเนินการอย่างอื่นซึ่งพนักงานสอบสวนได้ทำไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหา เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระทำผิดมาฟ้องลงโทษ. | สะสม | ก. สั่งสม, รวบรวมให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ, เช่น เขาสะสมนาฬิกาเป็นงานอดิเรก. | สั่งสม | ก. สะสม, รวบรวมให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ, เช่น พระโพธิสัตว์สั่งสมบารมี. | สังคห-, สังคหะ | น. การรวบรวม | สันนิธิ | น. การสะสม, การรวบรวม | สัมภาระ | (สำพาระ) น. สิ่งของต่าง ๆ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้และเสบียงซึ่งสะสมรวบรวมหรือจัดเตรียมไว้เพื่อภาระต่าง ๆ เช่น เตรียมสัมภาระสำหรับไปต่างจังหวัด | สัสดี | (สัดสะดี) น. ผู้รวบรวมบัญชีคน, เจ้าหน้าที่บัญชีทหาร | สารานุกรม | น. หนังสือที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพาะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงตามลำดับอักษร. | สำมะโนครัว | น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนราษฎรในแต่ละครัวเรือน. | สำมะโนประชากร | น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนและลักษณะต่าง ๆ ของราษฎรทุกคนในทุกครัวเรือน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ. | สืบเสาะและพินิจ | น. การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนำมาวิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์ จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น. | สุตตนิบาต | น. คัมภีร์ที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน. | ห้องสมุด, หอสมุด | น. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้. |
|
| | Bibliographer | ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Compiler | ผู้รวบรวม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Explicit knowledge | ความรู้ที่อยู่ภายนอก, ความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ ตำรา เอกสารต่างๆ คนทั่วไปสามารถเข้าถึงความรู้ประเภทนี้ได้ง่าย [การจัดการความรู้] | Waste pretreatment | การเตรียมบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการก่อนการบำบัดกากกัมมันตรังสี เช่น การรวบรวม การคัดแยก การปรับสภาพทางเคมี การชำระล้างความเปรอะเปื้อน [นิวเคลียร์] | Pretreatment, waste | การเตรียมบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการก่อนการบำบัดกากกัมมันตรังสี เช่น การรวบรวม การคัดแยก การปรับสภาพทางเคมี การชำระล้างความเปรอะเปื้อน [นิวเคลียร์] | Blood specimen collection | การรวบรวมตัวอย่างเลือด [TU Subject Heading] | radioactive waste management | การจัดการกากกัมมันตรังสี, กระบวนการดำเนินการทุกขั้นตอนซึ่งเกี่ยวข้องกับการรวบรวม การคัดแยก การจำแนก การบำบัด การปรับสภาพ การเก็บรักษา การขนส่ง และการขจัดกากกัมมันตรังสี [นิวเคลียร์] | Separate Sewer | ท่อรวบรวมน้ำเสียแยก, Example: ท่อรวบรวมน้ำเสียที่องค์การจัดการน้ำเสียได้ จัดให้มีขึ้นที่แยกต่างหากออกจากระบบระบายน้ำ [สิ่งแวดล้อม] | APSC | แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก [การทูต] | International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] | Collection of Data | การรวบรวมข้อมูล, การรวบรวมข้อมูล [การแพทย์] | Collectors Scintillators | อุปกรณ์รวบรวมสัญญาณ [การแพทย์] | Combine | รวม, จับ, รวบรวม [การแพทย์] | Consolidate | การเก็บรวบรวมความจำ [การแพทย์] | Data Bank | แหล่งต่างๆที่เป็นที่รวบรวมข้อมูล [การแพทย์] | Data Collection | การรวบรวมข้อมูล [การแพทย์] | Data Collection Procedure | วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล [การแพทย์] | Data Processing Units | หน่วยงานเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล [การแพทย์] | Facts, Assembling the | การรวบรวมข้อเท็จจริงและข้อมูลต่างๆ [การแพทย์] | DNA bank | DNA bank, สถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่างต่างๆ ที่สามารถนำมาศึกษาต่อทางพันธุกรรมได้, Example: เช่น เนื้อเยื่อ เซลล์ ชิ้นส่วนของอวัยวะ เลือด และสิ่งที่ส่งตรวจในห้องปฏิบัติการ เป็นต้น ในทางปฏิบัติมักพบมีความคาบเกี่ยวระหว่างห้องปฏิบัติการวินิจฉัยและห้อง ปฏิบัติการวิจัย [ชีวจริยธรรม] | primary use | primary use, การใช้เนื้อเยื่อตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือตั้งใจไว้ เมื่อทำการเก็บรวบรวมเนื้อเยื่อ [ชีวจริยธรรม] | secondary use | secondary use, การใช้เนื้อเยื่อเพื่อวัตถุประสงค์ต่อเนื่องเพิ่มเติมไปจากตอนที่ทำการเก็บรวบรวมเนื้อเยื่อในตอนต้นหรือเพิ่อวัตถุประสงค์อื่นที่ต่างไปจากวัตถุประสงค์ตอนต้นโดยสิ้นเชิง (tissues are used for purpose that either extend beyond or are totally different from the primary purpose [ชีวจริยธรรม] | Knowledge collection | การเก็บรวบรวมความรู้ [การจัดการความรู้] | rectum | ไส้ตรง, ลำไส้ใหญ่ปลาย, ส่วนปลายสุดของลำไส้ใหญ่ที่อยู่ติดกับทวารหนัก ทำหน้าที่รวบรวมกากอาหารพร้อมที่จะถูกขับถ่ายออกเป็นอุจจาระ ลำไส้ตรงของคนมีความยาวประมาณ 12 เซนติเมตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | statistics | สถิติ, วิชาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องต่อไปนี้ คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการตีความหมายข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | census | การสำมะโน, การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยของประชากรในเรื่องที่สนใจศึกษา เช่น สำมะโนประชากรของประเทศไทย เป็นการนับจำนวนประชากรทั้งหมด ที่อาศัยอยู่ในประเทศ จำแนกตามลักษณะต่าง ๆ ที่สำคัญ และสนใจศึกษา เช่น เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา อาจกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า การ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | science | วิทยาศาสตร์, ความรู้ที่ได้ประมวลไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต มีทฤษฎีและกฏเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติ ทฤษฎีและกฎต่าง ๆ สามารถทดสอบได้ด้วยการทดลอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | scientific method | วิธีการทางวิทยาศาสตร์, วิธีการที่ใช้ศึกษาค้นคว้าโดยการสังเกตรวบรวมข้อมูลและตั้งสมมติฐานเพื่อเป็นแนวทางที่จะทำการทดลองหรือทดสอบสมมติฐานนั้น เพื่อหาคำอธิบายที่เชื่อถือได้ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ถ้าสมมติฐานนั้นถูกต้องก็จะสร้างทฤษฎีหรือกฎขึ้น วิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ใช้ในการศึกษาค้นคว้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | metasearch engine | เมตาเสิร์ชเอนจิน, โปรแกรมค้นหาที่ไม่มีการรวบรวมเว็บเพจไว้เป็นฐานข้อมูลของตนเอง แต่ค้นหาจากฐานข้อมูลของโปรแกรมค้นหาอื่นซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการที่สุดจากโปรแกรมค้นหาหลายโปรแกรมได้ในเวลาอันรวดเร็ว โดยอาจแสดงผลลัพธ์รวมจากทุกโปรแกรมค้นหาไว้ในชุดเด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | knowledge discovery in databases | การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล, กระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้เป็นอย่างดีในฐานข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | search engine | โปรแกรมค้นหา, ใช้สำหรับค้นหาเว็บเพจที่ต้องการ โดยระบุคำหลักหรือคำสำคัญ (keyword) เพื่อนำไปค้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งรวบรวมเว็บเพจต่างๆ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นรายการเว็บเพจที่ประกอบด้วยคำหลักที่ระบุ ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลทุกประเภท หลากหลายรูปแบบ เพื่อการศึกษาหรือเพื [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | inferential statistics | สถิติเชิงอนุมาน, การวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากตัวอย่างเพื่ออ้างอิงไปถึงข้อมูลทั้งหมด เป็นศาสตร์ที่ให้วิธีการเลือกตัวแทนที่ดีของประชากร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | primary data | ข้อมูลปฐมภูมิ, ข้อมูลที่ผู้ใช้จะต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจทำได้โดยการสัมภาษณ์ วัด นับ หรือสังเกตจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เนื่องจากข้อมูลเหล่านี้ไม่เคยมีผู้ใดเก็บรวบรวมไว้ก่อน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | secondary data | ข้อมูลทุติยภูมิ, ข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | sample survey | การสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง, การเก็บรวบรวมข้อมูลจากบางหน่วยที่เลือกมาเป็นตัวแทนจากทุก ๆ หน่วยของประชากรหรือสิ่งที่เราต้องการศึกษาเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | data collection | การเก็บข้อมูล, การรวบรวมข้อมูลเป็นกระบวนการที่เป็นระบบ และเป็นวิธีการที่เป็นมาตรฐาน เพื่อเปลี่ยนแนวความคิดในการทำวิจัยให้เป็นข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | technological process | กระบวนการเทคโนโลยี, การแก้ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์อย่างเป็นขั้นตอน ประกอบด้วย กำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม ข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข และประเมินผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Information Processing | กระบวนการรวบรวมความรู้ [การแพทย์] |
| การรวบรวม | [kān rūaprūam] (n) EN: collection FR: collection [ f ] ; amas [ m ] ; compilation [ f ] | การรวบรวมข้อมูล | [kān rūaprūam khømūn] (n, exp) EN: data collection ; data acquisition | ผู้รวบรวม | [phū rūaprūam] (n, exp) FR: amasseur [ m ] | รวบรวม | [rūaprūam] (v) EN: compile ; gather ; collect ; accumulate ; put together ; amass ; save up ; mobilise FR: rassembler ; collectionner ; accumuler ; amasser ; collecter ; réunir ; regrouper ; compiler ; mobiliser | รวบรวม | [rūaprūam] (adj) EN: compiled | รวบรวมได้ | [rūaprūam dāi] (v, exp) EN: garner | รวบรวมกัน | [rūaprūam kan] (v, exp) FR: rassembler | รวบรวมเงิน | [rūaprūam ngoen] (v, exp) FR: thésauriser | รวบรวมทุน | [rūaprūam thun] (v, exp) FR: capitaliser |
| accumulation | (n) ของที่เก็บสะสม, See also: ของที่รวบรวมไว้, Syn. heap | aggregate | (vt) รวบรวม, See also: รวมกัน | amass | (vt) รวบรวม, See also: สะสม, Syn. gather, store up, collect together | amass | (vi) รวบรวม | anthologize | (n) ทำการรวบรวมบทประพันธ์ | anthology | (n) การรวบรวมบทประพันธ์ของหลายนักเขียน | assemblage | (n) การรวบรวม, Syn. callection, gathering | backlog | (vt) เก็บรวบรวมไว้, See also: ้สำรองไว้, Syn. reserve | collect | (vt) เก็บรวบรวม, See also: รวบรวม, Syn. gather, assemble, compile, convene, embody, garner | collect | (vt) คุมสติ, See also: รวบรวมสติ, Syn. concentrate | collectable | (adj) ที่สามารถรวบรวมได้, Syn. collectible | collected | (adj) ที่รวบรวมไว้ด้วยกัน, Syn. assembled, amassed, compiled | collectible | (adj) ที่สามารถรวบรวมได้, Syn. collectable | collection | (n) การเก็บรวบรวม, See also: การสะสม, Syn. assemblage, compilation, amassment, corpus, gathering | collection | (n) สิ่งของที่รวบรวมไว้, See also: สิ่งของที่นำมากองรวมกันไว้, Syn. assemblage, heap, accumulation, agglomeration, pile, aggregation | compilation | (n) การรวบรวม, Syn. gathering, compiling | compile | (vt) รวบรวม, Syn. collect, gather, amass | congregate | (adj) ที่รวบรวมได้ | congregate | (vi) รวบรวม | congregate | (vt) รวบรวม, Syn. collect, assemble | congregation | (n) การรวบรวม, Syn. gathering | corpus | (n) คลังข้อมูล, See also: การรวบรวมงานเขียนหรือข้อมูลคำ | cumulate | (vi) รวบรวม, Syn. accumulate, collect | cumulate | (vt) รวบรวม, Syn. accumulate, collect | draw from | (phrv) คัดมาจาก, See also: รวบรวมมาจาก | fling together | (phrv) รีบเก็บ, See also: รวบรวมอย่างรีบเร่ง, Syn. chuck together, throw together, toss together | database | (n) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ, Syn. data bank | digest | (n) หนังสือที่รวบรวมบทความ | digest | (n) หนังสือรวบรวมบทความหรือเรื่องราวสั้นๆ | embrace | (vt) รวบรวมเข้ามาให้เป็นส่วนหนึ่ง, Syn. comprise, contain, include | encyclopedist | (n) ผู้รวบรวมความรู้มาไว้ในสารานุกรม | fact-finding | (adj) เกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูลเพื่อหาข้อเท็จจริง, See also: การหาข้อเท็จจริง | formulary | (n) หนังสือที่รวบรวมสูตรยา (ทางเภสัชศาสตร์), See also: ตำรับยา | gather oneself together | (phrv) รวบรวมสมาธิ, See also: ควบคุมตัวเอง, Syn. get together, pull together | gather to | (phrv) รวมเข้ามายัง, See also: รวบรวมไปทาง | gather up | (phrv) รวบรวม, See also: เก็บรวบรวม, Syn. pick up | gather up | (phrv) เกร็ง, See also: รวบรวมกำลัง | gather up | (phrv) รวบรวม (ความรู้สึกเช่น ความกล้า) | gather up the threads | (idm) เพิ่มเติม, See also: จัดเก็บ, รวบรวม, Syn. pick up | hoard up | (phrv) กักตุน, See also: เก็บรวบรวม, สะสม | garland | (n) หนังสือรวบรวมบทกวี / วรรณกรรม, Syn. excerpts, anthology | garner | (vt) รวบรวม, See also: สะสม, เก็บเกี่ยว, Syn. gather, collect | gather | (vt) เก็บเกี่ยว, See also: รวบรวม, Syn. garner, reap | gatherer | (n) ผู้รวบรวม, Syn. collector | gathering | (n) การจับกลุ่ม, See also: การรวบรวม, การรวมตัว, การผนวก, Syn. company, collection, conference, Ant. individual | glean | (vi) รวบรวมข้อมูล, See also: เก็บตกข้อมูล, Syn. distill, extract | glean | (vt) รวบรวม, See also: ผสมผสาน, Syn. collect, gather | pass the hat round | (idm) ขอบริจาค, See also: รวบรวมเงิน, หาเงิน | ingather | (vt) เก็บรวบรวม, See also: รวบรวม, เก็บเกี่ยว, Syn. assemble, harvest | integrator | (n) คนรวบรวม |
| amass | (อะแมส') vt., vi. รวบรวม, สะสม, เข้าด้วยกัน. amassable adj. -amasser , | anthologise | (แอนธอล' ละไจซ) vi., vt. รวบรวมบทเขียนต่า' | assemblage | (อะเซม'เบลจฺ) n. กลุ่มคน, กลุ่มสิ่งของ, การรวบรวม, ภาวะที่รวมกัน, Syn. combination, assembly | assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ | batch processing | การประมวลผลเชิงกลุ่มหมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับโดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวควบคุม ในการประมวลผลแบบนี้ เราจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลและแบ่งแยกเป็นกลุ่มไว้ให้เรียบร้อยก่อน จึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทีเดียว เมื่อเสร็จแล้วจึงจัดรวบรวมเป็นรายงาน หรือสรุปผลอีกทีหนึ่ง วิธีการประมวลผลแบบนี้ทำง่าย ประหยัด และตรงไปตรงมา แต่อาจจะช้าไปบ้าง เพราะต้องรอให้ข้อมูลเรียบร้อยก่อน ตรงกันข้ามกับการประมวลผลแบบเชื่อมตรง (on line proessing) ซึ่งหมายถึงการที่เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูลดู on line processing ประกอบ | character set | ชุดอักขระหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่จัดรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ มีตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษต่าง ๆ เช่น เครื่องหมาย สระ วรรณยุกต์ | chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | clip art | แฟ้มภาพกฤตศิลป์หมายถึง ภาพที่ได้รับอนุญาตให้ตัดหรือคัดลอกมาใช้ได้ด้วยวิธีการทางคอมพิวเตอร์ (เช่น ใช้คำสั่ง cut หรือ copy) มีการนำมาเก็บรวบรวมไว้เพื่อใช้ในงานพิมพ์ตั้งโต๊ะ (desktop publishing) หรืองานพิมพ์ต่าง ๆ ในชุดโปรแกรมสำเร็จที่ชื่อ Microsoft Office จะมี Microsoft clip gallery รวบรวมภาพไว้ให้เลือกมากมาย เพื่อให้คัดลอกไปใช้ในงานพิมพ์ได้ตามที่ต้องการ | club | (คลับ) { clubbed, clubbing, clubs } n. กระบอง, ไม้พลอง, ไม้ (ลูกกอล์ฟหรือฮอกกี้) , ไนต์คลับ, สโมสร, ชมรม, รูปดอกจิกบนไพ่, ส่วนที่คล้ายกระบอง v. ตีด้วยกระบองหรือไม้, รวมกลุ่มเป็นคลับ, รวมกัน, รวบรวม, ช่วยกันเสียค่าใช้จ่าย adj. ร่วมกัน, Syn. staff | codification | n. การรวบรวม, ประมวล | collect | (คะเลคทฺ') { collected, collecting, collects } vt., vi. รวบรวม, สะสม, เก็บ (เงิน, บัญชี, ค่าเช่า, ฯลฯ) , คุมสติ, สำรวม, ไปรับ (จดหมาย) , จับกลุ่ม adj., adv. ให้ผู้รับจ่ายเงิน., Syn. obtain, receive, gather | collectable | (คะเลค'ทะเบิล) adj. ซึ่งพอจะรวบรวมได้, ซึ่งพอจะเก็บได้ | collected | (คะเลค'ทิด) adj. ซึ่งคุมสติได้, สำรวม, มีจิตมั่น, ซึ่งรวบรวมไว้, See also: collectedness n., Syn. composed | collectible | (คะเลค'ทะเบิล) adj. ซึ่งพอจะรวบรวมได้, ซึ่งพอจะเก็บได้ | collection | (คะเลค'เชิน) n. การสะสม, การรวบรวม, เงินสะสม, สิ่งที่เก็บรวบรวมไว้, การจัดเก็บ, การเรียกเก็บ, เงินที่เรี่ยไรมา | collective | (คะเล็ค'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับการรวบรวมไว้.n. หมู่คณะ, ส่วนรวม, กลุ่ม, ก้อน, See also: collectivity n. ดูcollective, Syn. cumulative | compilation | (คอมพะเล'เชิน) n. การรวบรวม, ผู้เรียบเรียง, Syn. collection | compile | (คัมไพล์') { compiled, compiling, compiles } vt. รวบรวม, เรียบเรียง แปลโปรแกรมหมายถึง แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษา โคบอล (COBOL) ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ ให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ การแปลนั้น คอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมทั้งหมดเข้าไปแล้วจึงจะลงมือแปล เมื่อเข้าใจแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมได้ | compiler | (คัมไพ'เลอะ) n. ผู้รวบรวม, ผู้เรียบเรียง ตัวแปลโปรแกรมคอมไพเลอร์หมายถึง โปรแกรมที่แปลโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่นภาษา FORTRAN, COBOL ฯ เป็นภาษาเครื่อง (machine language) การแปลโดยใช้โปรแกรมแปลนี้ จะใช้วิธีแปลทั้งโปรแกรม นำคำแปลเก็บไว้ในหน่วยความจำ แล้วจึงลงมือปฏิบัติการ (execute) ไปทีละคำสั่ง ถ้ามีการสั่งให้ทำบางคำสั่งซ้ำ ก็ไม่จำเป็นต้องแปลใหม่ดู translator ประกอบดู interpreter เปรียบเทียบ | congregate | (คอง'กระเกท) vi., vt. รวบรวม, ชุมนุม, จับกลุ่ม, ออกัน. adj. ซึ่งชุมนุมกัน, ซึ่งจับกลุ่มกัน., See also: congregative adj. ดูcongregate congregrativeness n. ดูcongregate congregator n. congregant n. ดูcongregate, Syn. g | consolidate | (คันซอล'ลิเดท) { consolidated, consolidating, consolidates } vt. ทำให้แข็งแรง, ทำให้มั่นคง, รวบรวมกำลัง, รวบรวมเข้าด้วยกัน. vi.รวม, รวมเข้ากัน., See also: consolidator n. ดูconsolidate, Syn. combine, Ant. weaken | consolidation | (คันซอลลิเด'เชิน) n. การทำให้แข็งแรง, การรวบรวมกำลัง, การรวมเข้าด้วยกัน, See also: consolidative adj. ดูconsolidation | data acquisition | การรวบรวมข้อมูลหมายถึง การเสาะหาหรือการรับข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ | data bank | คลังข้อมูลหมายถึง ที่หรือแหล่งเก็บข้อมูล หรือแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้เป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะอยู่กับหน่วยงานคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยคอมพิวเตอร์ของกระทรวงเกษตร อาจเป็นคลังข้อมูลในเรื่องของ ผลผลิต เนื้อที่การเกษตร รายละเอียดเกี่ยวกับกสิกร สัตว์ที่ใช้ในการเกษตร สินค้าเกษตร ฯลฯ เป็นต้น | data base | ฐานข้อมูลหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนเป็นคำเดียวกันว่า database | data base management syst | ระบบจัดการฐานข้อมูลใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่า ดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย | database | หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี | database management syste | ใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย | dbms | (ดีบีเอ็มเอส) ย่อมาจาก data base management system (แปลว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้ หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย | directory | (ดิเรค'ทะรี) n. หนังสือรวบรวมชื่อและที่อยู่ของบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ , แผ่นป้ายแสดงชื่อหน่วยงานและชั้นที่อยู่ของอาคารธุรกิจหลังใหญ่, คณะกรรมการ. adj. เกี่ยวกับการชี้ทาง, เกี่ยวกับการแนะแนว, Syn. list สารบบหมายถึง การแบ่งจานบันทึก โดยเฉพาะจานบันทึกที่มีความจุมาก ๆ ที่สามารถบรรจุแฟ้มข้อมูลได้หลายร้อยแฟ้ม ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อใช้เก็บแฟ้มข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อสะดวกในการค้นหา จานบันทึกทุก ๆ จานจะมีสารบบอย่างน้อยหนึ่งสารบบ เป็นสารบบเริ่มต้นเรียกว่า " สารบบราก " root directory เราอาจใช้คำสั่งสร้างสารบบ หรือสารบบย่อยเพิ่มขึ้น เพื่อใช้เก็บแฟ้มประเภทเดียวกันหรือกลุ่มเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน ก็ได้ การเก็บแฟ้มข้อมูลด้วยวิธีนี้ทำให้หาง่ายขึ้น | editor | (เอด, 'ดิเทอะ) n. ผู้เรียบเรียง, ผู้รวบรวม, บรรณาธิการ | embodiment | n. การทำให้ปรากฎเป็นรูปร่าง, การแสดงให้เห็นเป็นรูปร่าง, การแปลงรูป, การรวบรวม, ศูนย์รวม | embody | vt. ปรากฎในรูปร่าง, ทำให้เป็นรูปร่างขึ้น, สิ่งอยู่ในตัว, ทำให้เป็นตัวตน, รวบรวม, ประมวล., See also: embodier n. ดูembody, Syn. imbody | embrace | (เอมเบรส') vt. สวมกอด, อุ้ม, อ้าแขนรับ, รวบรวม, ล้อมรอบ, ยึดเอา, รวม, ประกอบด้วย, ลงมือทำ, เข้าใจ. vi. สวมกอด, โอบล้อม., See also: embossable adj. ดูembrace embossment n. ดูembrace embossr n. ดูembrace, Syn. encircle | expert system | ระบบผู้เชี่ยวชาญหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านการแพทย์ ระบบนี้จะรวมเอาความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ซึ่งพวกมืออาชีพหรือผู้ชำนาญการได้รวบรวมไว้ กับต้องมีวิธีการที่จะใช้ในการประมวลผล โดยการตั้งคำถามให้ตอบ โปรแกรมประเภทนี้ จะต้องนำคำตอบเหล่านั้นมาประมวลผล เปรียบเทียบกับข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว หาข้อสรุปให้ หรือช่วยแก้ปัญหาให้ คำตอบที่คอมพิวเตอร์ตอบนี้ ถือว่าเป็นคำตอบที่เหมือนกับที่ผู้เชี่ยวชาญจะตอบ | floatation | (โฟลเท'เชิน) n. การลอย, การล่องลอย, การเริ่มโครงการ, การก่อตั้งกิจการ, การรวบรวมเงิน, Syn. flotation | garner | (การ์'เนอะ) vt. สะสม, เก็บรวบรวม, ได้. n. ยุ้ง, ฉาง, สิ่งที่เก็บสะสมไว้, Syn. gather | gather | (แกธ'เธอะ) vt., vi., n. (การ) รวบรวม, จัดรวม, สะสม, ขมวดคิ้ว, สิ่งที่เก็บรวม, See also: gatherable n., Syn. assemble, mass | gathering | (แกธ'เธอริง) n. การรวบรวม, การเก็บรวม, การรวมกลุ่ม, สิ่งที่เก็บรวมเข้าด้วยกัน, กลุ่มคน, ฝีหนอง, Syn. meeting, assembly, crowd | glean | (กลีน) v. เก็บรวงข้าวที่ร่วง, รวบรวม, See also: gleaner n., Syn. pluck | herbarium | n. การเก็บรวบรวมสมุนไพร, ห้องเก็บตัวอย่างสมุนไพร., See also: herbarial adj. | hortussiccus | n. การเก็บรวบรวมพืชแห้ง | information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | integrate | (อิน'ทะเกรท) vt. ทำให้รวมตัวกันเป็นก้อน, รวบรวม vi. รวมตัวกันเป็นกลุ่ม, ประสานกัน., See also: integrative adj., Syn. unify | it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | knowlelge-based | ฐานความรู้เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดในระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) หมายถึง ข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อใช้เป็นฐานในการตัดสินใจของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ ฐานข้อมูลส่วนมากจะประกอบไปด้วยคำสั่งประเภท ถ้า...... (IF) มากทีเดียว ดู expert system และ artificial intelligence ประกอบ | legendary | (เลจ'เจินเดอรี) adj. เกี่ยวกับ legend (ดู) n. หนังสือรวบรวมเรื่องเล่าลือหรือตำนานต่าง ๆ, See also: legendarily adv., Syn. fanciful | legendry | (เลจ'เจินดรี) n. หนังสือรวบรวมเรื่องเล่าลือหรือตำนานต่าง ๆ , ตำนานต่าง ๆ , เรื่องเล่าลือต่าง ๆ, Syn. legends | lexicographer | (เลคซะคอก'ระเฟอะ) n. ผู้เขียนหรือรวบรวมพจนานุกรม |
| accumulate | (vi, vt) เก็บสะสม, รวบรวม, เพิ่มพูน, เพิ่มขึ้น | accumulation | (n) การเก็บสะสม, การรวบรวม | agglomerate | (vi) รวบรวม, จับเป็นก้อน, เกาะกัน, เก็บ | aggregate | (vt) รวบรวม, สรุป, ไหลไปรวมกัน | aggregation | (n) การรวบรวม, การรวมตัว, การรวมกลุ่ม | amass | (vt) รวบรวม, รวมเป็นก้อน, สะสม | assemble | (vi) ประชุม, มาชุมนุมกัน, รวบรวม | centralization | (n) การรวบรวม, การรวมอำนาจ | centralize | (vt) รวบรวม, รวมอำนาจ | club | (vt) ตีด้วยกระบอง, ตีด้วยไม้พอง, รวมกลุ่ม, รวบรวม | codify | (vt) ทำเป็นประมวล, ทำเป็นระเบียบ, รวบรวม, เข้ารหัส, จัดหมวดหมู่ | collect | (vi, vt) เก็บรวบรวม, เก็บสะสม, สะสม, รวมหมู่, เกาะกลุ่ม, จับกลุ่ม | collection | (n) การเก็บ, การสะสม, การรวบรวม, เงินสะสม | collector | (n) ผู้รวบรวม, พนักงานเก็บภาษี, ผู้สะสม, นักสะสม | compile | (vt) รวบรวม, รวม, เรียบเรียง | compiler | (n) ผู้เรียบเรียง, ผู้รวบรวม | consolidate | (vt) รวบรวม, ทำให้มั่นคงขึ้น, ทำให้แข็งแรง | consolidation | (n) การรวบรวม, การรวมบริษัท | editor | (n) บรรณาธิการ, ผู้เรียบเรียง, ผู้รวบรวม | embodiment | (n) การรวมตัว, การรวบรวม, การแปลงรูป | embody | (vt) รวมตัว, มีตัวตน, ปรากฏร่าง, รวบรวม | garner | (vt) เก็บไว้, รวบรวม, เก็บสะสม, สะสม | gather | (vi, vt) รวม, เก็บ, รวบรวม, จับกลุ่ม, สะสม, เกาะกัน, ชุมนุม | gathering | (n) การประชุม, การชุมนุม, การรวม, การรวบรวม | glean | (vt) เก็บรวบรวม, รวบรวม, สะสม, เก็บสะสม, ผสมผเส | hoard | (vt) สะสม, เก็บ(เงิน), รวบรวม, กักตุน | integrate | (vt) รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียว, เป็นตัว, รวบรวม | integration | (n) การรวบรวม, การรวมตัวกัน | lexicographer | (n) ผู้เขียนพจนานุกรม, ผู้รวบรวมพจนานุกรม | lump | (vt) รวมกัน, รวบรวม, โปะ, ทำให้เป็นก้อน, เหมา | muster | (n) การรวมพล, การรวบรวม, การชุมนุม | muster | (vt) รวบรวม, รวมพล, ชุมนุม | organize | (vt) จัดระเบียบ, รวบรวม, ทำให้เป็นระบบ, จัดตั้ง | piece | (vt) แบ่งเป็นชิ้น, ซ่อม, ปะ, ต่อ, รวบรวม | rally | (n) การแข่งรถทางไกล, การชุมนุม, การระดมพล, การรวบรวม, การแลกหมัด | rally | (vt) รวมกำลัง, รวบรวม, ระดมพล, ชุมนุม | sheave | (vt) เก็บ, มัด, รวบรวม, ทำให้เป็นฟ่อน | stow | (vt) เก็บไว้, รวบรวม, บรรจุ, กอง, ใส่, พัก, หยุด | whip | (vi, vt) ตี, เฆี่ยน, หวด, โบย, รวบรวม, กระตุ้น |
| accumulate | (vt) English - Thai, Loy's Dictionary Browse accumulate vt. อะคิ้วมิวเล็ท (อย่าอ่านเป็น แอ็กฯ) (ม.ปลาย) 1. สะสม, รวบรวม : I want to accumulate more paintings. | collection | (n, adj) จำนวนชนิดและจำนวนตัวสัตว์ที่อยู่ในสวนสัตว์ ประชากรสัตว์ในสวนสัตว์ การรวบรวมสัตว์ในสวนสัตว์ เช่น Collection Plan หมายถึงแผนจัดการประชากรสัตว์ในสวนสัตว์ Our zoo holds the largest collection in this region = สวนสัตว์ของเรามีประชากรสัตว์มากที่สุดในภูมิภาคนี้ | collection of data | การเก็บรวบรวมข้อมูล | data warehouse | (n) ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา ซึ่งอาจมี schema แตกต่างกัน มาไว้รวม ณ ที่เดียวกัน (และใช้ schema เดียวกัน) | meta-analysis | (phrase) การทบทวนวรรณกรรมระบบเชิงปริมาณ, การทบทวนหลักฐานจากข้อมูลทางสถิติที่รวบรวมขึ้น | synergize | (vi) การรวบรวมสรรพกำลัง การสร้างเครือข่ายทรัพยากร | town square | (n) จัตุรัสกลางเมือง ที่ใช้เป็นสถานที่ทำกิจกรรมต่างๆ เป็นแหล่งรวบรวมความบันเทิง และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เช่น ในเมืองเก่าๆ ของประเทศในยุโรป |
| 集積 | [しゅうせき, shuuseki] การเก็บสะสม การรวบรวม การเพิ่มพูน การรวม | データ取得 | [データしゅとく, de^ta shutoku] การรวบรวมข้อมูลหมายถึง การเสาะหาหรือการรับข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ |
| 集める | [あつめる, atsumeru] TH: รวบรวม EN: to collect | 編集 | [へんしゅう, henshuu] TH: การรวบรวมเรียบเรียง | 編集 | [へんしゅう, henshuu] TH: รวบรวม EN: compilation |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |