ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: จใน, -จใน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ pentimento | [เพ็นติเม้นโต] (n) พหูพจน์ pentimenti - การเปลี่ยนแปลงงานจิตรกรรมที่ทำโดยจิตรกรที่ทิ้งร่องรอยให้เห็นว่าจิตรกรเปลี่ยนใจในการวางรูปแบบระหว่างการเขียนภาพ (wikipedia.org) |
|
| Western blot | (n) เทคนิคที่ใช้ติดตามโปรตีนที่สนใจในสารตัวอย่าง เช่น homogenate tissue หรือโปรตีนที่สกัดมา เป็นวีธีการคล้ายการทำ southern blot hybridization แต่เปลี่ยนจากการหาดีเอ็นเอที่มีความจำเพาะในตัวอย่างมาเป็นโปรตีนแทน | Western blot (WB) | (n) เทคนิคที่ใช้ติดตามโปรตีนที่สนใจในสารตัวอย่าง เช่น homogenate tissue หรือโปรตีนที่สกัดมา เป็นวีธีการคล้ายการทำ southern blot hybridization แต่เปลี่ยนจากการหาดีเอ็นเอที่มีความจำเพาะในตัวอย่างมาเป็นโปรตีนแทน |
| นพณภสสรณ | [นบ-นะ-พัด-สอน] (name) ผู้เป็นที่รัก และผู้ประสบความสำเร็จในทุกๆด้าน | แม่ง | [แม่ง] (slang) เป็นคำอุทานที่มักใช้พูดกันเวลาอารมณ์เสียหรือไม่พอใจในสิ่งที่เกิดขึ้น มีสันนิษฐานว่าเกิดมาจากการกล่อนคำของคำว่า แม่มึง แต่ไม่ได้ใ้ช้ในความหมายนี้ แต่เป็นเพียงแค่คำอุทาน ตัวอย่าง แม่งเอ้ย วันนี้ถูกหวยแดกอีกแล้วกู หรือในสมัยก่อนเวลาตกใจบางคนอาจจะอุทานว่า อุ๊ยแม่มึง!!! |
| เสด็จในกรม | (n) prince, Example: กระผมจะกราบทูลเสด็จในกรมให้ท่านทราบเรื่องนี้, Count Unit: พระองค์, Thai Definition: คำเรียกเจ้านายที่ทรงกรม |
| เสด็จในกรม | น. พระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ ชั้นพระองค์เจ้าที่ทรงกรม. | กระเษม | น. เกษม, ความสุขสบาย, ความปลอดภัย, เช่น อันโอฬาริกประณีตกระเษมสุขสมมโนรถที่ปรารถนาใจในชาติเมื่อเป็นเทพยดานั้น (สามดวง). | กรานกฐิน | (-กะถิน) ก. ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา, ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้น เรียกว่า ผู้กราน, สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นทำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกว่า . (อุปสมบทวิธี). (ดู กฐิน). | กามฉันท์ | น. ความพอใจในกามคุณทั้ง ๕. | แกมมา | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐, ๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์-๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร. | ขมวดยา | (ขะหฺมวด-) น. ชื่อเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น ใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยนํ้ายาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราชลมารคหรือเสด็จพระราชดำเนินลำลองทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้, โขมดยา ก็ว่า. | ขยอก ๑ | (ขะหฺยอก) น. ชื่อหนอนผีเสื้อชนิด Parapoynx stagnalis (Zeller) ในวงศ์ Pyralidae ตัวหนอนมีผิวใสสีเขียวอ่อน หัวสีนํ้าตาล ข้างตัวมีเหงือกลักษณะเป็นพู่จำนวน ๖ คู่ สำหรับหายใจในนํ้าที่ขังอยู่ในปลอกหุ้มตัวซึ่งสร้างขึ้นจากใบข้าว ปลอกยาว ๒๕-๓๕ มิลลิเมตร ลอยไปตามน้ำได้ จัดเป็นศัตรูของข้าว, หนอนปลอกข้าว ก็เรียก. | ขยักขย่อน | (-ขะหฺย่อน) ก. ทำ ๆ หยุด ๆ ไม่ให้เสร็จในรวดเดียว. | ขอบใจ | คำกล่าวแสดงความรู้สึกพอใจในความดีที่ผู้อื่นได้มีต่อตน (เป็นคำที่ผู้ใหญ่ใช้แก่ผู้น้อย). | โขมดยา | (ขะโหฺมด-) น. ชื่อเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น ใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยนํ้ายาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราชลมารคหรือเสด็จพระราชดำเนินลำลองทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้, ขมวดยา ก็ว่า. | คณาธิการ | น. ผู้มีอำนาจในคณะ, ผู้ปกครองคณะ, เรียกภิกษุผู้ทำหน้าที่ในด้านการปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่ผู้ช่วยเจ้าอาวาสขึ้นไป ว่า พระคณาธิการ. | ควบคุม | การคุมหรือกักขังผู้ถูกจับโดยพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจในระหว่างสืบสวนและสอบสวน. | คอมมานโด | น. ทหารหรือตำรวจในกลุ่มที่ได้คัดเลือกเป็นพิเศษ เพื่อฝึกการต่อสู้ประชิดตัว การโจมตีโฉบฉวย จู่โจม และยุทธวิธีข่มขวัญอื่น ๆ, หน่วยรบเฉพาะกิจ. | จุลกฐิน | น. เรียกพิธีทอดกฐินที่ต้องทำตั้งแต่ปั่นฝ้าย ทอ เย็บ ย้อมผ้ากฐิน และถวายสงฆ์ให้เสร็จในวันเดียว, โดยปริยายหมายความว่า งานที่ต้องทำอย่างชุลมุนวุ่นวายเพื่อให้เสร็จทันเวลาอันจำกัด. | ตบหัวลูบหลัง | ก. ทำหรือพูดให้กระทบกระเทือนใจในตอนแรกแล้วกลับทำหรือพูดเป็นการปลอบใจในตอนหลัง. | ทุจริตต่อหน้าที่ | ก. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่ หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ทั้งที่ตนมิได้มีตำแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตนเองหรือผู้อื่น. | ธนาคารโลก | น. คำสามัญเรียกธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา ซึ่งทำหน้าที่ให้กู้ยืมเงินแก่ประเทศที่เป็นสมาชิกของธนาคาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศของตนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ธนาคารนี้ไม่รับฝากเงิน. | ธุร-, ธุระ | (ทุระ-) น. หน้าที่การงานที่พึงกระทำ, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ | นมาซ | น. การปฏิบัติศาสนกิจในศาสนาอิสลามเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติวันละ ๕ เวลา, ละหมาด ก็เรียก. | นักบุญ | น. ผู้อ้างตัวว่าเป็นผู้วิเศษ, ผู้ที่ทำความดีไว้มากเมื่อตายแล้วได้รับยกย่องว่าเป็นผู้สำเร็จในทางศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก, ผู้ยินดีในการบุญ. | นันทนาการ | (นันทะ-) น. กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและผ่อนคลายความตึงเครียด, การสราญใจ. | นิจ ๒ | ว. ตํ่า (คู่กับ อุจ ว่า สูง) ใช้แก่ดาวนพเคราะห์ เช่นว่า พระอาทิตย์ขึ้นอุจในเดือนเมษายน และตกนิจในเดือนตุลาคม. | นิรุตติปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | นิวรณ์ | น. สิ่งที่ขัดขวางจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม มี ๕ ประการ คือ ความพอใจในกามคุณ ๑ ความพยาบาท ๑ ความหดหู่ซึมเซา ๑ ความฟุ้งซ่านรำคาญ ๑ ความลังเลใจ ๑. | บีตา | น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี มี ๒ ชนิด คือ อิเล็กตรอน และ โพซิตรอน. (อ. beta particle), มักเรียกกระแสอนุภาคบีตาว่า รังสีบีตา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๙๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา. | พิษฐาน | (พิดสะถาน) ก. มุ่งหมาย, ขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อช่วยบันดาลให้ประสบผลสำเร็จในสิ่งที่ตนมุ่งหมาย. | ภาคภูมิใจ | ก. กระหยิ่มใจ, รู้สึกว่ามีเกียรติยศ, เช่น เขาภาคภูมิใจในความสำเร็จ. | ภาษาธรรม | น. ภาษาที่ใช้มีความหมายในทางธรรม ต่างกับความหมายที่ชาวบ้านใช้ เช่น คำว่า เวทนา ในภาษาธรรมหมายถึง การเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง สงสารสลดใจ หรือคำว่า สงสาร ในภาษาธรรมหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น. | มหาชัย | น. ชื่อเพลงไทยโบราณ อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน อยู่ในเรื่องทำขวัญ ต่อมาแปลงเป็นทางฝรั่งใช้เป็นเพลงคำนับเมื่อบุคคลสำคัญมาถึงมณฑลพิธี, สำนักพระราชวังและข้อบังคับกระทรวงกลาโหมกำหนดให้ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยรับและส่งเสด็จในพิธีการที่พระบรมวงศ์เสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จไปทรงเป็นประธาน และบรรเลงรับและส่งประธานในพิธีการที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และบรรเลงเป็นเพลงเคารพธงราชวงศ์เวลาผ่านหรือขึ้นลง นายทหารที่มียศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ. | มองคร่อ | โรคทางเดินหายใจในสัตว์กีบเดียววงศ์ Equidae มีอาการไข้สูง เป็นฝีที่ต่อมน้ำเหลืองใต้คางและบริเวณคอหอย อาจติดต่อถึงคนได้, เขียนเป็น มงคล่อ ก็มี. | แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก | น. หญิงที่ไปติดต่อระหว่างชายหญิง แต่ไม่สำเร็จในที่สุดก็ตกเป็นภรรยาของชายนั้นแทน. | ยกยอด | เก็บเอาสิ่งที่ทำค้างไว้ไปทำให้เสร็จในคราวเดียวกัน | ยาเสพติดให้โทษ | น. สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ รวมทั้งพืช ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่นต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลำดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา. | ยึดอำนาจ | ก. ใช้กำลังเข้าแย่งอำนาจในการบริหารบ้านเมือง, โดยปริยายใช้ในความคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตอนนี้ลูกยึดอำนาจในบ้านหมดแล้ว. | ร่ำรวยผิดปกติ | น. การมีทรัพย์สินมากผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นมากผิดปกติหรือการมีหนี้สินลดลงมากผิดปกติ หรือได้ทรัพย์สินมาโดยไม่สมควร สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติตามหน้าที่หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่. | เรือโขมดยา | น. เรือขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น ใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรียว บนหัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยน้ำยาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคหรือเสด็จพระราชดำเนินลำลองในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้. | เรือเร็วโจมตี | น. เรือรบขนาดเล็กระวางขับน้ำประมาณ ๓๐๐-๖๐๐ ตัน มีความเร็วสูงตั้งแต่ ๒๕ นอตขึ้นไป มีอาวุธที่มีอำนาจในการทำลายสูงหลายประเภทขึ้นอยู่กับภารกิจของเรือนั้น ๆ เช่น ปืน อาวุธนำวิถีระยะปานกลางหรือระยะไกล. | ละหมาด | น. การปฏิบัติศาสนกิจในศาสนาอิสลามเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติวันละ ๕ เวลา, นมาซ ก็เรียก. | ลูกระเบิด | น. สิ่งที่มีรูปร่างต่าง ๆ บรรจุดินระเบิดหรือสารเคมีบางอย่าง เมื่อเกิดการระเบิด บางชนิดมีอำนาจในการทำลาย เช่น ลูกระเบิดทำลาย ลูกระเบิดสังหาร บางชนิดก่อให้เกิดไฟไหม้ เช่น ลูกระเบิดเพลิง บางชนิดก่อให้เกิดอาการระคายเคืองแก่เยื่อตา เช่น ลูกระเบิดน้ำตา. | ลูกหนุน | น. ผู้สนับสนุนให้กำลังใจในการกีฬาหรือการต่อสู้เป็นต้น. | ศิลปศาสตร์ | ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์. | สงสัย | ก. ไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง เช่น สงสัยว่าทำดีจะได้ดีจริงหรือ, ลังเล เช่น เมื่อเดินไปถึงทาง ๒ แพร่ง สงสัยว่าจะไปทางไหนจึงจะถูก | สงสาร ๒ | (สงสาน) ก. รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, รู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา, เช่น เห็นเด็ก ๆ อดอยากก็รู้สึกสงสาร เห็นเขาประสบอัคคีภัยแล้วสงสาร. | สำทับ | ก. ยํ้า, กำชับ, เช่น เขาสั่งให้ทำงานแล้วสำทับว่าต้องเสร็จใน ๓ วัน, ซ้ำเติม เช่น ลูกถูกแม่ตีแล้วพ่อยังสำทับว่าถ้าทำอีกก็จะถูกตีอีก, ขู่ เช่น ผู้ร้ายสำทับว่า อย่าไปบอกตำรวจมิฉะนั้นจะฆ่าปิดปาก. | ใส่ใจ | ก. ใส่ไว้ในใจ, จดจำ, เช่น จำใส่ใจไว้ให้ดีนะ, เอาใจจดจ่อ เช่น นักเรียนควรใส่ใจในการศึกษาเล่าเรียนให้มาก. | หนักใจ | ก. วิตก เช่น เขาหนักใจในการสอบครั้งนี้, หนักอก ก็ว่า. | หมอ ๓ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Anabas testudineus (Bloch) ในวงศ์ Anabantidae ลำตัวป้อม แนวสันหลังโค้งพอ ๆ กับแนวสันท้อง แบนข้าง ท้องกลม คอดหางกว้าง ตาอยู่ค่อนไปทางปลายหัว ปากกว้างเชิดขึ้นเล็กน้อย ฟันเล็กแต่แข็งแรง ขอบกระดูกแผ่นปิดเหงือกหยักเป็นหนามแข็ง ใช้แถกเพื่อช่วยยึดยันให้เคลื่อนไปบนบกได้ดี ขอบครีบต่าง ๆ กลม ลำตัวและครีบมีสีดำคลํ้า ส่วนปลาขนาดเล็กมีสีจางกว่าและมีลายบั้งพาดลำตัวเป็นระยะ ๆ อาศัยอยู่ในแหล่งนํ้าแทบทุกประเภท พบขึ้นมาบนบกในฤดูฝนเสมอ ซึ่งเป็นธรรมชาติการย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยแบบหนึ่ง และยังแสดงให้เห็นความสามารถในการหายใจในที่ดอนได้อีกด้วย ขนาดยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, หมอไทย หรือ สะเด็ด ก็เรียก, อีสานเรียก เข็ง. | หลังบ้าน | น. ภรรยาของผู้มีอำนาจในวงราชการบ้านเมือง. | เหงือก | อวัยวะของสัตว์ที่ใช้หายใจในนํ้า. | ไหน ๆ | ว. สำนวนแสดงถึงความปลงใจในสิ่งที่ผ่านพ้นไปแล้วหรือเป็นการตัดพ้อต่อว่าเป็นต้น เช่น มัวแต่งุ่มง่ามอยู่นั่นแหละ เพื่อน ๆ เขาก้าวหน้าไปไหน ๆ แล้ว ไหน ๆ ก็ร่วมหอลงโรงกันแล้ว. |
| | Company Man | พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม [ปิโตรเลี่ยม] | Company Representative | พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะ ตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม [ปิโตรเลี่ยม] | Future study | การศึกษาภาวะเศรษฐกิจในอนาคต [เศรษฐศาสตร์] | Domestic economic assistance | การช่วยเหลือเศรษฐกิจในประเทศ [เศรษฐศาสตร์] | Wage incentive | สิ่งจูงใจในรูปค่าจ้าง [เศรษฐศาสตร์] | Radiation induced F1-sterility | การชักนำให้เป็นหมันในรุ่นลูกด้วยรังสี, การใช้รังสีชักนำให้แมลงศัตรูพืชในกลุ่มผีเสื้อเป็นหมันแบบไม่สมบูรณ์ ซึ่งจะถ่ายทอดความเป็นหมันแบบสมบูรณ์ในรุ่นลูก โดยไม่ทำให้พฤติกรรมและความสามารถในการผสมพันธุ์เสียไป ซึ่งเป็นวิธีการควบคุมประชากรแมลงอีกวิธีหนึ่ง <br>วิธีการนี้ประสบความสำเร็จใน หนอนเจาะสมอฝ้ายสีชมพู (pink bollworm) และหนอนทำลายแอปเปิล (codling moth) โดยใช้รังสีแกมมาที่ปริมาณ 80-200 เกรย์ </br> <br> (ดู sterile insect technique ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์] | Asia Pacific Economic Cooperation (Organization) | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [TU Subject Heading] | Decentralization in management | การกระจายอำนาจในการจัดการ [TU Subject Heading] | Decision making in chileren | การตัดสินใจในเด็ก [TU Subject Heading] | Early retirement incentives | สิ่งจูงใจในการเกษียณอายุก่อนกำหนด [TU Subject Heading] | Employee motivation | แรงจูงใจในการทำงาน [TU Subject Heading] | Home-based business | ธุรกิจในครัวเรือน [TU Subject Heading] | Incentives in industry | สิ่งจูงใจในอุตสาหกรรม [TU Subject Heading] | Job satisfaction | ความพอใจในการทำงาน [TU Subject Heading] | Listening comprehension | ความเข้าใจในการฟัง [TU Subject Heading] | Listening comprehension tests | การทดสอบความเข้าใจในการฟัง [TU Subject Heading] | Motivation in education | แรงจูงใจในการศึกษา [TU Subject Heading] | Performing arts sponsorship | การสนับสนุนเชิงธุรกิจในการแสดง [TU Subject Heading] | Prediction of occupational success | พยากรณ์ความสำเร็จในอาชีพ [TU Subject Heading] | Reading comprehension | ความเข้าใจในการอ่าน [TU Subject Heading] | Reading interests | ความสนใจในการอ่าน [TU Subject Heading] | Self-esteem | ความภาคภูมิใจในตนเอง [TU Subject Heading] | Self-esteem in adolescence | ความภาคภูมิใจในตนเองในวัยรุ่น [TU Subject Heading] | Self-esteem in children | ความภาคภูมิใจในตนเองในเด็ก [TU Subject Heading] | Self-esteem in literature | ความภาคภูมิใจในตนเองในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Self-esteem in women | ความภาคภูมิใจในตนเองในสตรี [TU Subject Heading] | Sports sponsorship | การสนับสนุนเชิงธุรกิจในกีฬา [TU Subject Heading] | Treaty-making power | อำนาจในการทำหนังสือสัญญา [TU Subject Heading] | Asia-Pacific Economic Cooperation | กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย -แปซิฟิก, Example: ประกอบด้วยสมาชิก 18 ประเทศ (ปี2538) ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน จีน ไต้หวัน ฮ่องกง เม็กซิโก ปาปัวนิวกีนี และชิลี โดยเริ่มกำเนิดขึ้นจากการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศในภูมิภาคเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ณ ประเทศออสเตรเลีย เป็นการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ เพื่อความร่วมมือกันทางด้านเศรษฐกิจเท่านั้น วัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน คือ สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้า ของภูมิภาคและของโลกขยายความร่วม มือในกสาขาเศรษฐกิจที่มีความสนใจร่วมกัน พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าหลายฝ่ายของแกตต์ ลดอุปสรรคในการค้าสินค้าและบริการ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ [สิ่งแวดล้อม] | Vertical Integration | การรวมตัวของธุรกิจในแนวตั้ง, Example: การขยายตัวของอุตสาหกรรมหนึ่ง หรือธุรกิจหนึ่ง ด้วยการเข้าไปดำเนินการในธุรกิจอื่น ที่ผลิตสินค้าในขั้นตอนก่อนหรือหลังการผลิตสินค้าของอุตสาหกรรมนี้ เช่น ผู้ผลิตในอุสาหกรรมรถยนต์ อาจเข้าไปดำเนินกิจการโรงงานถลุงเหล็ก และต่อมาก็เข้าไปทำเหมืองแร่เหล็กเอง ซึ่งเรียกว่าการรวมตัวในแนวตั้งที่มีผลไปข้างหลัง (backward) แต่หากอุตสาหกรรมรถยนต์ที่เริ่มขยายตัวโดยการขายรถยนต์โดยตรงแก่ผู้บริโภค แทนที่จะขายผ่านตัวแทนหรือผู้จัดจำหน่าย กรณีนี้เรียกว่าการรวมตัวในแนวตั้งที่มีผลไปข้างหน้า (forward) [สิ่งแวดล้อม] | Accelerating Economic Recovery in Asia | โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต] | ASEAN Finance Minister + 3 (China, Japan and the Republic of Korea) Meeting | การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับผู้แทนจากจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ในช่วงการประชุม ประจำปีของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ที่กรุงมะนิลา และได้ ตกลงในหลักการที่จะจัดเป็นประจำทุกปี เพื่อหารือสถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจในภูมิภาค และร่วมมือหามาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขวิกฤตการณ์การเงินในภูมิภาค ผลงานที่สำคัญคือ ข้อตกลงริเริ่มที่เชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative) [การทูต] | Asia Pacific Economic Cooperation | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก " เป็นกระบวนการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีเป้าหมายในการเปิดการค้าเสรีและการลงทุน ภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับสมาชิกพัฒนาแล้ว และปี พ.ศ. 2563 สำหรับสมาชิกกำลังพัฒนา ขณะนี้มีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน ดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกก่อตั้ง " [การทูต] | APEC Study Centers | ศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต] | ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] | Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] | Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] | concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] | Condolences | เมื่อใดที่ประมุขของรัฐผู้รับ หรือบุคคลในครอบครัวของประมุขนั้นถึงแก่กรรม เป็นธรรมเนียมที่ผู้แทนทางการทูตซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ ประจำอยู่ในรัฐนั้น หลังจากที่ได้รายงานให้กระทรวงการต่างประเทศของผู้แทนทางการทูตนั้นก่อนทาง โทรเลขหรือโทรสารจะไปเยี่ยมหรือพบกับเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมของรัฐนั้นเพื่อ แสดงความเสียใจในนามของประมุขของรัฐของตน โดยมิต้องรอรับคำสั่งเป็นพิเศษจากกระทรวงการต่างประเทศก่อนตามปกติ โทรเลขหรือโทรสารแสดงความเสียใจนั้นจะส่งจากประมุขของรัฐ ไปยังบุคคลที่เหมาะสมในครอบครัวที่ประสบความทุกข์โศกนั้นโดยตรง [การทูต] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Free Trade Area of the Americas | เขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา " ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมดขององค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States หรือ OAS) ยกเว้นประเทศคิวบา มีเป้าหมายที่จะจัดตั้งให้สำเร็จในปี พ.ศ. 2548 (OAS มีสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก อาร์เจนตินา โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา โดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา เฮติ ฮอนดูรัส นิการากัว ปานามา ปารากวัย อุรุกวัย เวเนซุเอลา แอนติกัวและบาร์บูดา เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ จาเมกา บาร์เบโดส เกรนาดา สุรินาเม โดมินิกา เซนต์ลูเซีย บาฮามาส เซนต์คิดตส์และเนวิส เบลิซ กายอานา ตรินิแดดและโตบาโก) " [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] | International Bank for Reconstruction and Development | ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา เป็นที่รู้จักกันในชื่อ ธนาคารโลก (World Bank) สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2489 เพื่อส่งเสริมให้เงินทุนมีการไหลเวียนระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือในด้านการให้กู้ในโครงการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศกำลังพัฒนา [การทูต] | The Netherlands Fellowship Progrmmes | แผนงานด้านทุนของเนเธอร์แลนด์ รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ได้ให้ความร่วมมือด้านทุนการศึกษา และฝึกอบรมในระดับหลังปริญญาตรีแก่ผู้สนใจในประเทศกำลังพัฒนา โดยมีหลักสูตรต่าง ๆ ดังรายละเอียดใน http://www.nuffic.nl โดยผู้สมัครจะต้องเป็นผุ้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีและต้องทำงานไม่ ต่ำกว่า 2 - 3 ปี เพื่อให้มีประสบการณ์ในการทำงานและเพื่อนำสิ่งที่ได้จากการฝึกอบรมมาพัฒนา งานของตน ทั้งนี้เน้นการให้ทุนฝึกอบรมระยะสั้นเพื่อเพิ่มพูนความรู้มากกว่าการศึกษา [การทูต] | Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] | Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | prescriptive power | อำนาจในการออกกฎหมาย [การทูต] | Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
| อำนาจในการสั่งการ | [amnāt nai kān sangkān] (n, exp) EN: authority ; power ; influence | อำนาจในการตัดสินใจ | [amnāt nai kān tatsinjai] (n, exp) EN: decision-making power ; power to take decisions FR: décisionnaire [ m ] | ใช้อำนาจในทางที่ผิด | [chai amnāt nai thāng thī phit] (v, exp) EN: abuse one's power FR: abuser de son pouvoir | การใช้อำนาจในทางที่ผิด | [kān chai amnāt nai thāng thī phit] (n, exp) EN: abuse of power FR: abus de pouvoir [ m ] | การใช้ดุลพินิจในทางที่ไม่ถูกต้อง | [kān chai dunlaphinit nai thāng thī mai thūktǿng] (n, exp) EN: abuse of discretion | การจูงใจในการทำงาน | [kān jūngjai nai kān thamngān] (n, exp) FR: motivation au travail [ f ] | คลำหาลูกกุญแจในกระเป๋า | [khlam hā lūk kunjaē nai krapao] (xp) EN: fumble in one's pocket for the key FR: chercher les clés dans sa poche | ความพึงพอใจในการทำงาน | [khwām pheungphøjai nai kān thamngān] (n, exp) EN: job satisfaction | ไม่ภูมิใจใน | [mai phūmjai nai] (x) EN: not proud of | เศรษฐกิจในสังคม | [sētthakit nai sangkhom] (n, exp) EN: social economy FR: économie sociale [ f ] |
| franchise | (n) ธุรกิจที่ผู้ค้ารายย่อยดำเนินธุรกิจในนามของอีกบริษัทหนึ่ง โดยได้รับอนุญาตจากบริษัทนั้นๆ โดยมากก็จะขายสินค้าหรือบริการรวมทั้งมีลักษณะการดำเนินธุรกิจ, และรูปลักษณะการจัดร้านที่แนะนำหรือควบคุมโดยบริษัทผู้ให้สิทธิอนุญาต ตัวอย่างเช่น 7-11, ชายสี่หมี่เกี๊ยว | nerd | (n, jargon) nerd เป็นคำเรียกบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงซึ่งมีความสนใจในการเรียนหรือ การศึกษาเรื่องบางเรื่องที่เขาสนใจ คนภายนอกจะมองว่าพวกนี้เป็นพวกที่ไม่เข้าสังคม แต่จริงๆแล้วเป็นเพราะว่าพวกนี้ไม่สนใจและไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้าต่างหาก (ความหมายโดยชาว Nerd) | yoga | (n) การฝึกบริหารร่างกายและควบคุมจิตใจในเวลาเดียวกัน เช่น She credits yoga with helping her maintain a serene outlook. | hat trick | (n) การที่ผู้เล่นกีฬาคนหนึ่งๆ สามารถทำความสำเร็จในกีฬานั้นๆ ได้สามครั้ง ในการเล่นครั้งหนึ่งๆ เช่น นักฟุตบอลทำประตูได้ 3 ประตูในเกมเดียว ใช้ในกีฬาเช่น ฟุตบอล, คริกเก็ต, ฮ๊อกกี้ |
| authority | (n) อำนาจในการสั่งการ, See also: อำนาจ, อำนาจหน้าที่, Syn. power, influence | big time | (n) ช่วงแห่งการประสบความสำเร็จในอาชีพ | bogeyman | (n) ปีศาจในจินตนาการที่ใช้ขู่เด็กๆ | bogyman | (n) ปีศาจในจินตนาการที่ใช้ขู่เด็กๆ | butterfly | (n) คนโง่หรือคนที่ไม่ใส่ใจในเรื่องใดๆ, Syn. scatterbrain | bank on | (phrv) พึ่งพา, See also: เชื่อถือใน, เชื่อใจใน, Syn. depend on | bargain on | (phrv) พึ่งพา, See also: ไว้วางใจใน, เชื่อถือใน, Syn. depend on | be into | (phrv) สนใจใน | be puffed up | (phrv) หยิ่ง (คำไม่เป็นทางการ), See also: อวดตัว, ภูมิใจในตัวเองเกินไป | believe in | (phrv) ไว้วางใจใน, See also: ศรัทธาใน, Ant. disbelieve in | bring home the bacon | (idm) ประสบความสำเร็จในการหาอาหารหรือสิ่งจำเป็นสำหรับครอบครัว | bring off | (phrv) ประสบความสำเร็จในสิ่งที่ทำยาก, Syn. carry off, come off, go off, pass off | bring the house down | (idm) ประสบความสำเร็จในการแสดง | build on | (phrv) มั่นใจในการทำบางสิ่ง, See also: อาศัย, พึ่งพา บางสิ่งหรือบางคน, Syn. depend on | build upon | (phrv) มั่นใจในการทำบางสิ่ง, See also: อาศัย, พึ่งพา, Syn. depend on | clan | (n) กลุ่มคนที่สนใจในเรื่องเดียวกัน, Syn. clique, set | cockiness | (n) ความโอหัง, See also: ความมั่นใจในตัวเองมากเกินไปจนดูก้าวร้าว | cocky | (adj) หยิ่งยโส, See also: ทะนง, ที่มั่นใจในตนเองมากเกินไป, Syn. arrogant, overconfident | conceited | (adj) ที่ภูมิใจในตัวเองมากเกินไป, Syn. vain, arrogant | content | (adj) พอใจในสภาพของตนเอง, Syn. contented | contented | (adj) ที่พอใจในสิ่งที่เป็นอยู่, Syn. content, pleased | contentedly | (adv) อย่างพอใจในสิ่งที่เป็นอยู่, Syn. happily | control | (n) อำนาจในการควบคุม, Syn. command, direction, charge | coterie | (n) กลุ่มคนเล็กๆ ที่สนใจในเรื่องเดียวกัน | coxcomb | (n) คนขี้เต๊ะ, See also: คนที่มั่นใจในรูปลักษณ์ภายนอกของตนเองมากเกินไป | calculate on | (phrv) ไว้วางใจใน, See also: มั่นใจใน, Syn. depend on | calculate upon | (phrv) ไว้วางใจ, See also: มั่นใจใน, Syn. depend on | care about | (phrv) สนใจใน | carry before | (phrv) ประสบความสำเร็จในทุกสิ่ง (มักใช้ในภาษาเขียน) | carry off | (phrv) ประสบความสำเร็จในเรื่อง (ที่คนอื่นทำได้ยาก) | complain about | (phrv) บ่นเกี่ยวกับ, See also: ไม่พอใจในเรื่อง, บ่นว่าในเรื่อง, Syn. bitch about, complain of, gripe about | concentrate on | (phrv) สนใจใน, Syn. concentrate upon, focus on | concentrate upon | (phrv) สนใจใน, Syn. concentrate on, focus on | confirm in | (phrv) ทำให้มั่นใจในเรื่อง | count on | (phrv) พึ่งพา, See also: ไว้วางใจใน, พึ่ง, Syn. depend on | count upon | (phrv) พึ่งพา, See also: ไว้วางใจใน, พึ่ง, Syn. depend on | credit for | (phrv) ยกย่องในเรื่อง, See also: เชื่อใจในเรื่อง | delight in | (phrv) ยินดีเรื่อง, See also: ดีใจในเรื่อง, Syn. glory in, rejoice at, rejoice in, rejoice over, take in | depend on | (phrv) เชื่อใจใน, See also: ไว้วางใจใน, Syn. bank on, bet on, count on | depend upon | (phrv) เชื่อใจใน, See also: ไว้วางใจใน, Syn. bank on, bet on, count on | despair of | (phrv) รู้สึกวิตกกังวลเกี่ยวกับ (พฤติกรรมของบางคน), See also: หนักใจในเรื่อง | disincline for | (phrv) ไม่ยินยอมในเรื่อง, See also: ไม่สมัครใจในเรื่อง | disincline towards | (phrv) ไม่ยินยอมในเรื่อง, See also: ไม่สมัครใจในเรื่อง | dissatisfy at | (phrv) ไม่พอใจในเรื่อง | doubt of | (phrv) สงสัยในเรื่อง, See also: สงสัยเกี่ยวกับ, ไม่แน่ใจในเรื่อง | eleventh-hour decision | (idm) การตัดสินใจในนาทีสุดท้าย | encourage in | (phrv) ทำให้มีกำลังใจในเรื่อง, See also: สนับสนุนในเรื่อง | enough is as good as a feast | (idm) ความพึงพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ | fail in | (phrv) ไม่ประสบความสำเร็จในเรื่อง, See also: ล้มเหลวกับ | figure on | (phrv) ขึ้นอยู่กับ, See also: แน่ใจในเรื่อง, มั่นใจกับ, Syn. depend on |
| affinity | (อะฟิน' นิที) n. ความสัมพันธ์อย่างสนิท, ความดึงดูด, ความดึงดูดความสนใจ, การมีอารมณ์ร่วม, ความชอบพอกัน, ความพอใจในการร่วม, ความ สัมพรรค, Syn. inclination-A. antipathy | audition | (ออดิช'เชิน) n. การได้ยิน, ประสาทหรืออำนาจในการฟัง, การทดลองฟัง, การทดลองแสดง, Syn. hearing, tryout, test | believe | (บิลิฟว') { believed, believing, believes } vt. เชื่อ, มั่นใจใน, ศรัทธา, เชื่อว่า, เข้าใจว่า, See also: believable adj. ดูbelieve believer n. ดูbelieve, Syn. postulate, hold, Ant. disbelieve, doubt | breathed | (บรีธดฺ) adj. ไร้เสียง, ใช้ลมหายใจในการออกเสียง | concentration | (คอนเซินเทร'เชิน) n. ความเข้มข้น, ระดับความเข้มข้น, ความตั้งอกตั้งใจ, ภาวะที่เข้มข้น, สิ่งที่เข้มข้น, การรวมพล, ความใส่ใจในสาขาวิชาหนึ่ง, Syn. convergence, mass, Ant. scattering | conductivity | (คอนดัคทิฟ'วิที) n. คุณสมบัติหรืออำนาจในการนำกระแสไฟฟ้า, ส่วนผันกลับของความต้านทานไฟฟ้ามีสัญลักษณ์เป็น | contrition | (คันทริช'เชิน) n .ความสำนึกผิด, ความเสียใจในความผิดที่กระทำไป, ความโศกเศร้า | dealership | (ดี'ละชิพ) n. อำนาจในการขาย, ตัวแทนจำหน่ายที่มีอำนาจดังกล่าว | ebcdic | (เอบซีดิก) ย่อมาจาก extended binary coded decimal interchange code (แปลว่า รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย) เป็นชื่อของรหัสคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่กำหนดไว้สำหรับเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสองแบบขยาย บริษัทไอบีเอ็มเป็นผู้คิดและคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มก็ใช้รหัสนี้ทั้งหมด แต่ในปัจจุบัน คนทั่วไปนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCll) มากกว่า อันที่จริงแล้ว ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ไม่จำเป็นต้องเข้าใจในเรื่องของรหัสเหล่านี้เลยก็ได้ | extended binary coded dec | extended binary coded decimal interchange code รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยายใช้ตัวย่อว่า EBCDIC (อ่านว่า เอ็บซีดิก) เป็นชื่อของรหัสคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่กำหนดไว้สำหรับเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสองแบบขยาย บริษัทไอบีเอ็มเป็นผู้คิดและคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มก็ใช้รหัสนี้ทั้งหมด แต่ในปัจจุบัน คนทั่วไปนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCll) มากกว่า อันที่จริงแล้ว ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ไม่จำเป็นต้องเข้าใจในเรื่องของรหัสเหล่านี้เลยก็ได้ | field work | n. การวิจัยค้นคว้าหรือสำรวจในสถานที่จริง., See also: fieldworker n. | gray eminence | ผู้ใช้อำนวจในทางที่ผิดหรือเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง | inferior complex | ปมด้อย, ความรู้สึกต่ำต้อย, การขาดความมั่นใจในตัวเอง | intellect | (อิน'ทะเลคทฺ) n. ปัญญา, สติปัญญา, อำนาจในการคิดและหาความรู้, อำนาจในการเข้าใจเหตุผล, ผู้มีปัญญาสูง., See also: intellective adj., Syn. mind, reason | intellectual | (อินทะเลค'ชวล) adj. เกี่ยวกับปัญญา, ซึ่งมีปัญญาสูง, ใช้สติปัญญา n. ผู้มีปัญญาสูง, ผู้ที่มีเหตุผลสูง, ผู้ที่ใช้สติปัญญา (แทนการใช้อารมณ์) , intellectuals อำนาจในการเข้าใจเหตุผล, สิ่งที่เกี่ยวกับปัญญา., See also: intellectuality n. คำที่มีความหมายเหมือ | intelligence | (อินเทล'ลิเจินซฺ) n. สติปัญญา, อำนาจในการเข้าใจ, เชาวน์, ความเฉลียวฉลาด, ไหวพริบ, ความรู้จักคิด, Syn. brains, intellect, wit | jack-a-dandy | n. ผู้ชายสำรวย, ผู้ชายที่สนใจในการแต่งตัวมากเกินไป., See also: jack-a-dandyism n. ดูjack-a-dandy, Syn. dandy | judicature | (จู'ดะเคเชอะ) n. การพิจารณาอรรถคดีตามกฎหมาย, ผู้พิพากษาทั้งหลาย, อำนาจในการพิพากศาอรรถคดี, ศาลยุติธรรม, กฎหมาย | jurisdiction | (จัวริสดิค'เชิน) n. อำนาจในการตัดสินคดี, อำนาจศาล, อำนาจการควบคุม, ขอบเขตอำนาจ, อำนาจศาล., See also: jurisdictive adj. ดูjurisdiction jurisdictionally adv. ดูjurisdiction, Syn. judicature, magistracy, sphere, range | listless | (ลิส'ลิสฺ) adj. ไม่มีความโน้มเอียง, ไม่สนใจในสิ่งใด, เมินเฉย, เฉยเมย., See also: listlessness n. ดูistless, Syn. forgetful | loop | (ลูพ) n. ห่วง, ขมวด, วง, บ่วง, รูห่วง, การตีลังกา, วงจรปิดของไฟฟ้าหรือแม่เหล็ก, ทางวงแหวน, ทางหลบรถ, เส้นกลับ, การกลับ, รูกำแพง, รูเล็ก ๆ หรือแคบ ๆ vt. กลายเป็นห่วง, ทำเป็นห่วง, ทำให้เคลื่อนที่เป็นรูปวงแหวน. vi. ทำให้เป็นห่วง, กลายเป็นห่วง -Phr. (the Loop ย่านธุรกิจในกรุงชิคาโก, ห่วงคุมกำเนิดที่ใช้ใส่เข่าไปในช่องคลอด | master key | n. ลูกกุญแจที่สามารถเปิดได้หลายกุญแจในสถานที่หนึ่ง ๆ | moneymaker | (มัน'นีเมคเคอะ) n. ผู้หาเงิน, ผู้ประสบความสำเร็จในการหาเงินได้มาก, สิ่งที่ให้ผลกำไรเป็นเงิน | packaged program | โปรแกรมสำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ใช้หมายถึง application package ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯ | realism | (รี'อะลิสซึม) n. ความสนใจในความเป็นจริง, ลักษณะที่เหมือนจริง, การมองสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง, ลัทธินิยมความจริง, ลัทธิเขียนตามความเป็นจริง, ลัทธิที่ว่าจักรวาลเป็นสิ่งที่มีตัวตนจริง ๆ | repent | (รีเพนทฺ') vi. สำนึกผิด, เสียใจในความผิดที่กระทำไป, สำนึกบาป vt. สำนึกผิด, เสียใจ, เศร้าใจ adj. เลื้อย, คลาน, See also: repenter n. repentingly adv., Syn. regret, lament | repentant | (ริเพน'เทินทฺ) adj. สำนึกผิด, เสียใจในความผิดที่กระทำไป, สำนึกบาป | self-knowledge | (เซลฟฺนอล'ลิจฺ) n. การรู้จักตัวเอง, ความเข้าใจในตัวเอง | sleeper | (สลีพ'เพอะ) n. ผู้นอน, ผู้นอนหลับ, สิ่งที่อยู่นิ่งกับที่, ไม้หมอน, รางรถไฟ, รถตู้นอน, รถนอน, เบาะรองที่นั่งบนเครื่องบิน, สิ่งที่ไม่ได้รับความสนใจในระยะแรก, กางเกงนอนของเด็ก, ลูกค้าที่ถูกประทับตราที่หู | software package | ส่วนชุดคำสั่งสำเร็จซอฟต์แวร์สำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ บางทีใช้สั้น ๆ ว่าpackage ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯมีความหมายเหมือน packaged program | sovereignty | (ซอฟ'เวอเรนที) n. อำนาจกษัตริย์, อำนาจรัฎฐาธิปัตย์, อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ, อำนาจอธิปไตย, รัฐหรือประเทศที่มีอำนาจอธิปไตย, รัฐหรือประเทศที่มีอำนาจในการปกครองตัวเองโดยอิสระ | task management | การจัดภารกิจหมายถึงการจัดภารกิจในด้านการปฏิบัติการของชุดคำสั่ง เป็นต้นว่า การกำหนด ตำแหน่งที่เก็บข้อมูล (เป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ หรือ operating system) | tolerance | (ทอล'เลอเรินซฺ) n. ความอดทน, ความทนทาน, ลักษณะใจกว้าง, การให้อภัย, อำนาจในการต้านฤทธิ์ยาหรือยาพิษ | vanity | (แวน'นิที) n. ความหยิ่งยโส, ความทะนงตัว, ความภูมิใจในตัวเองมากเกินไป, ความว่างเปล่า, ความไร้สาระ, การไร้คุณค่า, สิ่งที่ไร้สาระ, ความไร้ประโยชน์, โต๊ะเครื่องแป้ง, กระเป๋าถือเล็ก ๆ , กระเป๋าถือเล็ก ๆ สำหรับใส่เครื่องสำอาง, See also: vanited adj. คำที่มีความหม | vision | (วิช'เชน) n. สายตา, ความสามารถในการเห็นภาพ, อำนาจในการคาดคะเน, การคาดคะเน, ภาพ, ทรรศนะ, จินตนาการ, ความรู้สึกลวงตา, นิมิต, สิ่งที่มองเห็น, ภาพบุคคลหรืออื่น ๆ ที่มีความสวยงามมาก. vt. มองเห็น, เห็น, จินตนาการ, Syn. eyesight, sight, slance, optics |
| aplomb | (n) ความมั่นใจในตนเอง, ความไม่ประหม่า | believe | (vt) เชื่อ, เชื่อถือ, ไว้วางใจ, ศรัทธา, มั่นใจใน | SELF-self-complacent | (adj) อิ่มเอมใจ, พอใจในตนเอง | SELF-self-confidence | (n) ความมั่นใจในตัวเอง, ความเชื่อมั่นในตัวเอง | SELF-self-satisfaction | (n) ความอิ่มเอมใจ, ความพอใจในตนเอง | smug | (adj) ใจแคบ, พอใจในตัวเอง, ไม่คบหาสมาคม |
| bingo! | 1 เสียงตะโกนบอกว่าตนเองเป็นผู้ชนะในเกมบิงโก 2 เสียงตะโกนแสดงความพอใจหรือดีใจในทันทีที่ประสบความสำเร็จ | Giornata | [จอร์นาตา] (n) งานเขียนบนปูนเปียกที่เขียนเสร็จในแต่ละวัน (เกี่ยวกับวิธีเขียนจิตรกรรมฝาผนัง), See also: Buon fresco | hypnotic | (adj) มีอำนาจในการสะกดจิต | impulsiveness | (n) ลักษณะหุนหันพลันแล่น ขาดความยับยั้งชั่งใจในการทำอะไรต่าง ๆ | inclined | (n) คนที่มีพรสวรรค์หรือมีความสนใจในวิชาหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ | micromanager | (n, org) ผู้จัดการแบบจู้จึ้จุกจิก ประเภทจับตามองพนักงานแบบไม่วางตา ใส่ใจในรายละเอียดทุกขั้นตอนและทุกเรื่อง | SAS | (n, name) ชื่อกลุ่มทหารของอังกฤษ เป็นหน่วยตำรวจในเกมส์ คาวเตอสไต๊ย | self esteem | (n) ความภาคภูมิใจในตนเอง |
| 自信 | [じしん, jishin] (n) ความมั่นใจในตนเอง |
| 所管 | [しょかん, shokan] (n, adj) อำนาจในการตัดสิน | 落札 | [らくさつ, rakusatsu] (n, vt) ประสมความสำเร็จในการประมูล | 嫌な奴 | [いやなやつ, iyanayatsu] (n) ไอ้ขี้ฟ้อง ไอ้น่ารังเกียจ (คนที่น่ารังเกียจในหมู่) | 導電性 | [どうでんせい, doudensei] n. คุณสมบัติหรืออำนาจในการนำกระแสไฟฟ้า, | 自慢 | [じまん, jiman] ภาคภูมิใจ, ภูมิใจในตัวเอง, อวด |
| für/gegen jn./etw. stimmen | (vt) |stimmte, hat gestimmt| ตัดสินใจในการออกเสียงหรือเลือกตั้งเพื่อหรือต่อต้านใครหรือสิ่งใด | befugt | (adj) |zu etwas befugt sein| มีสิทธิหรืออำนาจในการกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich bin nicht dazu befugt, Ihnen Aufkunft zu geben. ฉันไม่มีอำนาจในการให้ข้อมูลคุณ | Tätigkeit | (n) |die, pl. Tätigkeiten| งานหรือสิ่งที่กำลังทำอยู่(ไม่จำเป็นต้องเป็นงานประจำเสมอ) เช่น Zu seinem einzigartigem Lebenswerk gehöre neben seiner Schauspielerkarriere auch seine erfolgreiche Tätigkeit als Maler, Regisseur, und Autor. นอกเหนือจากอาชีพนักแสดงแล้ว ผลงานชิ้นเอกของเขายังมี งานที่ประสบความสำเร็จในฐานะจิตรกร ผู้กำกับการแสดง และนักประพันธ์อีกด้วย, Syn. Beschäftigung | Selbstvertrauen | (n) |das, nur Sg.| ความมั่นใจในตนเอง เช่น Sie werden Deutsch bald mit Selbstvertrauen sprechen. คุณจะพูดภาษาเยอรมันด้วยความมั่นใจในเร็วๆ นี้ | von etwas ausgehen | (phrase) เชื่อมันหรือแน่ใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น Ich gehe davon aus, dass Peter nicht mit uns mitkommt. ฉันแน่ใจว่าปีเตอร์จะไม่ไปกับเราด้วย |
| Stolz { m } | (n, adj) n. ความภูมิใจ ความหยิ่งยโส adj. ภูมิใจใน (บางสิ่ง บางคน) ich bin stolz auf dich = ฉันภูมิใจในตัวคุณ | Weltanschauung { f } | ความเข้าใจในการมองโลกและชีวติมนุษย์ |
| affaire | (n) n.f. 1)กิจการงาน, ธุระ เช่น être à son affaire = พึงพอใจในงานของตน (สำนวน) 2) บริษัท |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |