(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา -demory'- มีน้อย ระบบจึงเลือกคำใหม่ให้โดยอัตโนมัติ: memory) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | memory lapse | (n, phrase) อาการหลงๆลืมๆ, ความจำเสื่อม เช่น Do you worry that, as you're getting older, these memory lapses are happening more often? | memory stick | (n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory | flash memory | (n) หน่วยความจำประเภทสารกึ่งตัวนำชนิดหนึ่ง ที่สามารถลบข้อมูลแล้วเขียนใหม่ได้ และสามารถคงข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง | CompactFlash memory | (n, uniq) หรือ CF memory เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ที่พัฒนาโดยสมาคม CompactFlash (http://www.compactflash.org/) และผลิตจำหน่ายโดยผู้ผลิตหลายราย หลายยี่ห้อ, See also: flash memory, memory stick |
| memory | (n) ความจำ, See also: ความทรงจำ, ระบบความจำ, Syn. recollection, remembrance | memory | (n) การจำได้, See also: การระลึกถึง, Syn. recall, retention, remembrance, Ant. forgetfulness | memory | (n) หน่วยความจำ (ในคอมพิวเตอร์), See also: ความจุของข้อมูล, Syn. memory bank | memory lane | (n) ช่วงเวลาที่นึกถึงหรือจดจำสิ่งในอดีต |
| memory | (เมม'มะรี) n. ความจำ, ความทรงจำ, บุคคลหรือสิ่งที่จำไว้, หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ pl. memories | memory map | แผนที่แสดงการใช้หน่วยความจำหมายถึงแผนที่หรือแผนผังที่แสดงถึงการใช้หน่วยความจำส่วนที่เรียกว่า แรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะคล้ายกับแผนที่แสดงที่ตั้งจังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละประเทศนั้นเอง สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไปแล้ว ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องนี้เลยก็ได้ | memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) | memory unit | หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่ | acoustic memory | หน่วยความจำเชิงเสียงเป็นหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้สายหน่วงเสียง (acoustic delay line) ซึ่งใช้ปรอทหรือ ควอร์ทซ์ (quartz) เป็นสื่อ | auxiliary memory | หน่วยความจำช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ | bubble memory | หน่วยความจำแบบฟองหมายถึง หน่วยความจำชนิดหนึ่งที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ใด้แม้ว่าไฟฟ้าจะดับไปแล้วก็ตาม นิยมใช้กันมากสำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) หรือคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ที่ไม่มีเนื้อที่มากพอที่จะมีฮาร์ดดิสก์ได้ | ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก | conventional memory | หน่วยความจำปกติใช้เรียก 640 กิโลไบต์แรกของหน่วยความจำ (RAM) ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม และเครื่องเลียนแบบไอบีเอ็ม (IBM compatibles) ที่กำหนดว่าต้องมีหน่วยความจำอย่างน้อย 640 เค (เป็นมาตรฐานที่กำหนดไว้นานแล้ว) | expanded memory | หน่วยความจำส่วนขยายหมายถึง หน่วยความจำที่เพิ่มเข้ามาภายหลัง วิธีเพิ่มหน่วยความจำแบบนี้คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบดอส นิยมใช้อยู่ก่อนจะมีการนำชิป (chip) 80286 มาใช้ หน่วยความจำนี้เป็นหน่วยความจำต่างหากที่บริษัทที่ผลิตคอมพิวเตอร์ทำเป็นรายการแถมให้ เพิ่มจากหน่วยความจำ 640 K ที่ใช้อยู่เดิม ไม่ใช่นำหน่วยความจำเดิมมาทำให้ใหญ่ขึ้น เป็นหน่วยความจำคนละหน่วย แต่คอมพิวเตอร์สามารถเรียกข้อมูลจากหน่วยความจำนี้ได้รวดเร็ว จนทำให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือนกับว่าเป็นหน่วยความจำเดียวกัน |
| memory | (n) ชื่อเสียง, ความทรงจำ, ความหลัง, อนุสรณ์ |
| | | | | | การจำ | [kān jam] (n) EN: memory | การระลึกถึง | [kān raleuk theung] (n) EN: memory FR: mémoire [ f ] | เมมโมรี่ | [mēmmōrī] (n) EN: memory FR: mémoire [ f ] |
| | | memory | (n) something that is remembered | memory | (n) the cognitive processes whereby past experience is remembered, Syn. remembering | memory | (n) the power of retaining and recalling past experience, Syn. retention, retentiveness, retentivity | memory | (n) an electronic memory device, Syn. storage, store, computer storage, computer memory, memory board | memory | (n) the area of cognitive psychology that studies memory processes | memory chip | (n) a RAM microchip that can be plugged into a computer to provide additional memory | memory device | (n) a device that preserves information for retrieval, Syn. storage device | memory image | (n) a mental image of something previously experienced | memory picture | (n) a memory image that is similar to a visual perception |
| Memory | n.; pl. Memories [ OE. memorie, OF. memoire, memorie, F. mémoire, L. memoria, fr. memor mindful; cf. mora delay. Cf. Demur, Martyr, Memoir, Remember. ] [ 1913 Webster ] 1. The faculty of the mind by which it retains the knowledge of previous thoughts, impressions, or events. [ 1913 Webster ] Memory is the purveyor of reason. Rambler. [ 1913 Webster ] 2. The reach and positiveness with which a person can remember; the strength and trustworthiness of one's power to reach and represent or to recall the past; as, his memory was never wrong. [ 1913 Webster ] 3. The actual and distinct retention and recognition of past ideas in the mind; remembrance; as, in memory of youth; memories of foreign lands. [ 1913 Webster ] 4. The time within which past events can be or are remembered; as, within the memory of man. [ 1913 Webster ] And what, before thy memory, was done From the begining. Milton. [ 1913 Webster ] 5. Something, or an aggregate of things, remembered; hence, character, conduct, etc., as preserved in remembrance, history, or tradition; posthumous fame; as, the war became only a memory. [ 1913 Webster ] The memory of the just is blessed. Prov. x. 7. [ 1913 Webster ] That ever-living man of memory, Henry the Fifth. Shak. [ 1913 Webster ] The Nonconformists . . . have, as a body, always venerated her [ Elizabeth's ] memory. Macaulay. [ 1913 Webster ] 6. A memorial. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] These weeds are memories of those worser hours. Shak. [ 1913 Webster ] Syn. -- Memory, Remembrance, Recollection, Reminiscence. Memory is the generic term, denoting the power by which we reproduce past impressions. Remembrance is an exercise of that power when things occur spontaneously to our thoughts. In recollection we make a distinct effort to collect again, or call back, what we know has been formerly in the mind. Reminiscence is intermediate between remembrance and recollection, being a conscious process of recalling past occurrences, but without that full and varied reference to particular things which characterizes recollection. “When an idea again recurs without the operation of the like object on the external sensory, it is remembrance; if it be sought after by the mind, and with pain and endeavor found, and brought again into view, it is recollection.” Locke. [ 1913 Webster ] To draw to memory, to put on record; to record. [ Obs. ] Chaucer. Gower. [ 1913 Webster ]
|
| 内存 | [nèi cún, ㄋㄟˋ ㄘㄨㄣˊ, 内 存 / 內 存] memory; random access memory; RAM (computer); internal storage #4,755 [Add to Longdo] | 存储 | [cún chǔ, ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ, 存 储 / 存 儲] memory; storage #5,345 [Add to Longdo] | 记忆力 | [jì yì lì, ㄐㄧˋ ㄧˋ ㄌㄧˋ, 记 忆 力 / 記 憶 力] memory (power) #14,372 [Add to Longdo] | 记性 | [jì xìng, ㄐㄧˋ ㄒㄧㄥˋ, 记 性 / 記 性] memory #18,202 [Add to Longdo] | 存储器 | [cún chǔ qì, ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 存 储 器 / 存 儲 器] memory (unit) #35,212 [Add to Longdo] | 记忆广度 | [jì yì guǎng dù, ㄐㄧˋ ㄧˋ ㄍㄨㄤˇ ㄉㄨˋ, 记 忆 广 度 / 記 憶 廣 度] memory span [Add to Longdo] |
| | 記念(P);紀念 | [きねん, kinen] (n, vs) commemoration; memory; (P) #465 [Add to Longdo] | 記憶 | [きおく, kioku] (n, vs) (1) memory; recollection; remembrance; (2) storage; (P) #2,119 [Add to Longdo] | 解放 | [かいほう, kaihou] (n, vs) (1) release; unleashing; liberation; emancipation; setting free; (2) { comp } deallocation (of computer memory); (P) #2,688 [Add to Longdo] | 覚え | [おぼえ, oboe] (n) memory; sense; experience; (P) #4,795 [Add to Longdo] | メモリー(P);メモリ | [memori-(P); memori] (n) { comp } memory; (P) #9,519 [Add to Longdo] | 格納 | [かくのう, kakunou] (n, vs) (1) storage; housing for equipment and machines; (2) { comp } putting into computer memory #12,463 [Add to Longdo] | 覚える(P);憶える | [おぼえる, oboeru] (v1, vt) (1) to memorize; to memorise; to commit to memory; to learn by heart; to bear in mind; to remember; (2) (覚える only) to learn; to pick up; to acquire; (3) (覚える only) to feel; (4) (覚える only) to think; to regard; (P) #14,800 [Add to Longdo] | CD−ROM;CDROM | [シーディーロム, shi-dei-romu] (n) compact disk read-only memory; CD-ROM [Add to Longdo] | DMA | [ディーエムエー, dei-emue-] (n) { comp } direct memory access; DMA [Add to Longdo] | EEPROM | [イーイープロム, i-i-puromu] (n) { comp } electrically erasable programmable read-only memory; EEPROM; E2PROM [Add to Longdo] |
| エクステンドメモリ | [えくすてんどめもり, ekusutendomemori] extended memory [Add to Longdo] | エクステンドメモリプロック | [えくすてんどめもりぷろっく, ekusutendomemoripurokku] extended memory block (EMB) [Add to Longdo] | エクステンドメモリ仕様 | [エクステンドメモリしよう, ekusutendomemori shiyou] extended memory specification (XMS) [Add to Longdo] | キャッシュメモリ | [きゃっしゅめもり, kyasshumemori] cache (memory) [Add to Longdo] | グローバルメモリプール | [ぐろーばるめもりぷーる, guro-barumemoripu-ru] global memory pool [Add to Longdo] | コンフィギュレーションメモリ | [こんふぃぎゅれーしょんめもり, konfigyure-shonmemori] configuration memory [Add to Longdo] | シーディーロム | [しーでいーろむ, shi-dei-romu] compact disk read-only memory (CD-ROM) [Add to Longdo] | シェアードメモリ | [しえあーどめもり, shiea-domemori] shared memory [Add to Longdo] | システムメモリ | [しすてむめもり, shisutemumemori] system memory [Add to Longdo] | スタティックメモリ | [すたていっくめもり, sutateikkumemori] static memory [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |