plea | คำให้การแก้ฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plene administravit (L.) | คำให้การแก้ฟ้องโดยผู้จัดการมรดก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
responsive pleading | คำให้การแก้คดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retaliation | การแก้แค้น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
retaliation | การแก้แค้น, การทำตอบโต้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
redressement | ๑. การแต่งแผลใหม่, การแต่งแผลซ้ำ๒. การแก้ความพิการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
relief | การบรรเทา, การแก้(อาการ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rectification | การแก้ให้ถูกต้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revision | การแก้ไขปรับปรุง, การตรวจชำระใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
revision | การตรวจชำระ, การแก้ไขเพิ่มเติม, การทบทวน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revision of statutes | การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retorsion; retortion | การแก้เผ็ด, การแก้ลำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
retorsion; retortion | การแก้เผ็ด, การแก้ลำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retortion; retorsion | การแก้เผ็ด, การแก้ลำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
retortion; retorsion | การแก้เผ็ด, การแก้ลำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resolution; dénouement; falling action | การแก้ปม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reformation | การแก้ไขให้ตรงกับเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reply | คำให้การแก้ฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
orthopia | ๑. การแก้ตาเหล่๒. การป้องกันตาเหล่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
opening the warranty | การแก้คำรับรอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
automatic error correction | การแก้ความผิดพลาดโดยอัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
amendment | ๑. การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย๒. การแปรญัตติ, คำแปรญัตติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
amendment | ๑. การแก้ไขเพิ่มเติม๒. การแปรญัตติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amendment to the plaint | การแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amendment, constitutional | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
advocacy | การแก้ต่าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
answers | คำให้การ, คำให้การแก้ฟ้อง (ป. วิ. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
modification | การแก้ไขเพิ่มเติม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
marking up | การแก้ไขร่างกฎหมาย (เรียงมาตรา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
civil remedy | การแก้ไขทดแทน (ความเสียหาย) ทางแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
constitutional amendment | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
constitutional amendment | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
disimpaction | การแก้กระดูกหักตำติด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dénouement; falling action; resolution | การแก้ปม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dilatory plea | คำให้การแก้ฟ้องเพื่อประวิงเวลา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
falling action; dénouement; resolution | การแก้ปม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
error correction | การแก้ความผิดพลาด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
error correction | การแก้ความผิดพลาด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
improvement | การปรับปรุง, การแก้ไข [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
heuristic approach | การแก้ปัญหาแบบศึกษาสำนึก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
no case to answer | ไม่มีประเด็นที่จะต้องให้การแก้ฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Debug | การแก้จุดบกพร่อง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Debug | การแก้จุดบกพร่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Action level | ระดับต้องปฏิบัติ, ระดับอัตราปริมาณรังสี หรือ ความเข้มข้น<em>กัมมันตภาพ</em> ซึ่งต้องดำเนินการตามมาตรการแก้ไขหรือป้องกันทันที เพื่อไม่ให้บุคคลได้รับรังสีแบบเรื้อรัง หรือกรณีฉุกเฉิน [นิวเคลียร์] |
Community-based corrections | การแก้ไขผู้กระทำผิดแบบใช้ชุมชนเป็นฐาน [TU Subject Heading] |
Constitutional amendments | การแก้ไขรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] |
Correctional psychology | จิตวิทยาการแก้ไขผู้กระทำผิด [TU Subject Heading] |
Debugging in computer science | การแก้จุดบกพร่องในคอมพิวเตอร์ศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Defect correction methods (Numerical analysis) | วิธีการแก้ไขจำนวนพร่อง (การวิเคราะห์เชิงตัวเลข) [TU Subject Heading] |
Exhaustion of administrative remedies | การแก้ไขความเสียหายให้ครบขั้นตอนก่อนฟ้องคดีปกครอง [TU Subject Heading] |
Group problem solving | การแก้ปัญหาโดยกลุ่ม [TU Subject Heading] |
Juvenile corrections | การแก้ไขเยาวชนที่กระทำผิด [TU Subject Heading] |
Legislative amendments | การแก้ไขกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Medical records, Problem-oriented | เวชระเบียนแบบวิธีการแก้ปัญหา [TU Subject Heading] |
Pleas (Criminal procedure) | คำให้การแก้ฟ้อง (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Post-conviction remedies | การแก้ไขความเสียหายหลังการตัดสิน [TU Subject Heading] |
Problem solving | การแก้ปัญหา [TU Subject Heading] |
Remedies (Law) | การแก้ไขความเสียหาย (กฎหมาย) [TU Subject Heading] |
Sterilization reversal | การแก้หมัน [TU Subject Heading] |
ASEAN Finance Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียน จัดขึ้นปีละครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ต่อมาได้มีการจัดการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับญี่ปุ่น (AFMM + Japan) เพื่อหารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและความช่วยเหลือที่ ญี่ปุ่นให้แก่อาเซียน อาทิ แผนมิยาซาวา ควบคู่กันไปด้วย [การทูต] |
amendment | การแก้ไขเพิ่มเติม [การทูต] |
Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] |
comprehensive plan of action | แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบ เป็นแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยอย่างสมบูรณ์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศต้นเหตุ ประเทศที่ต้องแบกรับภาระ สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบนี้เป็นการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการป้องกันปัญหา การให้ความช่วยเหลือผู้หนีภัย โดยจัดที่พักพิงชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรม การส่งตัวกลับเมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นเหตุกลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และการหาที่พักพิงให้แก่ผู้หนีภัยในประทศที่สาม [การทูต] |
International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] |
Joint Development Area | พื้นที่พัฒนาร่วม " หมายถึง พื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซีย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแก้ไขปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงที่จะแปรปัญหาเขตทับซ้อนในไหล่ทวีป ซึ่งมีพื้นที่ 7,250 ตารางกิโลเมตร ให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วม โดยการแสวงหาและนำเอาทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวมาใช้และแบ่งปันผล ประโยชน์ บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันในลักษณะ 50 : 50 ซึ่งนับว่าเป็น ตัวอย่างที่ดีในการแก้ไขกรณีพิพาทเกี่ยวกับเขตทับซ้อนทางทะเลสำหรับประเทศ อื่น ๆ " [การทูต] |
Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] |
peace keeping | การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต] |
Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] |
Technical Competency | สมรรถนะทางวิชาการ, ความรู้ ทักษะและพฤติกรรมที่พนักงานต้องมีเพื่อนำมาใช้ปฏิบัติงาน เช่น ความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์ (Product Knowledge) คุณภาพงานบริการ (Service Quality) ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Making) เป็นต้น [การจัดการความรู้] |
Community Problem Solving | การแก้ไขปัญหาของชุมชน [การแพทย์] |
Correction, Sample Blank | การแก้ไขโดยใช้หลอดลบล้างของซีรั่มเอง [การแพทย์] |
Family Approaches | การแก้ไขทางด้านครอบครัว [การแพทย์] |
Systematic problem solving | การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ [การจัดการความรู้] |
flowchart | ผังงาน, ผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รูปสัญลักษณ์มาเรียงต่อกัน สัญลักษณ์แต่ละแบบจะมีความหมายถึงกระบวนการที่แตกต่างกัน โดยจะมีคำอธิบายสั้นๆ เพิ่มเติมในรูปสัญลักษณ์ ความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในผังงานได้ถูกกำหนดโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
modem | โมเด็ม, อุปกรณ์ช่วยในการแปลงสัญญาณดิจิทัลจากคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งออกไปเป็นสัญญาณแอนะล็อก จากนั้นจะแปลงกลับเป็นสัญญาณดิจิทัลเมื่อสัญญาณถูกส่งถึงผู้รับ โดยใช้เทคนิคการบีบอัดข้อมูลร่วมกับการแก้ไขข้อผิดพลาดของข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นจากการส่งสัญญาณด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
The American National Standard Institute (ANSI) | สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา, องค์กรที่กำหนดรายละเอียดของสัญลักษณ์และความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในผังงานอธิบายขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา เพื่อให้สามารถสื่อความหมายที่ตรงกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
solving the equation | การแก้สมการ, การหาคำตอบของสมการที่ทำให้สมการเป็นจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technological process | กระบวนการเทคโนโลยี, การแก้ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์อย่างเป็นขั้นตอน ประกอบด้วย กำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม ข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข และประเมินผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sketch | ภาพร่าง, ภาพที่แสดงรายละเอียดของแนวคิดในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ เกิดจากการลำดับความคิดหรือจินตนาการในสิ่งที่เราต้องการจะอธิบายอย่างเป็นขั้นตอน แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ ภาพร่าง 2 มิติ ภาพร่าง 3 มิติ และภาพฉาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
two-dimensional sketch | ภาพร่าง 2 มิติ, ภาพที่นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการประกอบด้วย ด้านกว้าง และด้านยาว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
three-dimensional sketch | ภาพร่าง 3 มิติ, ภาพที่นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการประกอบด้วย ด้านกว้าง ด้านยาว และด้านสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
orthographic drawing | ภาพฉาย, ภาพแสดงรายละเอียดของแนวคิดในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ประกอบด้วยภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน แสดงขนาด สัดส่วน มาตราส่วนและหน่วยในการวัด เพื่อสามารถนำไปสร้างแบบจำลองหรือต้นแบบได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
design [ technological design ] | การออกแบบ(ทางเทคโนโลยี), การลำดับความคิดหรือจินตนาการเป็นขั้นตอน นำไปสู่การวางแผนการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
design and technology | การออกแบบและเทคโนโลยี, การเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษย์ในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำรงชีวิตและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
creativity | ความคิดสร้างสรรค์, ความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้กว้างไกล หลายแง่มุม หลายทิศทาง นำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งของ และแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอีย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technological system | ระบบเทคโนโลยี, ระบบที่มีองค์ประกอบทางเทคโนโลยี และทำงานสัมพันธ์กันอย่างเป็นลำดับขั้นตอน ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์ จนบรรลุวัตถุประสงค์ ได้แก่ ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต ทรัพยากรทางเทคโนโลยี และปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
input | ตัวป้อน, ความต้องการของมนุษย์หรือปัญหาที่ต้องการแก้ไข เช่น ความต้องการที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต (need) ความต้องการที่จะเพิ่มความสามารถของมนุษย์ (want) รวมถึงสถานการณ์เทคโนโลยีและรายละเอียดของปัญหาหรือความต้องการนั้น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Intellectual Process Level Problem Solving | ความรู้ความสามารถในแง่การแก้ปัญหา [การแพทย์] |
algorithm | (n) ลำดับขั้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา |
alteration | (n) การเปลี่ยนแปลงแก้ไข, See also: การแก้ไข, การปรับเปลี่ยน, การดัดแปลง, Syn. modification, revision, remodeling |
amendment | (n) การแก้ไข, Syn. correction, revision |
amends | (n) การแก้ไข, See also: การปรับปรุง |
avenge of | (phrv) แก้แค้นให้กับ, See also: ต้องการแก้แค้นเรื่อง |
correction | (n) การแก้ไข, See also: การตรวจแก้, Syn. revision, revising, improvement |
correctional | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับการแก้ไขให้ถูกต้อง |
cure | (n) การแก้ไขปัญหา |
deadlock | (n) ความล้มเหลวในการแก้ไขความขัดแย้ง |
defence | (n) การป้องกัน, See also: การแก้ต่าง |
editorial | (adj) เกี่ยวกับบรรณาธิการ, See also: เกี่ยวกับการแก้ไขข้อผิดพลาด |
finesse | (n) ความสามารถในการแก้ไขสถานการณ์, See also: กลเม็ด, Syn. tact, skill, delicacy |
fix | (n) การแก้ปัญหา, Syn. solution |
hash out | (phrv) พูดคุยกันนานในเรื่องที่เป็นปัญหา (คำไม่เป็นทางการ), See also: ใช้เวลามากในการแก้ปัญหา, Syn. thrash out |
improvement | (n) การปรับปรุง, See also: การแก้ไข, การทำให้ดีขึ้น, Syn. amelioration, development, Ant. decay, deterioration |
justification | (n) เหตุผลที่ใช้อธิบายเพื่อแก้ตัว, See also: การแก้ตัว, Syn. defence, excuse |
modification | (n) การเปลี่ยนแปลง, See also: การแก้ไข, Syn. alteration, adjustment |
pleadings | (n) การแก้ต่าง, See also: การแก้ตัว, การแก้ฟ้อง, การขอร้อง, การวิงวอน |
problem-solving | (n) การแก้ปัญหา |
recension | (n) การปรับปรุงใหม่, See also: ฉบับปรับปรุงขึ้นใหม่, การแก้ไขเพิ่มเติม, Syn. revision, reprint, new version, emendation |
repair | (n) การซ่อมแซม, See also: การแก้ไข, Syn. amendment, mend |
reprisal | (n) การแก้แค้น, See also: การแก้เผ็ด, การล้างแค้น, Syn. revenge, vengeance |
resolubility | (n) การแก้ไขใหม่ได้ |
resolubleness | (n) การแก้ไขใหม่ได้ |
resolution | (n) การแก้ปัญหา, Syn. resolving |
resourcefulness | (n) การแก้ปัญหาได้ดี, See also: การมีสติปัญญาดี |
retaliation | (n) การแก้แค้น, See also: การแก้เผ็ด, การโต้กลับ, Syn. vengeance, revenge, reprisal |
revamp | (n) การปรับปรุงใหม่, See also: การซ่อมแซม, การแก้ไข, Syn. alteration |
revenge | (n) การแก้แค้น, See also: การล้างแค้น, Syn. avengement, repetition |
revision | (n) การปรับปรุงใหม่, See also: การแก้ไขใหม่, Syn. revisal, correction, editing, updating, update |
self-help | (n) การรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือตนเอง, See also: การพึ่งพาตนเอง, การกระอิสระ, การแก้ปัญหาด้วยตนเอง, Syn. independence |
settlement | (n) การจัดการ, See also: การแก้ปัญหา
} การทำข้อตกลง, ข้อตกลง, Syn. arrangement, contract, covenant |
tackle | (vt) จัดการแก้ปัญหา, See also: จัดการ, รับมือ, ควบคุม, Syn. deal with, undertake |
tit for tat | (n) วิธีการโต้ตอบแบบตาต่อตาฟันต่อฟัน, See also: การแก้แค้น, Syn. reprisal, retribution, exchange, revenge |
vengeance | (n) การแก้แค้น, See also: การล้างแค้น, การอาฆาต, ความพยาบาท, Syn. revenge, retribution, Ant. forgiveness, mercy, reconciliation |
vindication | (n) การแก้ตัว, Syn. apology |
vindication | (n) การแก้แค้น, Syn. defense, exorneration |
vindicativeness | (n) การแก้แค้น, See also: การแก้เผ็ด, การอาฆาต, Syn. malignment, rancorous |
vindicatory | (adj) เป็นการแก้ต่าง, See also: เป็นการแก้ตัว, เป็นการแก้แค้น, เป็นการทำโทษ, Syn. excusable, venial |
adjustment | (อะจัสทฺ' เมินทฺ) n. การปรับตัว, การจัด, การปรองดอง, การแก้ไข, ตัวปรับ |
adobe photoshop | โปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>Photoshopเป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) |
advocacy | (แอด' โวคะซี) n. การเป็นทนาย, ทนาย, การสนับสนุน, ผู้สนับสนุน, การแก้ต่าง |
algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
alias | (เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ |
amendment | (อะเมนดฺ' เมินทฺ) n. การแก้ไข, การปรับปรุง, การแก้หรือแปรญัตติ, คำแก้หรือคำแปรญัตติ, Syn. improvement |
amendment file | แฟ้มแก้ไข <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่บรรจุรายการเปลี่ยนแปลงหรือรายการแก้ไข เพื่อนำมาใช้ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลัก (master file) ให้ทันสมัยมีความหมายเหมือน transaction file |
apologia | (แอพพะโล'เจีย) n. หนังสือแก้ต่างหรือแก้ข้อกล่าวหา, การแก้ข้อกล่าวหา (apology) |
bionics | (ไบออน'นิคซฺ) n. การศึกษาเกี่ยวกับการปฎิบัติงานและการแก้ปัญหาของมนุษย์และสัตว์เพื่อนำไปใช้ผลิตคอมพิวเตอร์และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกอื่น ๆ |
brinkmanship | n. เทคนิคหรือนโยบายการแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นวิกฤติการณ์จนเกือบจะหายนะ |
brinksmanship | n. เทคนิคหรือนโยบายการแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นวิกฤติการณ์จนเกือบจะหายนะ |
bug | (บัก) { bugged, bugging, bugs } n. แมลง, เชื้อจุลินทรีย์, ความบกพร่อง, แฟน, คนคลั่ง, เครื่องดักฟัง, ความคลั่ง, เหยื่อตกปลาที่คล้ายแมลง vt. รบกวน, ติดตั้งเครื่องดักฟังในที่ลับ, Syn. fault, defect จุดบกพร่องหมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นกับโปรแกรมอันเนื่องมาจากคำสั่งในโปรแกรมนั้นเอง ซึ่งทำให้การทำงานของโปรแกรมไม่ถูกต้อง มีข้อผิดพลาด หรือไม่ราบรื่นเท่าที่ควร นอกจากปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมแล้ว อาจเป็นปัญหาเกี่ยวกับตัวเครื่องก็ได้ คำนี้มาจากคำ bug ที่แปลว่า ตัวด้วง ตัวแมลง ที่ชอบทำให้คอมพิวเตอร์สมัยก่อนเสีย เกิดการลัดวงจรขึ้น การแก้ไขจุดบกพร่องของโปรแกรม จึงใช้คำว่า "debug" |
client application | โปรแกรมเฉพาะเครื่อง1. ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) คำนี้หมายถึง โปรแกรมที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์บางเครื่อง โดยปกติ ในระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีคอมพิวเตอร์กลางเครื่องหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ไว้ให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถเรียกไปใช้ได้ เรียกว่า เครื่องบริการแฟ้ม (file server) (คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมเหล่านั้น) แต่ถ้าเครื่องบริการแฟ้มนั้นเสีย คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกันนั้นก็จะทำงานไม่ได้เลย ฉะนั้น เราจึงมักจะให้คอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายมีโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องของตนเองด้วย อย่างไรก็ตาม ในกรณีนี้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่แม้จะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน จะไม่สามารถเรียกโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปใช้ได้ เราเรียกโปรแกรมที่เก็บอยู่เฉพาะในเครื่องนี้ว่า " client application "2. โปรแกรมบนระบบวินโดว์ที่สามารถโยงถึงที่มาของภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบได้ หากเมื่อใดมีการแก้ไขในแฟ้มต้นแบบ โปรแกรมก็จะจัดการแก้ไขในแฟ้มใหม่ ให้ด้วย ดู OLE เปรียบเทียบ |
computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น |
correction | (คะเรค'เชิน) n. การแก้ไข, การตรวจแก้, สิ่งที่ได้แก้ไข, การลงโทษ, การตำหนิ, Syn. rectification |
corrective | (คะเรค'ทิฟว) adj. เป็นการแก้ไข, เป็นการรักษา n. วิธีการแก้ไขให้ถูกต้อง, สิ่งที่ใช้แก้ไขให้ถูกต้อง, Syn. improving |
dde | (ดีดีอี) ย่อมาจาก dynamic data exchange คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
ddt | (ดีดีที) ในความหมายทั่วไป คำนี้หมายถึง "ยาฆ่าแมลง" นำมาใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ เป็นคำแสลงหมายถึง การแก้ไขข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดในโปรแกรมในกรณีที่มีมาก ๆ (ทั้งนี้เพราะในการเขียนโปรแกรมนั้น เราเรียกจุดบกพร่องในโปรแกรมว่า แมลง หรือ bug โดยปกติแล้ว การแก้ไขธรรมดา ๆ จะใช้คำว่า debug) |
defence | (ดิเฟนซฺ') n. การป้องกัน, การต้านการรุกราน, การพิทักษ์, การแก้ตัวให้, การเป็นทนายให้, การแก้ต่าง, See also: defenceable adj. ดูdefence, Syn. protection |
dynamic data exchange | การสับเปลี่ยนข้อมูลแบบพลวัตใช้ตัวย่อว่า DDE (อ่านว่า ดีดีอี) คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
edit mode | ภาวะบรรณาธิกรหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์อยู่ในสภาวะที่เตรียมพร้อมจะรับการแก้ไข เราสามารถสั่งแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ โดยผ่านทางแป้นพิมพ์ |
eeprom | (อีอีพร็อม) ย่อมาจาก electronically erasable programmable read only memory (แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้า) เป็นชิป (chip) ชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามชื่อ ใช้เป็นหน่วยความจำ หากต้องการแก้ไข จะต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าลบ แล้วบันทึกของใหม่ลงไป หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ว่าจะไม่ใช้ไฟฟ้า |
electronically erasable p | electronically erasable programmable read only memory หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมและลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้าใช้ตัวย่อว่า EEPROM (อ่านว่าอีอีพร็อม หรือบางทีอ่านว่า อีพร็อมก็ได้) เป็นชิป (chip) ชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามชื่อ ใช้เป็นหน่วยความจำ หากต้องการแก้ไข จะต้องใช้สัญญาณไฟฟ้าลบ แล้วบันทึกของใหม่ลงไป หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลไว้ได้แม้ว่าจะไม่ใช้ไฟฟ้า |
eliza | (เอลิซา) เป็นชื่อโปรแกรมประเภทปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) ที่มีชื่อเสียงมากโปรแกรมหนึ่ง กล่าวคือ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นให้ทำหน้าที่แทนจิตแพทย์ วิธีการก็คือ เราจะต้องพิมพ์ปัญหาของตัวเองใส่ลงในคอมพิวเตอร์ โปรแกรมนี้จะช่วยวิเคราะห์ปัญหา และแนะนำวิธีการแก้ปัญหาให้ |
heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense |
hot link | การโยงข้อมูลแบบร้อนหมายถึง การที่โปรแกรมสองโปรแกรมใช้ข้อมูลร่วมกัน และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในโปรแกรมหนึ่ง คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการเปลี่ยนข้อมูลในอีกโปรแกรมหนึ่ง ให้ด้วยโดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น การโอนข้อมูลจากโปรแกรมตารางจัดการเข้าไปในโปรแกรมประมวลผลคำ เมื่อใดที่มีการแก้ตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำก็จะเปลี่ยนไปด้วย |
improvement | (อิมพรูฟว' เมินทฺ) n. การทำให้ดีขึ้น, การปรับปรุง, การแก้ไข, ภาวะหรือสภาพที่ดีขึ้น, สิ่งที่ถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น, สิ่งที่ช่วยทำให้ดีขึ้น, Syn. betterment |
knowlelge-based | ฐานความรู้เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดในระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) หมายถึง ข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อใช้เป็นฐานในการตัดสินใจของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ ฐานข้อมูลส่วนมากจะประกอบไปด้วยคำสั่งประเภท ถ้า...... (IF) มากทีเดียว ดู expert system และ artificial intelligence ประกอบ |
laser disk | จานเลเซอร์เป็นจานบันทึกชนิดหนึ่งที่ใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการบันทึกและล้างข้อมูล มีความจุมากกว่าจานบันทึกธรรมดามาก (ประมาณ 600 เมกะไบต์ ถึง 1.3 กิกะไบต์) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว ข้อดีอีกข้อหนึ่งก็คือ ทนทานต่อการขูดขีด ในการใช้ ต้องมีหน่วยบันทึกหรือหน่วยขับ (drive) พิเศษ ต่างไปจากหน่วยจานบันทึกธรรมดา ปัจจุบัน นิยมนำมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์มากขึ้น มักใช้บรรจุโปรแกรมหรือข้อมูลที่ต้องไม่มีการแก้ไข (เช่นพจนานุกรม) ราคาถูกลงมาก และนับว่าคุ้มค่า (มีลักษณะเหมือนจานบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์) มีความหมายเหมือน compact disk |
linear programming | กำหนดการเชิงเส้นเป็นเทคนิคในการคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ในการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยเฉพาะ การแก้ปัญหาชนิดนี้เป็นการแก้ปัญหาด้วยการหาค่าที่ดีที่สุดขึ้นมาชุดหนึ่ง เช่น การหาสัดส่วนของผสมเพื่อให้ได้ส่วนผสมที่ดีที่สุด มีค่ามากที่สุด และใช้ต้นทุนน้อยที่สุดเป็นต้น |
master file | แฟ้มหลักหมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ทำไว้ค่อนข้างถาวร และมีข้อมูลเก็บไว้อย่างสมบูรณ์ ในการแก้ไขหรือปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักนี้ (เช่น ถ้าเป็นแฟ้มประวัติพนักงานของบริษัท ที่จะมีการแก้ไขเฉพาะรายการเงินเดือน ส่วนรายการอื่นไม่มีการแก้) มักจะใช้วิธีสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลเฉพาะบางรายการ เรียกว่า "แฟ้มรายการ เปลี่ยนแปลง " (transaction file) แล้วเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์อ่านแฟ้มข้อมูล ใหม่นี้ เข้าไปจัดการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลในแฟ้มหลักให้ ดู transaction file เปรียบเทียบ |
mend | (เมนดฺ) vt. ซ่อมแซม, แก้ไข, ปะ, แก้, ทำให้ถูกต้อง, ปรับปรุง. vi. ดีขึ้น, เจริญขึ้น. n. การซ่อมแซม, การแก้ไข, การแก้, การปะ, การทำให้ถูกต้อง, ที่ที่ ซ่อมแซมหรือแก้ไขแล้ว. -Phr. (on the mend กำลังฟื้นแก้ไข) ., See also: mendable adj. คำที่มีความหมายเหมือนกั |
modicatory | (มอด'ดิเคทิฟ, -โทรี) adj. เกี่ยวกับการแก้ไขการดัดแปลง |
modification | (มอดดะฟะเค'เชิน) n. การแก้ไข, การดัดแปลง, แบบดัดแปลงมา, การปรับตัว, การลดหย่อน, Syn. change, alteration |
modificative | (มอด'ดิเคทิฟ, -โทรี) adj. เกี่ยวกับการแก้ไขการดัดแปลง |
object linking and embedd | การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุใช้ตัวย่อว่า OLE (อ่านว่า โอเล) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือ ภาพ หรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสารที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถยึดโยงหรือเชื่อมโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์ |
ole | (โอเล') n. การตะโกน, เปล่งเสียงที่แสดงถึงการเห็นด้วย โอเล <คำอ่าน>ย่อมาจาก object linking and embedding (แปลว่า การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุ) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือภาพหรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสาร ที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถเชื่อมโยงหรือยึดโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์ |
orthopaedics | (ออร์ธะพี'ดิคซฺ) n. ออร์โธพีดิกส์, การแพทย์ที่เกี่ยวกับการแก้ไข รักษาหน้าที่และสภาพของระบบโครงกระดูก ข้อต่อ และโครงสร้างอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง., Syn. orthopedy, orthopaedy |
orthopedics | (ออร์ธะพี'ดิคซฺ) n. ออร์โธพีดิกส์, การแพทย์ที่เกี่ยวกับการแก้ไข รักษาหน้าที่และสภาพของระบบโครงกระดูก ข้อต่อ และโครงสร้างอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง., Syn. orthopedy, orthopaedy |
photoshop | Adobe Photoshopโปรแกรมอโดบี โฟโทช็อป <คำแปล>เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จโปรแกรมหนึ่งที่ช่วยในการแก้ไขปรับแต่งภาพ โดยเฉพาะภาพถ่าย ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก มักใช้ในการจัดทำสิ่งพิมพ์คู่กับโปรแกรม อโดบี เพจเมกเกอร์ (Adobe PageMaker) บริษัทอโดบีเป็นบริษัทที่ผลิตซอฟต์แวร์ใหญ่ที่สุดบริษัทหนึ่ง โปรแกรมดัง ๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนอกจาก Photoshop, PageMaker แล้ว ยังมี Adobe Acrobat, Adobe Illustrator, Adobe Type Manager เป็นต้น) |
post | (โพสทฺ) n. เสา, หลัก, ตำแหน่ง, หน้าที่, ที่มั่น, การไปรษณีย์, ไปรษณียภัณฑ์, เที่ยวเมล์, ที่ทำการไปรษณีย์, vt. ปิดประกาศ, ประกาศ, ประจาน, จัดกำลัง, แต่งตั้งให้ประจำตำแหน่ง vt. ใส่จดหมายลงในตู้ไปรษณีย์, ส่งจดหมาย, ย้าย, แจ้ง. vi. ขี่ม้าเร็ว, เดินทางอย่างรวดเร็ว. adv. รีบเร่ง, โดยทางไปรษณีย์, โพสต์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก power-on self-test เป็นแบตเตอรี่ตัวหนึ่งในพีซี ที่จะทำหน้าที่ทันทีที่เมื่อมีการเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทำการตรวจสอบขั้นต้นให้ว่า อุปกรณ์ ทุกชิ้นทำงานได้ตามปกติหรือไม่ หากมีส่วนใดไม่ปกติ ก็จะแสดงข้อความระบุความ ผิดพลาด (error message) ให้บนจอภาพ และจะรอจนกว่าจะมีการสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมีการแก้ไข เสร็จแล้วจึงจะทำงานต่อ |
programming | การเขียนโปรแกรมการสร้างโปรแกรมหมายถึง การเขียนหรือสร้างคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ตามที่ต้องการ ด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ (สามารถแปลได้) ในการเขียนโปรแกรมนี้ ผู้เขียนจะต้องเข้าใจถึงขั้นตอนการแก้ปัญหา วิธีการแก้ รวมทั้ง ศัพท์และไวยากรณ์ ตลอดจนกฎเกณฑ์ของภาษาที่เลือกใช้ ดู programming language ประกอบ |
quittance | (ควิท'เทินซฺ) n. การยกเลิกหนี้สินหรือภาระหน้าที่, เอกสารยกเลิกดังกล่าว, การตอบแทน, การแก้แค้น, การชดเชย |
recension | (รีเซน'เชิน) n. ฉบับปรับปรุงใหม่, การปรับปรุงใหม่, การแก้ไขเพิ่มเติม |
rectification | (เร็คทีฟิเค'เชิน) n. การทำให้ถูกต้อง, การแก้ไข, การทำให้บริสุทธิ์โดยการกลั่นซ้ำ, การเปลี่ยนกระแสสลับให้เป็นกระแสตรง, การหาความยาวของเส้นโค้ง, See also: rectifiable adj. |
redress | (รีเดรส') vt. ทำให้ถูกต้อง, แก้ไข, ปรับปรุง, ชดเชย, ชดใช้ n. (รี'เดรส) การทำให้ถูกต้อง, การแก้ไข, การชดเชย, การชดใช้, See also: redressable adj. redressible adj. redresser n. redressor n., Syn. restoration, remedy |
reformation | (เรฟฟะเม'เชิน) n. การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การปรับปรุง, การเข้าแถวใหม่, การกลับเนื้อกลับตัว, การแก้ไขใหม่, การดัดนิสัย, See also: Reformation n. การปฏิรูปศาสนาในศตวรรษที่ 16 ที่ทำให้เกิดนิกายโปรเตสแตนต์ขึ้น -reformational adj. |
refresh rate | อัตราการทำใหม่หมายถึง อัตราความเร็วที่เครื่องสามารถจะสร้างภาพใหม่ หลังจากที่ได้รับข้อมูลเพิ่มขึ้นหรือมีการแก้ไขเพิ่มเติม เมื่อมีการสร้างภาพใดภาพหนึ่งไปแล้ว หากมีการแก้ไขหรือย้าย จอภาพจะต้องสร้างภาพใหม่ทุกครั้ง ในการสร้างภาพใหม่นี้ ยิ่งทำได้เร็วเท่าใดยิ่งดี อัตราความช้า/เร็ว ของการสร้างภาพใหม่นี้ขึ้นกับคุณภาพของจอด้วย |
remedial | (รีมี'เดียล) adj. เป็นการรักษา, เป็นการแก้ไข, เป็นการเยียวยา, เป็นปรับปรุง. |
adjustment | (n) การปรับ, การปรับปรุง, การแก้ไข |
advocacy | (n) การพูดสนับสนุน, การแก้ต่าง, ทนาย |
alteration | (n) การเปลี่ยนแปลง, การดัดแปลง, การแก้ไข |
amendment | (n) การแก้ไข, การแปรญัตติ |
atonement | (n) การแก้ตัว, การแก้ไข, การไถ่คืน, การชดเชย |
correction | (n) การตรวจ, การแก้ไข, การทำให้ถูกต้อง |
corrective | (adj) ซึ่งทำให้ถูก, เป็นการแก้ไข |
defence | (n) การป้องกัน, เครื่องป้องกัน, การปกป้อง, การแก้ต่าง |
defense | (n) การป้องกัน, เครื่องป้องกัน, การปกป้อง, การแก้ต่าง |
improvement | (n) การปรับปรุง, การพัฒนา, การส่งเสริม, การแก้ไข |
interpolation | (n) การแก้ไข, สิ่งที่แก้ไข, การสอดแทรก |
modification | (n) การเปลี่ยนแปลง, การแก้ไข, การดัดแปลง, การลดหย่อน |
redress | (n) ความช่วยเหลือ, การแก้ไข, การชดใช้ |
reformation | (n) การแก้ไข, การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การดัดแปลง |
reprisal | (n) การแก้แค้น, การตอบแทน |
requital | (n) การแก้แค้น, การชดเชย, การตอบสนอง, รางวัล, ค่าตอบแทน |
resolution | (n) การแก้ปัญหา, มติ, ความเด็ดเดี่ยว, ความแน่วแน่ |
retaliation | (n) การตอบโต้, การตอบแทน, การแก้เผ็ด, การแก้ลำ |
retribution | (n) การแก้แค้น, การตอบแทน, การจองเวร, กรรมสนอง, เวรกรรม |
retributive | (adj) เป็นการแก้แค้น, เป็นการตอบแทน, เกี่ยวกับเวรกรรม |
revenge | (n) ความอาฆาต, การล้างแค้น, การแก้แค้น, การแก้เผ็ด, การผูกพยาบาท |
revision | (n) การแก้ไขใหม่, การทบทวน, การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงใหม่ |
solubility | (n) ความสามารถในการแก้ปัญหา, ความสามารถในการละลาย |
solution | (n) การละลายน้ำ, การแก้ปัญหา, ทางออก, คำตอบ, วิธีแก้ |
touch | (n) การสัมผัส, การแก้ไข, การถู, การตกแต่ง, การแตะ |
vengeance | (n) การแก้แค้น, การล้างแค้น, ความพยาบาท |
vindication | (n) การป้องกัน, การแก้ตัว, การปลดปล่อย |