ความไม่รู้ | (n) ignorance, See also: unawareness, Ant. ความรู้, Example: ภาษาย่อมเปลี่ยนแปลงได้แต่มิใช่การเปลี่ยนแปลงเอาง่ายๆ เพราะความไม่รู้ |
ความไม่พอใจ | (n) dissatisfaction, See also: displeasure, discontent, Ant. ความพอใจ, Example: การสร้างเขื่อนของรัฐบาลสร้างความไม่พอใจให้กับชาวบ้าน |
ความไม่สมดุล | (n) unbalance, See also: imbalance, Ant. ความสมดุล, Example: รัฐบาลเร่งแก้ไขความไม่สมดุลของรายรับรายจ่ายของประเทศ, Thai Definition: ความไม่เท่าเทียมกัน |
ความไม่สะดวก | (n) inconvenience, See also: troublesomeness, uncomfortableness, Syn. ความติดขัด, อุปสรรค, Ant. ความสะดวก, ความไม่ติดขัด, Example: การซ่อมถนนทำให้เกิดความไม่สะดวกต่อประชาชนในละแวกนั้น |
ความไม่สบายใจ | (n) unhappiness, See also: sorrowfulness, Syn. ความกังวลใจ, ความวุ่นวายใจ, ความว้าวุ่นใจ, Ant. ความสบายใจ |
ความไม่แน่นอน | (n) uncertainty, See also: dubiousity, Syn. ความไม่เที่ยง, Ant. ความแน่นอน, Example: สังขารคือความไม่แน่นอนของชีวิต |
ความไม่ถูกต้อง | (n) incorrectness, See also: wrongness, inaccuracy, faulty, Ant. ความถูกต้อง |
ความไม่พึงพอใจ | (n) unsatisfactoriness, Syn. ความไม่พอใจ, Ant. ความพอใจ, ความพึงพอใจ |
ความไม่เสมอภาค | (n) inequality, See also: unfairness, Syn. ความไม่เท่าเทียมกัน, Ant. ความเสมอภาค, ความยุติธรรม, ความเท่าเทียมกัน, Example: ยังมีความไม่เสมอภาคหลงเหลืออยู่ในสังคมทุกแห่งบนโลก |
ความไม่ไว้วางใจ | (n) distrustfulness, See also: untrustworthiness, trustlessness, Syn. ความคลางแคลง, ความสงสัย, ความไม่ไว้ใจ, Ant. ความไว้วางใจ, Example: ลักษณะเจตนคติของผู้ที่ชอบเยาะเย้ยผู้อื่นมักจะมีพลังผลักดันมาจากความไม่ไว้วางใจ |
ความไม่ชอบมาพากล | (n) suspiciousness, See also: strangeness, oddness, queerness, peculiarity, Syn. ความผิดปกติ, Example: สื่อมวลชนนำเสนอความไม่ชอบมาพากลในการประมูลอย่างครึกโครม |
ความไม่มีระเบียบ | (n) disorder, See also: confusion, riot, turmoil, chaos, jumble, Syn. ความยุ่งเหยิง, ความไม่เป็นระเบียบ, Ant. ความสงบ, ความสงบสุข, ความสงบเรียบร้อย |
ผู้ก่อความไม่สงบ | (n) agitator, See also: instigator, troublemaker, firebrand, rabble-rouser, stirrer, Syn. ผู้ก่อกวน, Example: แผนนี้เป็นน้ำมือของผู้ก่อความไม่สงบที่กำลังพยายามจะโค่นรัฐบาล, Count Unit: คน, กลุ่ม, Thai Definition: บุคคลที่ก่อให้เกิดความรำคาญหรือความวุ่นวายให้เกิดขึ้น |
กระแทกแดกดัน | ว. อาการที่กล่าวกระทบกระแทกหรือประชดเพราะความไม่พอใจ. |
กระมัง ๑ | ว. คำแสดงความไม่แน่ใจ, คำแสดงความคาดคะเน, (ใช้ไว้ท้ายประโยค) เช่น เป็นเช่นนี้กระมัง, ในบทกลอนใช้ว่า กระหมั่ง ก็มี. |
กระโวยกระวาย | ว. อาการที่ส่งเสียงร้องเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น, โวยวาย ก็ว่า. |
กลั่นแกล้ง | ก. หาความไม่ดีใส่ให้, หาอุบายให้ร้ายโดยวิธีต่าง ๆ, แกล้งใส่ความ. |
ขยุกขยิก | (ขะหฺยุกขะหฺยิก) ก. ไม่อยู่นิ่ง ๆ ขยับไปขยับมา (ใช้ในอาการที่แสดงถึงความไม่เรียบร้อย) เช่น นั่งขยุกขยิก, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่เขียนไม่เรียบร้อย อ่านยากหรืออ่านไม่ออก เช่น เขียนลายมือขยุกขยิก. |
ขี้หน้า | น. หน้า (ใช้แสดงความไม่ชอบหรือรังเกียจ) เช่น เกลียดขี้หน้า เบื่อขี้หน้า. |
ความรู้สึกด้อย | ความไม่เชื่อมั่นว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเท่าเทียมผู้อื่น. |
ค้อน ๒ | ก. แสดงความไม่พอใจด้วยการตวัดสายตา. |
ค้อนติง | ก. ทักท้วงแสดงความไม่เห็นด้วย. |
คอมมิวนิสต์ | น. ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์. |
ช่องว่าง | ความไม่เข้าใจกันของคนที่มีความคิด ฐานะ หรืออื่น ๆ ที่แตกต่างกัน เช่น ช่องว่างระหว่างคนมั่งมีกับคนยากจน ช่องว่างระหว่างวัย. |
ชะดีชะร้าย | ว. เผื่อว่า, บางทีแสดงถึงความไม่แน่นอน, เช่น ซื้อลอตเตอรี่ไว้สักใบเถิด ชะดีชะร้ายจะถูกรางวัล, โดยปรกติมักใช้ในลักษณะเหตุการณ์ที่สังหรณ์หรือกริ่งเกรงว่าอาจจะเกิดขึ้นตามที่คาดไว้ เช่น ชะดีชะร้ายก็จะตายเสียกลางทาง. |
ซอยเท้า | ก. ย่ำถี่ ๆ เช่น ทหารซอยเท้าอยู่กับที่ เด็กซอยเท้าแสดงความไม่พอใจเมื่อไม่ได้ของเล่น |
ดีมิดี, ดีไม่ดี | คำแสดงความไม่แน่ใจ, อาจได้อาจเสีย, เสี่ยงได้เสี่ยงเสีย, เช่น ดีไม่ดีเขาอาจได้เป็นอธิบดี. |
ดีละ, ดีแล้ว | คำแสดงความไม่พอใจเป็นเชิงประชดหรือแดกดัน. |
ดูรึ | อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ เช่น ดูรึเห็นคนอื่นดีกว่าลูกเมีย. |
ดูหรือ | อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ เช่น ดูหรือมาเป็นไปได้. |
ใด | ว. ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความไม่เจาะจงหรือเป็นคำถาม เช่น คนใด เมื่อใด. |
ไตรลักษณ์ | (-ลัก) น. ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตนที่แท้จริง. |
ทศพิธราชธรรม | น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม. |
ทุกข-, ทุกข์ | (ทุกขะ-) น. ความยากลำบาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ, ความทนได้ยาก, ความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้. |
ทุด | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ ติเตียน หรือดูถูก. |
เทวทูต | น. ทูตของเทพ คือสิ่งที่เป็นสัญญาณเตือนให้ระลึกถึงคติธรรมดาของชีวิต เพื่อให้เกิดความสังเวชและรีบเร่งทำความดีด้วยความไม่ประมาท เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จประพาสอุทยานพบเทวทูต ๓ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย ทำให้เกิดความสังเวช ต่อมาได้พบเทวทูตที่ ๔ คือสมณะ ทำให้คิดออกบวช. |
โทษ, โทษ- | (โทด, โทดสะ-) น. ความไม่ดี, ความชั่ว, เช่น โทษแห่งความเกียจคร้าน, ความผิด เช่น กล่าวโทษ, ผลแห่งความผิดที่ต้องรับ เช่น ถูกลงโทษ, ผลร้าย เช่น ยาเสพติดให้โทษ. |
ไท ๓ | ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส, เช่น เราเป็นไทไม่ใช่ทาส. |
น้อยหรือ | คำเปล่งแสดงความไม่พอใจ เช่น น้อยหรือทำได้, ตัดพ้อต่อว่าด้วยความเอ็นดู เช่น น้อยหรือช่างว่า. |
นิปริยาย | (นิปะริยาย) น. ความไม่อ้อมค้อม, ความตรง, ตรงข้ามกับ ปริยาย คือ อย่างอ้อม. |
นิ่ว ๒ | ก. ทำหน้าย่นขมวดคิ้วแสดงความไม่พอใจหรือรู้สึกเจ็บเป็นต้น. |
บ๊ะ | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือประหลาดใจเป็นต้น, อุบ๊ะ ก็ว่า. |
เบะ ๑ | ก. กำลังจะร้องไห้ เช่น เด็กน้อยพอหันมาไม่พบแม่ก็เบะ, เหยียดปากแสดงความไม่ชอบใจหรือระอาใจเป็นต้น เช่น เห็นอาหารไม่ถูกใจ เขาก็เบะปาก. |
ประชด | ก. แกล้งทำให้เกินควรหรือพูดแดกดันเพราะความไม่พอใจ เช่น หุงข้าวประชดหมา ปิ้งปลาประชดแมว พูดประชด, ประชดประชัน ก็ว่า, ในกลอนใช้ว่า ประทยด หรือ ประเทียด ก็มี. |
ผู้ก่อการร้าย | น. บุคคลที่ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลและพยายามก่อความไม่สงบขึ้นในที่ต่าง ๆ. |
พอดีพอร้าย | บางที (แสดงความไม่แน่นอน) เช่น พอดีพอร้ายไม่ได้ไป. |
พาโล | ก. แสร้งพูดใส่ความไม่จริงให้คนอื่น, กล่าวหาความ, บางทีก็ใช้มีสร้อยว่า พาโลโสเก หรือ พาโลโฉเก. |
พึมพำ | ก. พูดค่อย ๆ จับความไม่ได้ เช่น เขาพึมพำอยู่คนเดียว. |
มโนสุจริต | (มะโนสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความไม่โลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความไม่พยาบาท ๑ ความเห็นถูกตามทำนองคลองธรรม ๑. |
มล, มล- | (มน, มนละ-) น. ความมัวหมอง, ความสกปรก, ความไม่บริสุทธิ์ |
มลทิน | (มนทิน) น. ความมัวหมอง, ความด่างพร้อย, ความไม่บริสุทธิ์. |
ระส่ำระสาย | วุ่นวาย, เกิดความไม่สงบ, เช่น บ้านเมืองระส่ำระสาย. |
ราชธรรม | น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง เรียกว่า ทศพิธราชธรรม มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม. |
ร้าย | น. ความไม่ดี เช่น ใส่ร้าย ป้ายร้าย ให้ร้าย. |
รุชา | น. ความไม่สบาย, ความเสียดแทง |
ลงส้น | ก. อาการที่เดินกระแทกส้นเท้าแสดงความไม่พอใจเป็นต้น. |
ลิ้นพัน | ว. อาการที่พูดเร็วรัวจนจับความไม่ได้. |
แล้วกัน | ว. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือผิดหวังเป็นต้น เช่น แล้วกันกินขนมหมดไม่เหลือไว้ให้เลย แล้วกัน ไปเมื่อไรก็ไม่บอก |
แล้วไป | ก. เสร็จสิ้นไป, ช่างปะไร, (มักพูดแสดงความไม่พอใจ) เช่น ไม่ทำก็แล้วไป ให้กินแล้วไม่กินก็แล้วไป. |
วะ ๑ | ว. คำบอกเสียงต่อท้ายประโยคแสดงความคุ้นเคยเป็นกันเองหรือแสดงความไม่สุภาพ เช่น ไปไหนวะ. |
วิจิกิจฉา | (-กิดฉา) น. ความสงสัย, ความเคลือบแคลง, ความลังเล, ความไม่แน่ใจ. |
วิภว- | ความไม่มีไม่เป็น. |
วิภวตัณหา | น. ความปรารถนาในความไม่มีไม่เป็น. |
levying war | การมั่วสุมเพื่อก่อความไม่สงบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legal disability | ความไม่สามารถตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lability | ๑. ความไม่คงตัว๒. ความกลับกลายง่าย (จิตใจ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
local analgesia | ความไม่รู้เจ็บเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
life contingency | เหตุความไม่แน่นอนของชีวิต [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rebellion | การกบฏ, การก่อความไม่สงบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rigidity | ๑. สภาพแข็งเกร็ง, สภาพแข็งทื่อ, สภาพแข็งงอ [ มีความหมายเหมือนกับ rigor ๒ ]๒. (จิตเวช.) ความไม่ยืดหยุ่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
representation | ๑. การเป็นผู้แทน๒. หนังสือแสดงความไม่พอใจ (เบากว่าประท้วง)๓. การแถลงในนามของรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
restlessness; uneasiness; unrest | ความไม่สงบ, ความกระสับกระส่าย, ความทุรนทุราย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anacoluthon | ความไม่สืบเนื่อง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
affectation | ความไม่ผสาน [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
analgesia | ความไม่รู้เจ็บ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
analgesia, local | ความไม่รู้เจ็บเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
analgia | ความไม่เจ็บ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
consistency check | การตรวจสอบความเข้ากันได้, การตรวจสอบความไม่ขัดแย้งกัน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
common employment | ความไม่ต้องรับผิดของนายจ้าง (ต่อความบาดเจ็บของลูกจ้างที่เกิดจากการกระทำผิดของลูกจ้างด้วยกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
civil disorder | การก่อความไม่สงบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
civil disorder | การก่อความไม่สงบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disorder, civil | การก่อความไม่สงบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
disability, legal | ความไม่สามารถตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
device independence | ความไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
data independence | ความไม่พึ่งพิงข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
disorganisation; disorganization | ความไม่สมประกอบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
disorganization; disorganisation | ความไม่สมประกอบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
discontinuity | ความไม่ต่อเนื่อง, การขาดความต่อเนื่อง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
genetic drift | ความไม่แน่นอนทางพันธุกรรม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
ignorantia legis non excusat; ignorantia non excusat (L.) | ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อแก้ตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ignorantia non excusat (L.); ignorantia legis non excusat | ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อแก้ตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
independence | ความไม่พึ่งพิง, ความไม่ขึ้นกับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
immaturity | ความไม่เจริญเต็มวัย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
incapacity | ความไม่สามารถ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
infecundity | ความไม่สามารถมีบุตร, ความเป็นหมัน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
invalidity | ความไม่สมเหตุสมผล [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
invalidity | ความไม่สมประกอบ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
insolvency | ความไม่สามารถชำระหนี้, ความมีหนี้สินล้นพ้นตัว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
inability to conceive | ความไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
ignorance of the fact | ความไม่รู้ข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ignorance of the law | ความไม่รู้กฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ignorantia facti excusat (L.) | ความไม่รู้ข้อเท็จจริงเป็นข้อแก้ตัวได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
indicisiveness | ความไม่อาจตัดสินใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
irregularity | ความไม่ถูกต้อง (ตามระเบียบแบบแผน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inconsistency | ความไม่ต้องกัน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
inconsistency | ความไม่ต้องกัน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
incontinence | ความไม่ยับยั้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inconvenience | ความไม่สะดวก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
intolerance | ความไม่ทน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
illegality | ความไม่ชอบด้วยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inappetence | ความไม่อยากอาหาร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nescience | ความไม่อาจรู้ได้ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
uncertainty | ความไม่แน่นอน, ความเคลือบคลุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Unsigned article | บทความไม่กำกับชื่อผู้เขียน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Unsigned article | บทความไม่กำกับชื่อผู้เขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Income inequality | ความไม่เท่าเทียมกันทางรายได้ [เศรษฐศาสตร์] |
Regional disperity | ความไม่เท่าเทียมระหว่างภูมิภาค [เศรษฐศาสตร์] |
Ignorance (Law) | ความไม่รู้กฎหมาย [TU Subject Heading] |
Insurgency | การก่อความไม่สงบ [TU Subject Heading] |
Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Analgesia | การขาดความรู้สึกเจ็บ, การระงับความปวด, ความรู้สึกหายไป, ระงับปวด, ความไม่รู้สึกเจ็บปวด, ฤทธิ์แก้ปวด [การแพทย์] |
Asymmetry | ไม่สมมาตร, ต่างกัน, ความไม่สมมาตรของรูปร่าง [การแพทย์] |
Autonomic Instability | ความไม่มั่นคงทางระบบประสาทเสรี [การแพทย์] |
Concentration, Nonuniform | ความไม่สม่ำเสมอของความเข้มข้น [การแพทย์] |
Dependence, Intra-Cluter | ความไม่เป็นอิสระ [การแพทย์] |
Discomfort | ความไม่สบาย, ความรู้สึกไม่สบาย, ไม่สบาย, อึดอัด [การแพทย์] |
Disequilibrium | การขาดสมดุลย์, ความไม่สมดุลย์, การทรงตัวเสีย [การแพทย์] |
Dissatisfaction | ความไม่พอใจ [การแพทย์] |
Dopamine Acetylcholine Imbalance | ความไม่สมดุลย์ระหว่างโดปามีนอะเซตีลโคลีนย์ [การแพทย์] |
Feeling of Unreality | ความรู้สึกของความไม่เป็นจริง, ความรู้สึกที่ไม่เป็นความจริง [การแพทย์] |
ความสับสน | ความสับสน, สภาพการใช้สติสัมปะชัญญะ การรับรู้ หรือการคิด ที่ทำให้เกิดความลังเล ไม่แน่ใจ เกิดความไม่ชัดเจน ยุ่งเหยิง วุ่นวายของอารมณ์หรือความคิด จนแสดงออกทางกาย เช่น ประหม่้า กระวนกระวาย สั่น หรือแสดงให้เห็นถึงระดับวุฒิภาวะของบุคคลนั้น โดยเฉพาะเรื่องกาลเวลา สถานที่ แล [สุขภาพจิต] |
Ignorance | ความไม่รู้ [การแพทย์] |
Imperfection | ความไม่สมบูรณ์ [การแพทย์] |
Imprecision | ความไม่แม่นยำ, ความไม่เที่ยงตรง [การแพทย์] |
Imprecision, Day to Day | ความไม่เที่ยงตรงระหว่างวัน [การแพทย์] |
Impurity | ความไม่บริสุทธิ์ [การแพทย์] |
Inaccuracy | ความไม่แม่นยำ [การแพทย์] |
Incompatibility | ไม่เข้ากัน, เกิดปฏิกิริยาต่อกัน, ถ่ายทอดไม่ได้, ความไม่พึงผสม, ความเข้ากันไม่ได้, อสมรรถสัมพันธ์, ความไม่พึงผสมของตัวยา, ภาวะเข้ากันไม่ได้, ความไม่เข้ากัน, เข้ากันไม่ได้ [การแพทย์] |
Incompatibility, Chemical | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่เคมี [การแพทย์] |
Incompatibility, Delayed | ความไม่เข้ากันแบบเกิดช้า [การแพทย์] |
Incompatibility, Physical | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่กายภาพ [การแพทย์] |
Incompatibility, Therapeutic | ความไม่พึงผสมของตัวยาในแง่ของการรักษาโรค [การแพทย์] |
Infecundity | ความไม่สามารถมีบุตรได้ [การแพทย์] |
Instability | ไม่มั่นคง, อารมณ์หวั่นไหวเปลี่ยนแปลงง่ายแบบอารมณ์เด็ก ๆ, ความไม่คงตัว [การแพทย์] |
Instability Constant | ค่าคงที่ความไม่เสถียร [การแพทย์] |
Instability, Pure | ความไม่มั่นคงแข็งแรง [การแพทย์] |
Irregularity | ความไม่สม่ำเสมอ ขรุขระ [การแพทย์] |
Mistrust | ไม่วางใจ, ความไม่ไว้วางใจ, ขาดความไว้วางใจ [การแพทย์] |
ขออภัยในความไม่สะดวก | [khø aphai nai khwām mai sadūak] (xp) EN: we apologize for the inconvenience FR: veuillez nous excuser pour la gêne occasionnée |
ความไม่- | [khwām mai -] (pref) EN: in- (pref.) ; im- (pref.) ; dis- (pref.) FR: in- (préf.) ; mé- (préf.) |
ความไม่บริสุทธิ์ | [khwām mai børisut] (n) EN: impurity FR: impureté [ f ] |
ความไม่ฉลาด | [khwām mai chalāt] (n, exp) FR: inintelligence [ f ] |
ความไม่ชอบ | [khwām mai chøp] (n) EN: dislike FR: aversion [ f ] |
ความไม่ชอบมาพากล | [khwām maichøpmāphākøn] (n) EN: suspiciousness ; strangeness ; oddness ; queerness ; peculiarity |
ความไม่ดี | [khwām mai dī] (n, exp) EN: bad |
ความไม่เห็นด้วย | [khwām mai hendūay] (n, exp) EN: disagreement |
ความไม่จริงใจ | [khwām mai jingjai] (n) EN: insincerity |
ความไม่เข้าใจ | [khwām mai khaojai] (n, exp) FR: incompréhension [ f ] |
ความไม่โก้ | [khwām mai kō] (n, exp) FR: inélégance [ f ] |
ความไม่มีเมตตาปรานี | [khwām mai mī mēttā prānī] (n, exp) EN: unkindness |
ความไม่แน่นอน | [khwām mai naēnøn] (n, exp) EN: incertainty FR: incertitude [ f ] |
ความไม่น่าสนใจ | [khwām mai nāsonjai] (n) EN: aridity ; flatness |
ความไม่อดทน | [khwām mai otthon] (n, exp) FR: impatience [ f ] |
ความไม่เป็นอิสระ | [khwām mai pen itsara] (n, exp) EN: dependence |
ความไม่เป็นมิตร | [khwām mai pen mit] (n, exp) EN: hostility ; animosity ; resentment |
ความไม่พึงพอใจ | [khwām mai pheungphøjai] (n) EN: dissatisfaction FR: mécontentement [ m ] |
ความไม่พอใจ | [khwām mai phøjai] (n) EN: discontent ; dissatisfaction ; unhappiness ; discontentment ; frustration FR: mécontement [ m ] |
ความไม่รู้ | [khwām mai rū] (n, exp) EN: ignorance |
ความไม่รู้กฎหมาย | [khwām mai rū kotmāi] (n, exp) EN: ignorance of the law FR: ignorance de la loi [ f ] |
ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อแก้ตัว | [khwām mai rū kotmāi mai pen khø kaētūa] (xp) EN: ignorance of the law is no defence ; ignorantia juris non excusat FR: l'ignorance de la loi n'est pas une excuse ; ignorantia juris non excusat |
ความไม่รุนแรง | [khwām mai runraēng] (n, exp) EN: nonviolence ; non-violence FR: non-violence [ f ] |
ความไม่สบาย | [khwām mai sabāi] (n, exp) EN: malaise ; indisposition ; morbidity |
ความไม่สบายใจ | [khwām mai sabāijai] (n, exp) EN: unhappiness ; sorrowfulness ; unease |
ความไม่สะดวก | [khwām mai sadūak] (n, exp) EN: inconvenience FR: désagrément [ m ] ; gêne [ f ] |
ความไม่สามารถ | [khwām mai sāmāt] (n, exp) FR: incapacité [ f ] |
ความไม่สามารถที่จะชำระหนี้ได้ | [khwām mai sāmāt thī ja chamra nī dāi] (n, exp) EN: insolvency |
ความไม่สำเร็จ | [khwām mai samret] (n, exp) FR: non-succès [ m ] |
ความไม่สงบ | [khwām mai sa-ngop] (n) EN: unrest |
ความไม่สร้างสรรค์ | [khwām mai sāngsan] (n) EN: banality FR: banalité [ f ] |
ความไม่สันทัด | [khwām mai santhat] (n, exp) FR: inhabileté [ f ] |
ความไม่ซื่อสัตย์ | [khwām mai seūsat] (n, exp) EN: disloyalty |
ความไม่สนใจ | [khwām mai sonjai] (n) EN: apathy ; indifference FR: apathie [ f ] ; indifférence [ f ] |
ความไม่สอดคล้องกัน | [khwām mai søtkhløng kan] (n, exp) EN: inconsistency |
ความไม่สุภาพ | [khwām mai suphāp] (n, exp) FR: incivilité [ f ] |
ความไม่ตั้งใจฟัง | [khwām mai tangjai fang] (n, exp) FR: inattention [ f ] |
ความไม่เท่าเทียมกัน | [khwām mai thaothīem kan] (n, exp) EN: inequality |
ความไม่ทนทะเล | [khwām mai thon thalē] (n, exp) EN: unseaworthiness |
ความไม่อยากกินอาหาร | [khwām mai yāk kin āhān] (n, exp) FR: anorexie [ f ] |
ความไม่อยากรู้อยากเห็น | [khwām mai yāk rū yāk hen] (n, exp) FR: incuriosité [ f ] (litt.) |
ความไม่ยุติธรรม | [khwām mai yutitham] (n, exp) EN: inequity ; unfairness |
ก่อความไม่สงบ | [kø khwām mai sa-ngop] (v, exp) EN: cause unrest |
abortion | (n) ความล้มเหลว, See also: ความไม่สำเร็จ, ความไม่สามารถไปถึงจุดมุ่งหมาย, Syn. failure, disaster |
absurdity | (n) ความไร้สาระ, See also: ความน่าขัน, ความไม่เป็นเหตุเป็นผล, Syn. nonsense, senselessness |
allergy | (n) ความไม่พอใจ, See also: ความไม่ชอบ, ความเกลียด |
altruism | (n) ความไม่เห็นแก่ตัว, See also: ความเห็นแก่ผู้อื่น, Syn. selflessness |
anonymity | (n) ความไม่มีลักษณะเฉพาะ |
atheism | (n) ความไม่เชื่อว่ามีพระเจ้า, See also: ความไม่เชื่อในพระเจ้า, Syn. denial of God, agnosticism |
bad | (n) ความไม่ดี, See also: ความชั่ว, ความเลว |
bad blood | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. hatred, Ant. affection |
bad feeling | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. bad blood |
banality | (n) ความน่าเบื่อ, See also: ความธรรมดามาก, ความไม่สร้างสรรค์, Syn. dullness |
barbarity | (n) อนารยธรรม, See also: ความป่าเถื่อน, ความโหดเหี้ยม, ความไม่มีวัฒนธรรม, Syn. atrocity |
baseness | (n) ความเลวทราม, See also: ความไม่ดี, Syn. brutality, wickedness, Ant. kindness, mercy |
bind | (n) สิ่งที่ก่อให้เกิดความไม่สะดวกสบาย, See also: สิ่งที่น่ารำคาญ, Syn. nuisance |
blur | (n) ความพร่ามัว, See also: ความเลือนราง, ความไม่ชัดเจน, ความมัว |
carelessness | (n) ความไม่กังวล, Syn. unconcern, Ant. concern |
carelessness | (n) ความไม่ระมัดระวัง, Syn. heedlessness, Ant. care, caution |
casualness | (n) ความไม่เป็นทางการ, Syn. informality, familiarity |
casualness | (n) ความเรื่อยๆ, See also: ความไม่สนใจ, ความเฉยๆ |
clumsiness | (n) ความไม่ชำนาญในการใช้, See also: ความงุ่มง่าม, ความเงอะงะ, Syn. maladroitness, ineptitude |
coarseness | (n) ความหยาบ (วัสดุ), See also: ความไม่ประณีต, Syn. stiffness, harshness, roughness, crudeness |
complaint | (n) ความไม่พอใจ |
constancy | (n) ความคงตัว, See also: ความไม่เปลี่ยนแปลง, Syn. permanence, stability, Ant. instability, inconstancy |
constancy | (n) ความจงรักภักดี, See also: ความซื่อสัตย์, ความไม่เปลี่ยนใจ, Syn. faithfulness, loyalty, fidelity |
convulsion | (n) ความชุลมุนวุ่นวาย, See also: ความไม่สงบ, Syn. disturbance, outbreak |
complain to | (phrv) ตำหนิ, See also: แสดงความไม่พอใจ |
devil-may-care attitude | (idm) ความไม่ใส่ใจ, See also: การไม่สนใจ |
devil-may-care manner | (idm) ความไม่ใส่ใจ, See also: การไม่สนใจ, การไม่ทุกข์ร้อน ในเรื่องงาน |
danger | (n) อันตราย, See also: ภัย, ภัยอันตราย, ภยันตราย, การเสี่ยงภัย, ความไม่ปลอดภัย, สถานการณ์อันตราย, Syn. peril, hazard, risk safety |
deceitfulness | (n) การหลอกลวง, See also: ความไม่ซื่อ, ความไม่จริงใจ, Syn. insincerity, trickiness |
deformity | (n) ความพิกลพิการ, See also: การเสียรูป, ความไม่เป็นรูปเป็นร่าง, Syn. disfigurer |
deprecation | (n) ความไม่เห็นด้วย, See also: อย่างไม่เห็นชอบ, Syn. denouncement |
detachment | (n) การวางเฉย, See also: ความไม่สนใจ, การไม่แยแส, Syn. aloofness, Ant. union |
detestation | (n) ความเกลียดอย่างมาก, See also: ความรังเกียจ, ความไม่ชอบอย่างมาก, Syn. hate, hatred, loathing, Ant. attraction |
deviation | (n) ความไม่เห็นพ้อง, See also: ความคิดแตกต่าง, การเข้ากันไม่ได้, Syn. disagreement, Ant. accord, correspondence |
deviousness | (n) การหลอกลวง, See also: ความไม่จริงใจ, Syn. fishiness, shadiness, twistiness |
dirtiness | (n) ความสกปรก, See also: ความไม่สะอาด, ความไม่บริสุทธิ์ |
disaccord | (n) ความขัดแย้ง (คำทางการ), See also: ความไม่เข้ากัน, ความไม่ประสานกัน |
disagreement | (n) ความขัดแย้งกัน, See also: ความคิดเห็นไม่ตรงกัน, ความไม่เห็นด้วย, การแตกร้าว, Syn. contradiction, contrast, disparity, Ant. agreement |
disapproval | (n) ความไม่เห็นด้วย, See also: ความไม่ชอบ, การไม่ยอมรับ, Syn. dismissal, refusal, Ant. acceptance, welcome |
disarrangement | (n) ความไม่เป็นระเบียบ, See also: ความยุ่งเหยิง, ความไม่เรียบร้อย, Syn. disorder |
disarray | (n) ความอลหม่าน, See also: ความสับสน, ความไม่เป็นระเบียบ, Syn. clutter, confusion, Ant. order, organization |
discomfort | (n) ความไม่สะดวกสบาย, See also: ความรู้สึกเจ็บปวด, ความอึดอัด, Syn. inconvenience, pain, ache, misery |
discomposure | (n) ความวุ่นวาย, See also: ภาวะที่ถูกก่อกวน, ความไม่สงบ, Syn. disorder, pertubation |
discontent | (n) ความไม่พอใจ, Syn. dissatisfaction, unhappiness |
discontentedly | (adv) ด้วยความไม่พอใจ |
discontentment | (n) ความไม่พอใจ, Syn. dissatisfaction, unhappiness |
discontinuity | (n) ความไม่ต่อเนื่อง, See also: ความไม่ราบรื่น, ความไม่สม่ำเสมอ, Syn. blank, breach, gap, lapse |
discord | (n) ความไม่ลงรอยกัน, See also: ความขัดแย้ง, Syn. conflict, friction, Ant. agreement, feud |
discordance | (n) ความบาดหมาง, See also: ความไม่ลงรอยกัน, การทะเลาะวิวาท, Syn. disagreement, dispute |
discourtesy | (n) ความไม่สุภาพ, See also: ความหยาบคาย, Syn. insult, affront, disgrace, shame |
abeyance | (อะเบ' เอินซฺ) n. การหยุด, การยั้ง, การระงับชั่วคราว, ความไม่แน่นอน, Syn. inaction |
acoria | ความไม่รู้สึกหิว |
ailment | (เอล' เมินทฺ) n. ความไม่สบายกาย, ความป่วย, Syn. disturbance, discomfort |
allergy | (แอล' เลอจี) n. โรคภูมิแพ้ (เช่น ไข้ละ-อองฟาง, หอบ, หืด, ภาวะผิวหนังเป็นผื่น) , ความไม่พอใจ -allergic adj. (hypersensitivity) |
ambivalence | (แอมบิฟ' วะลันซฺ) n. ความไม่แน่ใจ (โดยเฉพาะในการเลือกสิ่งที่ตรงกันข้าม) ความรู้สึกรวมที่มีทั้งที่เป็นเชิงบวกและเชิงลบต่อบุคคลอื่นหรือสิ่งของ. -ambivalent adj. |
amorphism | (อะมอร์' ฟิสซึม) n. ภาวะหรือลักษณ์ที่ไม่มีรูปร่างที่แน่นอน, ความไม่มีจุดหมายหรือจุดประสงค์ที่แน่นอน, ลักษณะอสัณฐาน |
antipathy | (แอนทิพ' พะธี) n. ความไม่ลงรอย, ความไม่พอใจ, ความเกลียด, สิ่งที่ไม่ลงรอย, สิ่งที่ไม่ชอบ, Syn. hostility, hatred, enmity |
apathy | (แอพ'พะธี) n. การไร้อารมณ์, ความไม่สนใจ, ความไม่ เป็นห่วง, Syn. unconcern |
asperity | (อัสเพอ'ริที) n. ความหยาบ, ความไม่ละมุนละม่อม, ความรุนแรง (อากาศ) , ความลำบาก, Syn. crossness, Ant. smoothness |
assurance | (อะชัว'เรินซฺ) n. การรับรอง, การทำให้แน่นอน, การทำให้มั่นใจ, ความมั่นใจ, ความเชื่อถือ, ความไม่กลัวเกรง, ความบ้าบิ่น, การประกันภัย, การโอนทรัพย์สิน, Syn. boldness, confidence, Ant. doubt, distrust |
asymmetry | (เอซิม'มีทรี) n. ความไม่สมส่วนกัน, ความไม่เหมือนกันบนสองข้างของเส้นกลาง |
athanasia | (แอธธะเน'เซีย) n. ความไม่ตาย, ชีวิตชั่วนิรันดร |
atheism | (เอ'ธีอิสซึม) n. ความเชื่อที่ว่าไม่มีพระเจ้า, ความไม่มีพระเจ้า, ความชั่วร้าย |
audacity | (ออแดส'ซิที) n. ความกล้า, ความไม่มีมารยาท, ความทะลุ, Syn. boldness, daring |
aversion | (อะเวอ'เชิน) n. ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, คำไม่พอใจ. -aversive adj. |
backyard | (แบค'เยิร์ด) n. สนามหลังบ้าน, ลานบ้าน, ด้านหลัง, ความไม่โสมมข้างใน |
bad blood | n. ความเป็นศัตรู, ความไม่เป็นมิตร |
bathos | (เบ'ธอส) n. วิธีการลดหรือเปลี่ยนอย่างฮวบฮาบ, ความไม่จริงใจ, ความแสร้ง, ความตรงกันข้าม, ความธรรมดาหรือจืดชืด, See also: bathetic adj. |
bullshit | (บูล'ชิท) n. ความไร้สาระ, การพูดความจริง. interj. คำอุทานแสดงความไม่เชื่อความไม่เห็นด้วย, Syn. nonsense |
callosity | (คะลอส'ซิที) n. ภาวะแข็งด้าน, ส่วนที่แข็งด้าน, ความไม่รู้สึก, ความตายด้าน |
chaos | (เค'ออส) n. ความอลหม่าน, ความสับสนวุ่นวาย, ความไม่มีระเบียบ, Syn. disarray |
chide | (ไชดฺ) { chided, chiding, chides } vt. ติเตียน, ตำหนิ, ด่า, ดุ, ตะเพิด, พัดเสียงดัง (ลม) , คำราม, แสดงความไม่พอใจ, Syn. rebuke |
chilliness | (ชิล'ลิเนส) n. ความเมินเฉย, ความเย็นชา, ความไม่เป็นมิตร |
clemency | (เคลม'เมินซี) n. ความมีใจเมตตากรุณาปรานี, ความไม่รุนแรง, การผ่อนผัน, ภาวะเย็นสบาย, ความอำนวย, Syn. leniency |
compunction | (คัมพังคฺ'เชิน) n. ความเสียใจต่อการกระทำ, ความไม่สบายใจหรือกระสับกระส่ายต่อสิ่งที่ได้กระทำไป., See also: compunctious adj., Syn. guilt, regret, repentance |
confusion | (คันฟิว'เชิน) n. ความยุ่งเหยิง, ความไม่ชัด, ความงงงวย, การให้ยุ่งหรือสับสน, ความพ่ายแพ้, ความเสื่อมสลาย, Syn. puzzlement, disorder |
contradiction | (คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน |
crucify | (ครู'ซิไฟ) { crucified, crucifying, crucifies } vt. ตรึงให้ตายบนไม้กางเขน, ประหัตประหาร, ทำให้ดับสิ้นด้วยความไม่เป็นธรรม, See also: crucifier n., Syn. torment, torture |
danger | (เดน'เจอะ) n. อันตราย, ภัย, ความไม่ปลอดภัย, Syn. peril |
deceit | (ดิซีท') n. การหลอกลวง, การโกง, กลอุบาย, ความไม่ซื่อ, Syn. cheating |
decorum | (ดิคอ'รัม) n. มารยาท, สมบัติผู้ดี, ความงดงาม, ความไม่น่าเกลียด |
deficiency | (ดิฟิช'เชินซี) n. ภาวะที่ขาดแคลน, ความขาดแคลน, ความไม่สมบูรณ์, ความไม่เพียงพอ, ปริมาณที่ขาดแคลน, ส่วนที่ไม่พอ, Syn. lack |
derangement | (ดิเรนจฺ'เมินทฺ) n. ความยุ่งเหยิง, ความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย, ความบ้า |
detachment | (ดิแทช'เมินทฺ) n. การถอดออก, ความไม่ลำเอียง, การมีอุเบกขา, การส่งกองทหารหรือเรือไปเป็นพิเศษ, Syn. impartiality |
diffidence | (ดิฟ'ฟิเดินซฺ) n. ความประหม่า, ความไม่มั่นใจตัวเอง, Syn. shyness |
disaffection | (ดิสอะเฟค'เชิน) n. ความไม่พอใจ, ความไม่ซื่อสัตย์, ความบาดหมาง, ความเหินห่าง |
disagreement | (ดิสอะกรี'เมินทฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง, Syn. rift |
disapproval | (ดิสอะพรู'เวิล) n. ความไม่เห็นด้วย, การไม่อนุญาต, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ, สีหน้าความรู้สึกหรือคำพูดที่ไม่เห็นด้วย, Syn. blame |
disbelief | n. ความไม่เชื่อ, Syn. incredulity |
discomfort | (ดิสคัม'เฟิร์ท) n. ความลำบาก, ความไม่สบาย, ความไม่สะดวก vt. ทำให้ลำบาก, ทำให้ไม่สะดวก, Syn. annoyance |
discommend | (ดิสคะเมนดฺ') vt. แสดงความไม่พอใจ, ไม่เห็นด้วย |
discommode | (ดิสคะโมด') vt. ทำให้เกิดความไม่สะดวกแก่, ก่อกวน, ทำให้ลำบาก., See also: discommodious adj. |
discomposure | (ดิสคัมโพ'เชอะ) n. ความไม่เป็นสุข, ภาวะที่ถูกก่อกวน, ความร้อนใจ, ความวุ่นวายใจ, Syn. perturbation |
disconformity | (ดิสคันฟอม'มิที) n. ความไม่ลงรอยกัน, ผิวหน้าของชั้นหินที่ไม่ลงรอยกัน |
discontenance | (ดิสเคา'ทะเนินซฺ) vt. ทำให้หมดกำลังใจ, ทำให้ไม่สบายใจ, ไม่เห็นด้วย n. ความไม่เห็นด้วย, Syn. disconcert |
discontent | (ดิสคันเทนทฺ') adj. ไม่พอใจ. n. ความไม่พอใจ vt. ทำให้ไม่พอใจ |
discontinuance | (ดิสคันทิน'นิวเอินซฺ) n. ความไม่ต่อเนื่องกัน, ความไม่สม่ำเสมอ, ความหยุดชะงัก, การเลิกล้ม, Syn. termination |
discontinuity | (ดิสคอนทินิว'อิที) n. การหยุดชะงัก, การไม่ต่อเนื่องกัน, การเลิก, ความไม่สม่ำเสมอ, การขาดตอน, Syn. gap |
discord | (ดิส'คอร์ด) { discorded, discording, discords } n. ความไม่ลงรอยกัน, ความบาดหมาง, ความไม่ประสานกัน, ความขัดแย้ง, การทะเลาะ, การต่อสู้, สงคราม, เสียงที่ไม่เข้ากัน. vi. ไม่เห็นด้วย, Syn. disagreement, strife |
discordance | (ดิสคอร์'เดินซฺ) n. ภาวะที่ไม่ลงรอยกัน, ความไม่ประสานกัน, Syn. conflict |
absurdity | (n) ความไร้เหตุผล, ความไร้สาระ, ความไม่สมเหตุสมผล |
ailment | (n) ความเจ็บป่วย, ความไม่สบาย, โรค |
apathy | (n) ความไม่แยแส, ความเฉยเมย, ความเฉื่อยชา, ความไร้อารมณ์ |
aplomb | (n) ความมั่นใจในตนเอง, ความไม่ประหม่า |
askance | (adv) ด้วยความสงสัย, ด้วยความไม่ไว้วางใจ |
askant | (adv) ด้วยความสงสัย, ด้วยความไม่ไว้วางใจ |
aversion | (n) ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, ความเกลียดชัง |
backyard | (n) ความเป็นศัตรู, ความเกลียดชัง, ความไม่เป็นมิตร |
brass | (n) ทองเหลือง, เครื่องทองเหลือง, ความทะลึ่ง, ความไม่ละอาย |
bravery | (n) ความกล้าหาญ, ความกล้า, ความอาจหาญ, ความไม่เกรงกลัว |
caprice | (n) การทำตามอำเภอใจ, ความไม่แน่นอน |
carelessness | (n) ความประมาท, ความสะเพร่า, ความเลินเล่อ, ความไม่เอาใจใส่ |
chillness | (n) ความเย็นชา, ความเฉยเมย, ความเยือกเย็น, ความไม่เป็นมิตร |
clemency | (n) ความกรุณา, ความไม่ถือโทษ, ความเมตตา, การผ่อนผัน |
coma | (n) ความไม่รู้สึกตัว, อาการสลบ, อาการหมดสติ, อาการโคม่า |
consistence | (n) ความมั่นคง, ความเหนียวแน่น, ความคงเส้นคงวา, ความไม่เปลี่ยนแปลง |
consistency | (n) ความมั่นคง, ความยึดมั่น, ความคงเส้นคงวา, ความไม่เปลี่ยนแปลง |
continence | (n) การรู้จักละเว้น, การบังคับใจตนเอง, ความไม่มักมาก |
contingency | (n) ความเป็นไปได้, ความไม่แน่นอน, อุปัทวเหตุ |
cowardice | (n) ความขี้ขลาด, ความไม่กล้า |
danger | (n) อันตราย, ภัย, ภยันตราย, ความไม่ปลอดภัย |
decrepitude | (n) ความอ่อนเปลี้ย, ความไม่มีแรง, ความชรา |
deficiency | (n) ความขาดแคลน, ข้อบกพร่อง, ความไม่สมบูรณ์ |
delinquency | (n) การหลีกเลี่ยงหน้าที่, ความไม่รับผิดชอบ, ความเหลวไหล, การกระทำผิด |
deprecation | (n) การต่อต้าน, ความไม่เห็นด้วย, การคัดค้านความชิงชัง |
desperation | (n) ความหมดหวัง, ภาวะล่อแหลม, ความไม่กลัวอันตราย, การกระทำด่วน, ความสิ้นคิด |
detachment | (n) การถอด, การแยกจากกัน, การปลด, กองทหาร, ความไม่ลำเอียง |
detestation | (n) ความชิงชัง, ความเกลียดชัง, ความไม่ชอบ |
difference | (n) ความแตกต่าง, ความไม่เหมือนกัน |
diffidence | (n) ความไม่เชื่อมั่นในตนเอง, ความขวยเขิน, ความประหม่า, ความขี้อาย |
disaffection | (n) ความไม่เป็นมิตร, ความไม่ซื่อสัตย์, ความไม่พอใจ, ความเหินห่าง, ความบาดหมาง |
disagreement | (n) ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง |
disapprobation | (n) ความไม่ชอบ, ความไม่ถูกใจ, การคัดค้าน, ความไม่ลงรอยกัน |
disapproval | (n) การไม่อนุญาต, ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ |
disbelief | (n) ความไม่เชื่อ, การไม่ยอมรับ |
discomfort | (n) ความไม่สบายใจ, ความกระอักกระอ่วน, ความลำบากใจ, ความไม่สะดวก |
discontent | (n) ความไม่พอใจ, ความไม่ถูกใจ, ความไม่สบอารมณ์ |
discord | (n) ความบาดหมาง, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่สามัคคี |
discourtesy | (n) ความไม่สุภาพ, ความหยาบคาย, ความไม่มีมารยาท |
discredit | (n) ความไม่เชื่อถือ, ความอัปยศ, ความขายหน้า, การเสียชื่อเสียง |
discrepancy | (n) ความคลาดเคลื่อน, ความแย้งกัน, ความไม่ตรงกัน |
disdain | (n) การดูถูก, การรังเกียจ, การเหยียดหยาม, ความไม่ชอบ |
disfavour | (n) ความไม่ชอบ, ความไม่พอใจ, ความไม่ถูกใจ, ความไม่เห็นด้วย |
dishonesty | (n) ความไม่สุจริต, ความไม่ซื่อสัตย์, ความหลอกลวง |
dishonour | (n) ความไม่มีเกียรติ, ความเสียชื่อเสียงเกียรติยศ |
disinclination | (n) ความไม่สมัครใจ, ความไม่เต็มใจ, ความไม่ยินยอม |
dislike | (n) ความไม่ชอบ, ความเกลียด, ความเบื่อหน่าย |
disobedience | (n) ความดื้อดึง, ความดื้อ, ความดื้อรั้น, ความไม่เชื่อฟัง |
disorder | (n) ความวุ่นวาย, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน, ความไม่เป็นระเบียบ, ความอลหม่าน |
disparity | (n) ความต่าง, ความไม่เสมอกัน, ความไม่เหมือนกัน |