ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พิพากษา, -พิพากษา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ พิพากษา | (v) sentence, See also: deliver judgement, decide, judge, Syn. พิพากษ์, ตัดสิน, ชี้ขาด, ตัดสินคดี, Example: ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องจำเลยที่ซื้อเสียง แต่ให้ยึดเงินของกลางไว้, Thai Definition: ตัดสินคดีโดยศาล | คำพิพากษา | (n) decision, See also: judgement, verdict, ruling, Syn. คำตัดสิน, คำวินิจฉัย, Example: เขาพระวิหารเป็นดินแดนที่ไทยต้องสูญเสียไปตามคำพิพากษาของศาลโลกที่ให้คืนแก่ประเทศเขมร, Thai Definition: คำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล, Notes: (กฎหมาย) | ผู้พิพากษา | (n) judge, See also: justice, magistrate, arbitrator, Syn. ตุลาการ, Example: ผู้พิพากษาตัดสินประหารชีวิตนักโทษคดีค้ายาบ้า, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ตัดสินคดี | อธิบดีผู้พิพากษา | (n) chief judge, Example: เขาดำรงตำแหน่งอธิบดีผู้พิพากษา, Thai Definition: หัวหน้าผู้พิพากษา | คำพิพากษาถึงที่สุด | (n) final judgment, Example: ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าการสมรสของบุคคลคู่นี้ เป็นโมฆะแล้ว, Thai Definition: คำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล ซึ่งเป็นคำตัดสินสุดท้าย ไม่มีผู้ใดร้องเรียนได้ | ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล | (n) Chief Justice, Example: พ่อของเขามีตำแหน่งเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าศาล, Count Unit: คน |
|
| คำพิพากษา | น. คำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล. | ผู้พิพากษา | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถ-คดีในศาล. | ผู้พิพากษาสมทบ | น. บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษ ให้เป็นองค์คณะร่วมกับผู้พิพากษาซึ่งเป็นข้าราชการตุลาการ มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดี เช่น ผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัว ผู้พิพากษาสมทบในศาลแรงงาน. | พิพากษา | ก. ตัดสินคดีโดยศาล, เรียกตุลาการผู้ทำหน้าที่ตัดสินดังกล่าว ว่า ผู้พิพากษา, เรียกคำตัดสินนั้น ว่า คำพิพากษา. | ลูกหนี้ตามคำพิพากษา | น. บุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีและมีคำพิพากษาให้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้. | กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. | ขุนการ, ขุนกาล | น. เจ้าหน้าที่รับจดคำฟ้อง เช่น หญิงชายทำหนังสือร้องฟ้องนั้น มีชื่อหลายคน พึงให้ขุนการเอามาจนถ้วนคน อนึ่ง ถ้าความนั้นข้องขัดจะพิพากษาบังคับบัญชายากไซร้ให้ขุนกาลชุมนุมจตุสดมให้ช่วยว่า (สามดวง). | เขตอำนาจศาล | น. พื้นที่และอำนาจของศาลหรือผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษาคดีตามที่กฎหมายบัญญัติ. | คดีดำ | น. คดีหมายเลขดำ ซึ่งหมายถึง คดีที่ฟ้องร้องต่อศาลและศาลได้ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาล โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เรียงเป็นลำดับไปจนสิ้นปี เมื่อศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว ศาลจะให้หมายเลขคดีใหม่เรียกว่าคดีหมายเลขแดง ควบคู่ไปกับคดีหมายเลขดำที่ให้ไว้เดิม เช่น คดีหมายเลขดำที่ ๑/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๑ หรือกล่าวโดยสรุป คดีดำ หมายถึง คดีที่ศาลยังมิได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดี ส่วนคดีแดง คือ คดีที่ศาลได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดีแล้ว. | คดีแดง | น. คดีหมายเลขแดง ซึ่งหมายถึง คดีที่ศาลได้มีคำพิพากษาหรือคำวินิจฉัยชี้ขาดคดี หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราวแล้ว โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เป็นลำดับไปจนสิ้นปี เรียกย่อ ๆ ว่า “คดีแดง” เช่น คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๐ หรือคดีแดงที่ ๑/๒๕๕๐. (ดู คดีดำ ประกอบ). | คำบังคับ | น. คำสั่งของศาลซึ่งออกเพื่อสั่งให้คู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง. | เจ้าพนักงานบังคับคดี | น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล. | ฎีกา | การคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด | ดำเนินคดี | ร้องทุกข์ กล่าวโทษ สอบสวน ฟ้องคดี หรือพิจารณาพิพากษาคดี ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความ. | ตุลาการ | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. | แถลงปิดคดี | ก. การที่โจทย์และจำเลยแถลงด้วยปากหรือหนังสือ หรือทั้ง ๒ อย่างเมื่อสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว เพื่อสรุปประเด็นข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายต่อศาลก่อนมีคำพิพากษา. | ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา | น. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. | นักโทษเด็ดขาด | น. บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด. | บัลลังก์ | ที่นั่งผู้พิพากษาเมื่อพิจารณาคดีในศาล | บุคคลล้มละลาย | น. บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ซึ่งมีหนี้สินล้นพ้นตัวและศาลพิพากษาหรือสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย. | บุคคลล้มละลายทุจริต | น. บุคคลล้มละลายที่ถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดบางประการเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายล้มละลายกำหนด หรือไม่สุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือหนี้สินตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายล้มละลาย หรือเป็นบุคคลล้มละลายอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดฐานยักยอกหรือฉ้อโกง หรือการกระทำความผิดอันมีลักษณะเป็นการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน. | ปรึกษา | (ปฺรึกสา) ก. หารือ, ขอความเห็นแนะนำ, พิจารณาหารือกัน, พิจารณาอภิปรายกัน เช่น ประชุมปรึกษา, พิจารณาร่างคำพิพากษา เช่น ผู้ปรึกษา (ในทางศาล). | ผู้ต้องโทษ | น. ผู้ต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ลงโทษหรือให้กักกัน. | ผู้ถูกกักกัน | น. ผู้ซึ่งถูกศาลพิพากษาให้กักกัน. (ดู กักกัน ประกอบ). | เพชฌฆาต | (เพ็ดชะคาด) น. เจ้าหน้าที่ประหารชีวิตนักโทษที่ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้ประหารชีวิต. | แมยิสเตร็ด | น. ผู้ทำหน้าที่ตุลาการในศาลชั้นต้นของต่างประเทศซึ่งอาจจะเป็นผู้พิพากษาอาชีพหรืออาสาสมัครก็ได้. | ยกฟ้อง | ก. พิพากษาให้คดีตกไป มีผลให้ผู้ฟ้องแพ้คดี. | ยืน | คงเดิม เช่น พิพากษายืน | ยุติธรรม | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศาลยุติธรรม แต่ไม่รวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. | ลูกขุน ณ ศาลหลวง, ลูกขุนศาลหลวง | น. คณะผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินคดี โดยชี้ขาดข้อกฎหมาย หลังจากที่ตระลาการพิจารณาคดีชี้ขาดข้อเท็จจริงแล้ว, บางทีเขียนเป็น ลูกขุน ณ สานหลวง หรือ ลูกขุน ณ สารหลวง ก็มี. | ศาล | (สาน) น. องค์กรฝ่ายตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี, ผู้พิพากษาหรือตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี | ศาลแขวง | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีผู้พิพากษาเป็นองค์คณะคนเดียว และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอันจำกัดกว่าศาลชั้นต้นอื่น. | ศาลจังหวัด | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่ตั้งประจำในแต่ละจังหวัดหรือในบางอำเภอ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ. | ศาลฎีกา | น. ศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด คำสั่งและคำพิพากษาของศาลฎีกาย่อมเป็นที่สุด. | ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และทรัพย์สินทางปัญญาอื่น รวมทั้งกิจการเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศบางเรื่อง. | ศาลทหาร | น. ศาลที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหาร เช่น ทหารพลเรือนที่สังกัดอยู่ในราชการทหาร. | ศาลปกครอง | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง. | ศาลโปริสภา | (สานโปริดสะพา) น. ศาลชั้นต้นที่จัดตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ แทนศาลกองตระเวนเมื่อ ร.ศ. ๑๑๒ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทำนองเดียวกับศาลแขวงปัจจุบัน. | ศาลแพ่ง | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นอื่น ศาลแพ่งมีเขตพื้นที่ตลอดท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากเขตพื้นที่ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี ศาลจังหวัดมีนบุรี แต่คดีที่อยู่นอกเขตพื้นที่ของศาลแพ่ง ศาลแพ่งอาจใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาได้. | ศาลภาษีอากร | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับภาษีอากร. | ศาลยุติธรรม | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง ที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร. | ศาลเยาวชนและครอบครัว | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในคดีอาญาที่มีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระทำความผิดและคดีครอบครัว. | ศาลแรงงาน | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องที่เกี่ยวกับแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง. | ศาลล้มละลาย | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย. | ศาลสูง | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีในชั้นอุทธรณ์และฎีกา. | ศาลสูงสุด | น. ศาลที่อยู่ในลำดับสูงสุดเหนือศาลทั้งหลายในสายเดียวกัน คดีที่ศาลสูงสุดพิจารณาพิพากษาแล้วถือว่าถึงที่สุด. | ศาลอาญา | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นอื่น ศาลอาญา มีเขตพื้นที่ตลอดท้องที่กรุงเทพมหานครนอกจากเขตพื้นที่ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี ศาลจังหวัดมีนบุรี แต่คดีที่อยู่นอกเขตพื้นที่ของศาลอาญา ศาลอาญาอาจใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาได้. | ศาลอาญาศึก | น. ศาลที่ตั้งขึ้นเมื่อหน่วยทหารหรือเรือรบอยู่ในยุทธบริเวณ เพื่อพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นในเขตอำนาจได้ทุกบทกฎหมายและไม่จำกัดตัวบุคคล. | หมายจำคุก | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้จำคุกผู้ต้องคำพิพากษาให้จำคุกหรือประหารชีวิตหรือที่จะต้องจำคุกแทนค่าปรับ. | อธิบดี | (อะทิบอดี, อะทิบบอดี) น. ผู้เป็นใหญ่, ผู้ปกครอง, หัวหน้า, เช่น อธิบดีสงฆ์ อธิบดีผู้พิพากษา |
| peace, justice of the | ผู้พิพากษาศาลแขวง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ (ผู้พิพากษาหรือลูกขุน)๓. บัญชีรายชื่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pre-sentence hearing | การนั่งพิจารณาก่อนพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pre-sentence investigation | การสืบเสาะก่อนพิพากษา (ของพนักงานคุมประพฤติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pre-sentence report | รายงานการสืบเสาะก่อนพิพากษา (ของพนักงานคุมประพฤติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | per eundem (L.) | โดยผู้พิพากษาคนเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pass the judgement | มีคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Law Lords | ๑. สมาชิกสภาขุนนางที่เป็นผู้พิพากษาศาลสูง (อังกฤษ)๒. ผู้พิพากษาศาลสูง (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | law, judge-made | กฎหมายที่มาจากคำพิพากษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law of the case | หลักว่าด้วยการไม่รับฟ้องคดีที่มีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | render judgment | มีคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | recall a judgment | กลับคำพิพากษา, พิพากษากลับ (โดยอาศัยข้อเท็จจริง) [ ดู reverse a judgment ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | res judicata (L.) | คำพิพากษาถึงที่สุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | reversal | การกลับคำพิพากษา (ศาลล่าง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | reversal | การกลับคำพิพากษา [ ดู overrule ความหมายที่ ๒ ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reversal of judgment | การกลับคำพิพากษา, การพิพากษากลับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | reverse a judgment | กลับคำพิพากษา, พิพากษากลับ (โดยอาศัยข้อกฎหมาย) [ ดู recall a judgment ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | sentence | คำพิพากษา (ในคดีอาญา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | sentence | ๑. พิพากษา๒. คำพิพากษาลงโทษ, คำตัดสินลงโทษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | sentence, suspended; suspended sentence | คำพิพากษารอการลงอาญา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | sentenced person | ผู้ต้องคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | split sentence | คำพิพากษาที่แยกการลงโทษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | suspended sentence; sentence, suspended | คำพิพากษารอการลงอาญา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suspended sentence | คำพิพากษารอการลงโทษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | obiter dictum (L.) | ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู dictum ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | overrule | ๑. ลบล้าง๒. กลับคำพิพากษา [ ดู reversal ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | associate judge | ผู้พิพากษาสมทบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | adjudged bankrupt | บุคคลผู้ต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | accumulative judgment | คำพิพากษาให้นับโทษต่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | accumulative sentences | คำพิพากษาให้เรียงกระทงลงโทษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | assignment of errors | การระบุข้อผิดพลาด (ในคำพิพากษาของศาลล่าง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arrest of judgment | การขอให้ยับยั้งการพิพากษาคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alternative judgment | คำพิพากษาที่ให้เลือกกระทำการได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | autrefois convict (Fr.) | เคยถูกพิพากษาลงโทษมาแล้ว (ในการกระทำผิดครั้งเดียวกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | jurisprudence | ๑. หลักนิติศาสตร์, ธรรมศาสตร์๒. ประมวลคำพิพากษาบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | jurisprudence | ๑. ธรรมศาสตร์, หลักนิติศาสตร์๒. ประมวลคำพิพากษาที่เป็นบรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judgment | ๑. คำพิพากษา, คำตัดสิน, คำวินิจฉัย๒. พินิศจัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judgment | คำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judgment creditor | เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judgment debt | หนี้ตามคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judgment debtor | ลูกหนี้ตามคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judgment execution | การบังคับคดีตามคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge | ๑. วินิจฉัย๒. ผู้พิพากษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judge | ผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | justice of the peace | ผู้พิพากษาศาลแขวง [ ดู magistrate ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | justice of the peace | ผู้พิพากษาศาลแขวง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge pro tempore | ผู้พิพากษาชั่วคราว, สำรองผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge trainee | ผู้ช่วยผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge, associate | ผู้พิพากษาสมทบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judge-made law | กฎหมายที่มาจากคำพิพากษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Arrest of judgment | การขอให้ยับยั้งการพิพากษาคดี [TU Subject Heading] | Digests | คำพิพากษาศาลโดยย่อ [TU Subject Heading] | Judges | ผู้พิพากษา [TU Subject Heading] | Judgments | คำพิพากษาศาล [TU Subject Heading] | Judgments, Criminal | คำพิพากษาศาลคดีอาญา [TU Subject Heading] | Judgments, Foreign | คำพิพากษาศาลต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Judicial assistance | การบังคับคดีตามคำพิพากษาศาลต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Lay judges | ผู้พิพากษาสมทบ [TU Subject Heading] | Prison sentences | คำพิพากษาจำคุก [TU Subject Heading] | Summary judgments | คำพิพากษาศาล (ย่อ) [TU Subject Heading] | Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] | Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
| อ่านคำพิพากษาคดี | [ān khamphiphāksā khadī] (v, exp) EN: pronounce a judgement/judgment (Am.) | บังคับคดีตามคำพิพากษา | [bangkhap khadī tām khamphiphāksā] (v, exp) EN: enforce a judgement/judgment (Am.) | การอ่านคำพิพากษา | [kān ān khamphiphāksā] (n, exp) FR: lecture du verdict [ f ] | การบังคับคดีตามคำพิพากษา | [kān bangkhap khadī tām khamphiphāksā] (n, exp) EN: judgement enforcement ; judgment enforcement (Am.) ; execution of judgement ; execution of judgment (Am.) ; enforcement of a judgement ; enforcement of a judgment (Am.) FR: exécution d'un jugement[ f ] | การคัดค้านผู้พิพากษา | [kān khatkhān phūphiphāksā] (n, exp) EN: challenge of judges | การกลับคำพิพากษา | [kān klap khamphiphāksā] (n, exp) EN: reversal of judgement = reversal of judgment (Am.) | การพิพากษา | [kān phiphāksā] (n) EN: judgement = judgment (Am.) FR: jugement [ m ] ; verdict [ m ] ; sentence [ f ] ; arrêt [ m ] | การพิพากษากลับ | [kān phiphāksā klap] (n, exp) EN: reversal of judgement = reversal of judement (Am.) | การพิพากษาในกรณีจำเลยขาดนัดพิจารณา | [kān phiphāksā nai karanī jamloēi khāt nat phijāranā] (n, exp) EN: judgement by default | คำพิพากษา | [khamphiphāksā] (n) EN: decision ; judgement = judgment (Am.) ; verdict ; ruling ; judicial decision ; sentence FR: jugement [ m ] ; décision judiciaire [ f ] ; | คำพิพากษาคดี | [khamphiphāksā khadī] (n, exp) EN: judgement = judgment (Am.) | คำพิพากษาเกี่ยวกับทรัพย์ | [khamphiphāksā kīokap sap] (n, exp) EN: judgement in rem = judgment in rem (Am.) | คำพิพากษาเกี่ยวกับบุคคล | [khamphiphāksā kīokap bukkhon] (n, exp) EN: judgement in personam = judgment in personam (Am.) | คำพิพากษาประหารชีวิต | [khamphiphāksā prahānchīwit] (n, exp) EN: death sentence | คำพิพากษาถึงที่สุด | [khamphiphāksā theung thīsut] (n, exp) EN: final judgement = final judgment (Am.) FR: décision finale [ f ] | กลับคำพิพากษา | [klap khamphiphāksā] (v, exp) EN: reverse a judgment | พิพากษา | [phiphāksā] (v) EN: deliver judgement ; judge ; give a decision ; decide ; sentence ; bring in verdict FR: juger ; rendre le verdict ; rendre le jugement ; adjuger | พิพากษาให้จำเลยชนะ | [phiphāksā hai jamloēi chana] (v, exp) EN: decide in favour of the defendant | พิพากษาให้ปล่อย | [phiphāksā hai plǿi] (v, exp) EN: acquit | พิพากษาคดี | [phiphāksā khadī] (v, exp) EN: render judgement ; render judgment (Am.) | พิพากษาลงโทษ | [phiphāksā longthōt] (v, exp) EN: convict | พิพากษาประหารชีวิต | [phiphāksā prahānchīwit] (v, exp) EN: sentence to death FR: condamner à mort | พิพากษายืน | [phiphāksā yeūn] (v, exp) EN: uphold | พิพากษายกฟ้อง | [phiphāksā yokføng] (v, exp) EN: dismiss a case | ผู้ช่วยผู้พิพากษา | [phūchūay phūphiphāksā] (n, exp) EN: judge trainee | ผู้พิพากษา | [phūphiphāksā] (n) EN: judge ; magistrate ; jurist FR: juge [ m ] ; magistrat [ m ] | ผู้พิพากษาในระบบศาล | [phūphiphāksā nai rabop sān] (n, exp) EN: judiciary | ผู้พิพากษาศาลแขวง | [phūphiphāksā sān khwaēng] (n, exp) EN: magistrate | ผู้พิพากษาสมทบ | [phūphiphāksā somthop] (n, exp) EN: associate judge | ประกาศคำพิพากษา | [prakāt khamphiphāksā] (v, exp) EN: pronounce a judgement | ถูกพิพากษาให้จำคุกตลอดชีวิต | [thūk phiphāksā hai jamkhuk taløt chīwit] (v, exp) EN: be sentenced to life imprisonment | ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย | [thūk phiphāksā hai pen bukkhon lomlalāi] (v, exp) EN: be adjudged bankrupt | ถูกพิพากษาประหารชีวิต | [thūk phiphāksā prahānchīwit] (v, exp) EN: be sentenced to death | ต้องคำพิพากษา | [tǿng khamphiphāksā] (v, exp) EN: be sentenced | ต้องคำพิพากษาให้จำคุก | [tǿng khamphiphāksā hai jamkhuk] (v, exp) EN: be sent to prison |
| Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html | precedent | (n) คำพิพากษาในคดีก่อน ซึ่งนำมาเป็นมาตรฐานในการตัดสินคดีต่อๆไป |
| apparitor | (n) ผู้ช่วยผู้พิพากษาในศาล | adjudicate in | (phrv) ตัดสิน, See also: พิพากษา, Syn. arbitrate in | adjudicate on | (phrv) ตัดสิน, See also: พิพากษา, Syn. arbitrate on | bench | (n) ผู้พิพากษา, Syn. judge | bring in a verdict | (idm) ตัดสิน, See also: พิพากษา | chief justice | (n) ผู้พิพากษาสูงสุด | doom to | (phrv) (ชะตา) กำหนดให้, See also: ตัดสินให้, พิพากษาให้, Syn. foredoom to, sentence to | death warrant | (n) คำสั่งประหารชีวิต, See also: คำพิพากษาให้ประหาร | decision | (n) คำพิพากษา, See also: คำตัดสิน, การพิพากษา, Syn. judgment | decree | (n) พระราชกฤษฎีกา, See also: กฎ, ข้อบังคับ, พระราชกฤษฎีกา, คำพิพากษา, Syn. command, dictum, edict, order, proclaimation | decree | (vi) พิพากษา, See also: ตัดสินชี้ขาด, ตัดสิน, บัญชา, Syn. command, proclaim, order | decree | (vt) พิพากษา, See also: ตัดสินชี้ขาด, ตัดสิน, บัญชา, Syn. command, proclaim, order | decree absolute | (n) คำสั่งศาลให้หย่า, See also: คำพิพากษาให้หย่า | doom | (n) คำพิพากษา, See also: คำตัดสิน, Syn. condemnation, judgement | eschatology | (n) คำสอนในศาสนาที่เกี่ยวกับวิญญาณของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับความตาย การพิพากษานรกสวรรค์, See also: คำสอนในศาสนาที่เกี่ยวกับวิญญาณของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับความตาย การพิพากษานรกสวรรค์ | gavel | (n) ค้อนเล็กสำหรับทุบโต๊ะของผู้พิพากษาในศาล, See also: ค้อนเล็กที่ใช้ในการประมูล, Syn. mallet, maul | habeas corpus | (n) หมายศาลที่เรียกตัวบุคคลให้มาปรากฏต่อหน้าผู้พิพากษาหรือศาล | judge | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Syn. arbiter, justice, magistrate | judgement | (n) พิพากษา, See also: การตัดสินความ, การพิจารณาคดี, Syn. verdict, ruling, decree | judgment | (n) การพิพากษา, See also: การตัดสินความ, การพิจารณาคดี, Syn. judgement, verdict, ruling | judiciary | (n) คณะตุลาการ, See also: คณะผู้พิพากษา | justice | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Ant. judge, magistrate | lictor | (n) ผู้ที่ทำหน้าที่ติดตามผู้พิพากษาในสมัยโรมันโบราณ | magistrate | (n) ผู้พิพากษา, Syn. judge | magistratical | (adj) เกี่ยวกับผู้พิพากษา | open verdict | (n) คำพิพากษาของศาลที่ว่าสาเหตุของการตายไม่ทราบแน่ชัด | pass | (vt) ตัดสิน, See also: พิพากษา | praetor | (n) ผู้พิพากษาสมัยกรุงโรมโบราณ | pretor | (n) ผู้พิพากษาสมัยกรุงโรมโบราณ, See also: ขุนนางผู้ปกครองคนหนึ่งของกรุงโรม, Syn. praetor | pronounce against | (phrv) ตัดสิน, See also: พิพากษา, Syn. pronounce for | reverse | (vt) กลับคำพิพากษา, See also: ยกเลิกคำสั่งเดิม, Syn. countermand, quash, overrule | rule | (vt) ตัดสิน, See also: พิพากษา, ชี้ขาด, Syn. judge, decide | Second Advent | (n) การจุติอีกครั้งของพระเยซูเพื่อพิพากษามนุษย์, Syn. Parousia, Second Coming | sentence | (n) การตัดสิน, See also: การพิพากษา, การชี้ขาด, Syn. decree, decision, edict, judgement | sentence | (vt) พิพากษา, See also: ตัดสิน, ตัดสินความ, ชี้ขาด, ลงความเห็น, Syn. doom, fine, penalize, punish | sentence to | (phrv) พิพากษา, See also: ตัดสินให้ | take before | (phrv) นำขึ้นศาล, See also: นำไปพิพากษา, Syn. bring before | verdict | (n) คำตัดสินของคณะลูกขุน, See also: คำพิพากษา, คำตัดสินสุดท้าย, Syn. judgement, finding |
| aedile | (อี' ๆ ดล์) n. ผู้พิพากษาในสมัยโรมัน (edile) | apparitor | (อะพาร์'ริเทอะ) n. จ่าศาล, ผู้ช่วยผู้พิพากษาในศาล | archon | (อาร์'คอน) n. หัวหน้าผู้พิพากษาในกรุงเอเธนส์สมัยโบราณ -archonship n. | assessor | (อะเซส'เซอะ) n. ผู้ประเมิน, ที่ปรึกษาหรือผู้ช่วยผู้พิพากษา, ผู้ประเมินทรัพย์สินหรืออัตราภาษี. -assessorial adj. | assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า | beak | (บีค) n. จะงอย, ปากนก, ปากกา, ส่วนที่คล้ายจะงอบปาก, จมูก, ผู้พิพากษา, ครู, See also: beaked adj., Syn. bill, nib, neb | bench | (เบนชฺ) { benched, benching, benches } n. ม้านั่ง, บัลลังก์ (ตุลาการ) , ผู้พิพากษา, ศาล, ม้านั่งยาวสำหรับหลายคนนั่ง vt. วาง (ม้านั่ง) ตั้งไว้, วางแสดง, ทำให้นั่งอยู่ที่นั่ง | cadi | (คา'ดี, เค'ดี) n. ผู้พิพากษาในชุมชนมุสลิม, ดะโต๊ะ, Syn. kadi | chief justice | n. หัวหน้าผู้พิพากษา, อธิบดีศาล, See also: chiefjusticeship n. | decree | (ดีครี') n. คำสั่ง, คำบัญชา, คำพิพากษา, พระราชกฤษฎีกา, ประกาศิตของสวรรค์ v. สั่ง, บัญชา, พิพากษา, ประกาศใช้กฎหมาย | dictum | (ดิค'ทัม) n. สุภาษิต, คำกล่าว, คำแถลง, ข้อคิดเห็นของผู้พิพากษา -pl. dicta, dictums | docket | (ดอค'คิท) n. รายการคดีและคำพิพากษาของศาล, รายการเรื่องราวการพิจารณาโดยคณะกรรมการสภา, ใบเซ็นของสินค้า, ใบปะหน้า, หนังสือแสดงการเสียภาษีศุลกากร, บัตร, สาระสำคัญ. vt. นำเข้ารายการพิจารณาคดีของศาล, เขียนใบปะหน้า, สรุปสาระสำคัญ | doom | (ดูม) n. เคราะห์ร้าย, ชะตาขาด, ความตาย, ความหายนะ, คำพิพากษา, วาระสุดท้าย, วาระที่โลกาวินาศ vi. กำหนด, ถึงวาระ, ประณาม, พิพากษา, ชี้ชะตากรรม, Syn. fate, adverse fate | doomsday | (ดูมซ'เดย์) n. วันโลกาวินาศ, วาระสุดท้าย, วันที่พระเจ้าพิพากษามนุษย์ทั้งหลายในโลก, Syn. domesday, Judgment Day | fiat | (ไฟ'เอิท, ไฟ'แอท) n. คำสั่ง, พระราชกฤษฎีกา, พระบรมราชโองการ, คำพิพากษา vt. ตี, ชก, ต่อย | finding | (ไฟ'ดิง) n. การค้นหา, การตรวจสอบ, การค้นพบ, สิ่งที่ค้นพบ, คำพิพากษา, คำวินิจฉัย, See also: findings n., pl. เครื่องมือช่าง, เครื่องมือเครื่องใช้เล็ก ๆ น้อย, Syn. result, answer, verdict | habeas corpus | n. หมายศาลที่เรียกตัวบุคคลให้มาปรากฏต่อหน้าผู้พิพากษาหรือศาล | hakim | (ฮา'คิม) n. คนที่ฉลาด, นักปราชญ์, บัณฑิต, แพทย์, ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้พิพากษา | judg | (e) ment Day n. การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก | judge | (จัดจฺ) { judged, judging, judges } n. ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสิน v. พิพากษา, ตัด, สิน, ชี้ขาด, วินิจฉัย, เดา, ประมาณ, ปกครอง., See also: judgeable adj. ดูjudge judger n. ดูjudge judgeship n. ดูjudge | judgement | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | judgment | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | judicator | (จูดะเค'เทอะ) n. ผู้พิพากษา, ผู้ตัดสิน., See also: judicatorial adj. ดูjudicator | judicature | (จู'ดะเคเชอะ) n. การพิจารณาอรรถคดีตามกฎหมาย, ผู้พิพากษาทั้งหลาย, อำนาจในการพิพากศาอรรถคดี, ศาลยุติธรรม, กฎหมาย | judicial | (จูดิช'เชิล) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีตามกฎหมาย, เกี่ยวกับศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับผู้พิพากษา, เกี่ยวกับกฎหมาย, ซึ่งเกิดจากพระผู้เป็นเจ้า, Syn. legal, juridical | judiciary | (จูดิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีของศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับผู้พิพากษา n. การพิจารณาคดีตามกฎหมาย, ศาลยุติธรรม, ระบบศาล, การะทรวงยุติธรรม, ผู้พิพากษาทั้ง, หลาย, Syn. legal, discerning | jurist | (จัว'ริสทฺ) n. นักกฎหมาย, ทนายความผู้พิพากษา, ผู้เชี่ยวชาญกฎหมาย, ผู้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับกฎหมาย -S.jurisprudent | magistracy | (แมจ'จิสทราซี) n. ตำแหน่งหรืออำนาจหน้าที่ของพนักงานปกครองหรือผู้พิพากษา, กลุ่มผู้พิพากษา, กลุ่มพนักงานปกครอง. | magistral | (แมจ'จิสทรัล) adj. เฉพาะโอกาส, สำคัญ, เกี่ยวกับพนักงานปกครอง, เกี่ยวกับผู้พิพากษา | magistrate | (แมจ'จิสเทรท) n. ผู้พิพากษา, พนักงานผู้ปกครอง, See also: magistrateship n. | master | (มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ | mercy | (เมอ'ซี) n. ความเมตตา, ความกรุณาปรานี, ความอนุเคราะห์, อำนาจของผู้พิพากษาในการให้อภัยโทษหรือลดหย่อนผ่อนโทษ, พร -Phr. (at the mercy ขึ้นอยู่กับ อยู่ภายใต้อำนาจของ) | open verdict | คำพิพากษาของศาลที่ไม่ตายตัว | praetor | (พรี'เทอะ) n. ผู้พิพากษาหรือขุนนางผู้ปกครองของกรุงโรมโบราณ., See also: praetorship n. | pretor | (พรี'เทอะ) n. ผู้พิพากษาหรือขุนนางผู้ปกครองของกรุงโรมโบราณ., See also: praetorship n. | reversal | (รีเวอ'เซิล) n. การพลิกกลับ, การกลับกัน, ความตรงกันข้าม, การถอยหลัง, การกลับคำพิพากษา, ความเคราะห์ร้าย, ความปราชัย, Syn. reverse | revert | (รีเวิร์ท') vi. กลับสู่สภาพเดิม, คืนสู่, คืนกลับ vt. ทำให้กลับกัน, กลับคำพิพากษา, หมุนกลับ, กลับทิศทาง, See also: revertibility n. revertible adj. revertive adj., Syn. regress, return | sentence | (เซน'เทินซฺ) n. ประโยค, การตัดสิน, การตัดสินลงโทษ, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์, คำคม, สุภาษิต. vt. ตัดสิน, พิพากษา., See also: sentencer n., Syn. judgment, opinion, verdict | tribunal | (ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี |
| adjudge | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, ชี้ขาด | beak | (n) จะงอยปาก, ปากนก, จมูก, ครู, ผู้พิพากษา | decree | (n) กฎ, พระราชกฤษฎีกา, คำสั่ง, คำบัญชา, ประกาศิต, คำพิพากษา | decree | (vt) ประกาศพระราชกฤษฎีกา, สั่ง, บัญชา, พิพากษา | doom | (n) คำพิพากษา, คำตัดสิน, เคราะห์กรรม, ความหายนะ, ความตาย, ชะตาขาด | doom | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, ลงโทษ, ชี้ชะตา | fiat | (n) คำสั่ง, คำพิพากษา, คำตัดสิน, พระบรมราชโองการ | judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ | judge | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, พิจารณา, วิจารณ์, ลงความเห็น | judgment | (n) การตัดสิน, การพิจารณา, คำตัดสิน, คำพิพากษา | judiciary | (n) ศาล, ตุลาการ, ผู้พิพากษา, การพิจารณาคดี | jurist | (n) นักกฎหมาย, ทนายความ, ผู้พิพากษา | magistracy | (n) คณะเจ้าหน้าที่, คณะผู้พิพากษา, กลุ่มพนักงานปกครอง | magistrate | (n) เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร, ผู้พิพากษา, นักปกครอง | sentence | (n) คำตัดสิน, ประโยค, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์ | sentence | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, ลงโทษ | tribunal | (n) ศาล, บัลลังก์พิพากษา | verdict | (n) คำตัดสิน, คำชี้ขาด, คำพิพากษา |
| attachment | (n) การอายัดทรัพย์เพื่อประกันการชำระหนี้ตามคำพิพากษา | convict | พิพากษาว่ามีความผิด | dicision | (n, vi) การตัดสินใจ, คำพิพากษา, การตัดสินใจ, สิ่งที่ได้ตัดสินใจ, ข้อตกลงใจ, ญัตติ, ความแน่วแน่ VT. ตัดสินใจ | garnishment | (n) การอายัดทรัพย์สินของลูกหนี้/จำเลยไว้จนกว่าศาลจะพิพากษา | ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html | ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
| 判決 | [はんけつ, hanketsu] (n) คำพิพากษา | 言い渡す | [いいわたす, iiwatasu] (vt) สั่ง, พิพากษา |
| Richter | (n) |der, pl. Richter| ผู้พิพากษา | Urteil | (n) |das, pl. Urteile| การพิพากษา, การตัดสิน | Richter | (n) |der, pl. Richter| ผู้พิพากษา เช่น Wie der Richter mit dieser Situation umgehen wird, ist noch unklar. Grundsätzlich wäre es sinnvoll, wenn er den Anbieter verpflichten könnte, dem Anwender die Schnittstelleninformationen offen zu legen. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |