ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -carll-, *carll* |
(Few results found for carll automatically try call) |
|
| call pay | (phrase) การจ่ายค่าจ้างเมื่อลูกจ้างมารายงานตัวเพื่อทำงาน |
| genetically | (adv) ด้วยกลไกทางพันธุกรรม เช่น scientific and consumer concerns about genetically engineered and modified foods | collect call | (n) โทรศัพท์เรียกเก็บเงินปลายทาง |
| call | (n) การมาเยี่ยม, Syn. visit, visiting | call | (n) การเรียก, See also: การตะโกนเรียก, Syn. yell, cry, whoop | call | (n) การสนทนาทางโทรศัพท์ | call | (n) ความต้องการ, Syn. demand | call | (vt) โทรศัพท์ไปหา, Syn. telephone, call up, ring, phone | call | (vi) โทรศัพท์ไปหา | call | (vt) เรียก, See also: ร้องเรียก, ตะโกนเรียก | call | (vi) เรียก, See also: ร้องเรียก, ตะโกนเรียก, Syn. shout, call out, cry out | call | (vt) เรียกว่า | call | (n) สัญญาณ, Syn. signal |
| call | (คอล) { called, calling, calls } vt., vi., n. (การ) เรียก, ร้องเรียก, ร้องขอ, เรียกให้ตื่น, อ่านออกเสียง, เข้าใจว่า, ถือว่า, ให้ชื่อ, มีชื่อ, มีนามว่า, เรียกไพ่, โทรศัพท์, สั่ง, ออกคำสั่ง, ไปเยี่ยม, แวะรับ, ตำหนิ, เลียนแบบ, Syn. exclaim เรียกเป็นคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้โอนย้ายการทำงานชั่วคราวจากโปรแกรมหลัก main program ที่ทำอยู่ ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram เป็นการชั่วคราว เมื่อทำงาน ในโปรแกรมย่อยเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลที่ได้กลับไปทำในโปรแกรมหลักต่อ โดยจะกลับไปเริ่มที่คำสั่งถัดจากคำสั่ง "call" นั้น | call girl | n. นางทางโทรศัพท์, โสเภณี | call loan | n. การยืมที่ต้องใช้คืนเมื่อถูกเรียกให้ใช้คืน | call number | n. หมายเลขหิ้งหนังสือ | call-in | (คอล'อิน) n. การสนทนาทางโทรศัพท์เพื่อกระจายเสียง adj. เกี่ยวกับการสนทนาทางโทรศัพท์ที่กระจายเสียง | callboy | (คอล'บอย) n. พนักงานชายบริการในโรงแรม, พนักงานคอยเรียกผู้แสดงขึ้นเวที | caller | (คอล'เลอะ) n. คนร้องเรียก, สิ่งเรียก, สิ่งที่เรียกร้อง, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้โทรศัพท์, ผู้เรียกประชุม | calligraphy | (คะลิก'กระพี) n. ลายมือดี, ลายมือสวย, การคัดลายมือ, ศิลปะการคัดลายมือ., See also: calligrapher n. ผู้มีลายมือดี calligraphist n. ผู้มีลายมือดี calligraphic adj. ลายมือดี calligraphical adj. ลายมือดี | calling | (คอล'ลิง) n. การเรียกร้อง, อาชีพ, การเยี่ยม, สิ่งดลใจ, การประชุม, Syn. vocation | calling card | n. นามบัตร, บัตรผู้มาเยี่ยม., Syn. visiting card |
| call | (vt) ร้อง, ร้องเรียก, เรียกหา, มาหา, เยี่ยมเยียน, โทรศัพท์ | CALL call girl | (n) นางทางโทรศัพท์ | caller | (n) ผู้ขานชื่อ, ผู้เรียก, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้มาหา | calling | (n) อาชีพ, การเรียกร้อง, การเยี่ยมเยียน, การไปมาหาสู่ | callisthenics | (n) การบริหารกาย, การเพาะกาย | callous | (adj) แข็ง, ด้าน, กระด้าง, ใจแข็ง, ใจดำ, ไม่เห็นใจ | callow | (adj) ยังเล็ก, ยังหนุ่ม, ยังเด็ก, อ่อนหัด | automatically | (adv) ด้วยตนเอง, อย่างอัตโนมัติ | botanically | (adv) ในทางพฤกษศาสตร์ | characteristically | (adv) โดยมีลักษณะพิเศษ, โดยมีลักษณะเฉพาะ, โดยมีคุณสมบัติพิเศษ |
| call | ๑. เรียก๒. การเรียก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | call | การเรียกประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | call | เบี้ยพีแอนด์ไอ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | call | ๑. การทวงถาม (ให้ชำระหนี้) (ปพพ.)๒. การเรียก (ให้ชำระหนี้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | call | ๑. เรียก๒. การเรียก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | call back | การกลับไปติดต่อ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | call by name | เรียกด้วยชื่อ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | call by need | เรียกตามความต้องการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | call by reference | เรียกโดยอ้างอิง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | call by value | เรียกด้วยมูลค่า [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
| Call centers | ศูนย์ประสานงานบริการ [TU Subject Heading] | Call number | เลขเรียกหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Call number | เลขเรียกหนังสือ, เลขเรียกหนังสือ, Example: หมายถึง รหัส หรือ สัญลักษณ์ที่บรรณารักษ์กำหนดขึ้นสำหรับระบุถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง หรือวัสดุห้องสมุดแต่ละชิ้น เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดใช้เป็นจุดเข้าถึงวัสดุของห้องสมุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นเหมือนบ้านเลขที่ หรือตำแหน่งของหนังสือแต่ละชื่อเรื่องที่มีอยู่ในห้องสมุดนั่นเอง เมื่อต้องการหาหนังสือชื่อเรื่องนั้น โดยสืบค้นจากบัตรรายการ หรือสืบค้นจากฐานข้อมูลห้องสมุด ได้ทราบถึงเลขเรียกหนังสือ จึงใช้เลขเรียกหนังสือนั้น หาหนังสือที่ต้องการว่าอยู่ที่ชั้นหนังสือใดของห้องสมุด นอกจากนี้ ใช้ในการสื่อสารกับบรรณารักษ์ในงานบริการจ่ายรับหนังสือ บริการตอบคำถาม ฯลฯ และให้บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์ในการจัดหา การให้บริการ การจัดเก็บ และการสำรวจวัสดุห้องสมุด เนื่องจากใช้เลขเรียกหนังสือเป็นการอ้างถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่องนั่นเอง <p>เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ เลขหมู่ และเลขผู้แต่ง <p>1. เลขหมู่ (Classification number) เป็นรหัสหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ ได้มาจากระบบการจัดหมวดหมู่ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเป็นระบบการจัดหมวดหมู่ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง <p> ตัวอย่าง H (ระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน) หมายถึง เนื้อหาในสาขาสังคมศาสตร์ <p> 025.433 (ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้) หมายถึง เลขที่ใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> วพ หมายถึง รหัสเพื่อใช้แทนประเภทของหนังสือที่เป็นวิทยานิพนธ์ <p> สวทช. สก. 8 หมายถึง รหัสและเลขที่ใช้หนังสือที่ออกโดยสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเภทหนังสือทั่วไป <p> 2. เลขผู้แต่ง (Author number) หรือเลขหนังสือ (Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น แทนชื่อเต็มของผู้แต่งหรือรายการหลักในการลงรายการหนังสือ มักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรผสมกับตัวเลข โดยใช้อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุลของผู้แต่ง (กรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ) ที่เป็นรายการหลัก ผสมกับตัวเลขที่กำหนดให้สำหรับผู้แต่งแต่ละคนตามคู่มือสำหรับกำหนดเลขประจำผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง 025.433 อ555ค <p> เลขเรียกหนังสือนี้ มาจากหนังสือชื่อ "คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน" เขียนโดย อัมพร ทีขะระ จึงได้เลขหมู่เป็น 025.433 ส่วน อ555 คือ หมายเลขผู้แต่งสำหรับ อัมพร ส่วน ค หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง คือ คู่มือ <p> การกำหนดเลขผู้แต่ง ช่วยให้หนังสือแต่ละเล่มมีเลขเรียกหนังสือที่ไม่ซ้ำกัน กรณีที่หนังสือมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน และมีการกำหนดเลขหมู่ออกมาเหมือนกัน จากตัวอย่าง ข้างต้น ถ้าห้องสมุดมีการจัดซื้อหนังสือเกี่ยวกับการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เข้ามาโดยผู้แต่งที่เขียนหลายๆ คน เลขผู้แต่งจะเป็นตัวแสดงให้เห็นความแตกต่างของผู้เขียนแต่ละคน <p> ตัวอย่าง ห้องสมุดมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยมีการกำหนดชื่อเรื่องที่เหมือนกัน หรือคล้ายกัน ได้แก่ <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย กมลา รุ่งอุทัย จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ก138 <p> การจัดหมู่หนังสือระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย บุญถาวร หงสกุล จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 บ455 <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย ระเบียบ สุภวิรี จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ร235 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย วิลัย อัคคอิชยา จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ว716 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย อัมพร ทีขะระ จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 อ555 <p> ดังนั้น เมื่อเรียงเลขเรียกหนังสือ จะเห็นความแตกต่างของเลขผู้แต่ง ภายใต้เลขหมู่หนังสือเดียวกัน <p> 025.433 ก138 <p> 025.433 บ455 <p> 025.433 ร235 <p> 025.433 ว716 <p> 025.433 อ555 <p> 3. สัญลักษณ์อื่นๆ ที่ประกอบอยู่ในเลขเรียกหนังสือ <p> 3.1 อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง กรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน แต่ใช้ชื่อเรื่องต่างกัน กรณี จะมีเลขหมู่ เหมือนกัน เลขผู้แต่ง เหมือนกัน จะทำให้เกิดความซ้ำของเลขเรียกหนังสือได้ จึงได้มีการกำหนดให้ใช้อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องใส่ไว้หลังเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> โฆษณาไทยสมัยแรก โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> โฆษณาคลาสลิค โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ 893 <p> โฆษณาไทย โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> 659.1 ในระบบการจัดหมู่ทศนิยมดิวอี้ หมายถึง การโฆษณา แต่เผอิญ เอนก นาวิกมูล แต่งหนังสือโดยใช้ชื่อว่า โฆษณา ขึ้นต้นอยู่หลายเรื่อง ถ้าจะให้เลขเรียกหนังสือ เป็น 659.1 อ893ฆ ก็จะซ้ำกันทั้งหมด ทั้งๆ ที่เป็นคนละชื่อเรื่องกัน จึงใส่ตัวอักษรอีกตัวหนึ่งเพื่อให้เกิดความแตกต่าง เช่น <p> 659.1 อ893ฆ โฆษณาไทยสมัยแรก <p> 659.1 อ893ฆค โฆษณาคลาสลิค <p> 659.1 อ893ฆษ โฆษณาไทย <p> 3.2 กำหนดสัญลักษณ์แทนประเภทของหนังสือ ส่วนมากใส่ไว้เหนือเลขหมู่ เช่น หมวดหนังสืออ้างอิง ใช้ตัว อ (คือ อ้างอิง สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาไทย) และ R หรือ Ref (คือ Reference สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ) <p> อ 495.913 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> อ PL4185 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> 3.3 สัญลักษณ์ระบุแทนปีที่พิมพ์ของหนังสือ ในกรณีที่หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่งคนเดียวกัน จัดพิมพ์ออกจำหน่ายมากกว่า 1 ครั้ง มักจะใส่ปีที่พิมพ์เพื่อให้ความแตกต่างและให้ทราบว่าเล่มใดมีความทันสมัยมากกว่ากัน โดยใส่ถัดจากเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2498 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2498 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2502 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2502 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2512 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2512 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2523 <p> 3.4 การกำหนดสัญลักษณ์บอกจำนวนซ้ำ กรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียว ปีพิมพ์เดียวกัน มากกว่า ๑ ฉบับ จะมีการกำหนดลำดับของจำนวนหนังสือแต่ละเล่มไว้ด้วย เป็น ฉ หมายถึง ฉบับ (สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ C หมายถึง Copy (สำหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) เช่น <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีจำนวน ๕ ฉบับ มีเลขหมู่ เป็น <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.1 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.2 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.3 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.4 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.5 <p> 3.5 สัญลักษณ์บอกลำดับเล่มที่ของหนังสือ กรณีที่เป็นหนังสือชุด หรือมีหลายเล่มจบ ใช้อักษร ล. (หมายถึง เล่มที่ สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ ใช้ v. (หมายถึง volume สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) และกำหนดตัวเลขบอกลำดับที่เล่มของหนังสือไว้ถัดจากเลขผู้แต่ง หรือเลขปีที่พิมพ์ <p> สารานุกรมไทย ของ อุทัย สินธุสาร <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 1 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 2 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 3 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 4 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 5 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 6 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110313-CallNumber.JPG" width="640" higth="200" alt="Call number"> <p> ตัวอย่าง เลขเรียกหนังสือที่มีทั้งเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สัญลักษณ์อื่นๆ ที่กำหนดขึ้นเป็นเลขเรียกหนังสือเฉพาะคอลเลคชั่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Call price | ราคาเมื่อเรียกคืน [เศรษฐศาสตร์] | Call privilege | สิทธิพิเศษในการเรียกคืน [เศรษฐศาสตร์] | Callable capital | ทุนที่เรียกไถ่คืนได้ทันที [เศรษฐศาสตร์] | Calligraphy | การประดิษฐ์ตัวอักษร [TU Subject Heading] | Calliophis | งูปล้องหวาย [การแพทย์] | Calliophis Gracilis | งูปล้องหวายเทา [การแพทย์] | Calliophis Hughi | งูปล้องหวายหางแหวน [การแพทย์] |
| call | (n) ประชุม | call | (n) ข้อเรียกร้อง | Call back | (n, vi, vt, modal, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, org, uniq) Call back | Call back | (n, vi, vt, modal, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, org, uniq) Call back | call on | เรียกร้อง เช่น He called on the government to urgently help him. | call option | ออฟชั่นไถ่ถอน |
| | | เรียกตัว | (v) summon, See also: call someone to come, Ant. ส่งตัว, Example: ป.ป.ช. เรียกตัว พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และคุณหญิงพจมาน ชินวัตร มาให้ปากคำเรื่องหุ้น, Thai Definition: เรียกให้มา | โทร | (v) call, See also: telephone, phone, Syn. โทรศัพท์, ติดต่อ, Example: เธอโทรไปถามโรงพยาบาลหรือยังว่าหมอโรคกระดูกเข้าวันไหน, Thai Definition: ติดต่อสื่อสารถึงบุคคลลอื่นโดยใช้โทรศัพท์, Notes: (ปาก) | สู่ | (v) visit, See also: call on, drop in on, stop by, look someone up, Example: ฉันก็ไปหาไปสู่ยายกับตาอยู่เรื่อยๆ, Thai Definition: ไปเยี่ยม | ร้องเรียก | (v) call, Syn. เรียก, กู่เรียก, Example: บริเวณตลาดท่าช้างกำลังพลุกพล่าน แม่ค้าแม่ขายร้องเรียกลูกค้ากันเอ็ดอึง, Thai Definition: ส่งเสียงเรียกเพื่อให้มา | เยี่ยมเยียน | (v) visit, See also: call upon, Syn. เยือน, เยี่ยมเยือน, เยี่ยม, Example: คณะของกรุงเทพมหานครออกเดินทางไปตรวจสภาพและเยี่ยมเยียนประชาชนเกือบทุก 2-3 วัน, Thai Definition: ไปมาหาสู่กันเพื่อถามข่าวคราวหรือสารทุกข์สุกดิบ | แปรงล้างขวด | (n) callistemon lanceolatus DC, Syn. ต้นแปรงล้างขวด, Example: ชาวสวนกำลังลงแปรงล้างขวดไว้, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อพรรณไม้ในวงศ์ Myrtaceae ก้านเกสรตัวผู้เป็นฝอยสีแดงที่มีลักษณะเหมือนแปรง | แวะ | (v) stop, See also: call at, call on, drop in, break the journey, Example: บ้านหลังนี้เปรียบเสมือนศาลาประชาคม ที่ชาวบ้านพากันแวะเวียนมาพบปะสังสรรค์เสวนาปัญหาต่างๆ, Thai Definition: หยุดชั่วคราวระหว่างทาง | เรียก | (v) call, See also: shout, yell, hail, cry, Example: ผมเรียกจนแสบคอ เธอก็ยังไม่หันมา, Thai Definition: เปล่งเสียงดังเพื่อให้มาหรือเพื่อมุ่งหมายอย่างอื่น | เรียกร้อง | (v) call for, See also: demand, cry out for, make a demand for, require, Example: คนกรุงเทพฯ เรียกร้องให้รัฐบาลแก้ปัญหาจราจร, Thai Definition: แสดงความต้องการให้ให้หรือให้กระทำ | ขานชื่อ | (v) call out names during a roll call, See also: make a roll call, announce, Syn. เรียกชื่อ, Example: ทหารถูกขานชื่อทีละคนตามลำดับยศ |
| อาชีวะ | [āchīwa] (n) EN: trade ; occupation ; vocation ; profession ; career ; calling | อนาถา | [anāthā] (adv) EN: pitifully ; miserably ; tragically | อันธพาล | [anthaphān] (adj) EN: delinquent ; rascally ; wayward ; rough ; unruly; refractory ; recalcitrant ; social evil doer | อนุสรณ์ | [anusøn] (n) EN: remembrance ; commemoration ; memory ; recollection ; recalling ; souvenir FR: commémoration [ f ] ; souvenir [ m ] | บัตรหมาย | [batmāi] (n, exp) EN: official order ; call-up orders ; draft papers | บัตรเติมเงิน | [bat toēm ngoen] (n, exp) EN: calltime refill card; prepaid card ; top-up card FR: carte prépayée [ f ] ; carte rechargeable [ f ] | เบียดกรอ | [bīetkrø] (adv) EN: economically FR: frugalement ; chichement | เบ้อเร่อ | [boēroē] (adv) EN: hugely ; gigantically ; largely ; enormously ; immensely ; greatly ; mightily FR: largement ; grandement | บอกเลิก | [bøkloēk] (v) EN: cancel ; revoke ; abolish ; call off ; withdraw ; wipe out ; rescind ; denounce FR: annuler ; décommander ; dénoncer | ฉะฉาน | [chachān] (adv) EN: fluently ; vigorously ; glibly ; clearly ; distinctly ; forcefully ; lucidly ; eloquently ; unequivocally FR: clairement ; distinctement |
| | | call | (n) a telephone connection, Syn. telephone call, phone call | call | (n) a special disposition (as if from a divine source) to pursue a particular course | call | (n) a demand especially in the phrase, Syn. claim | call | (n) a brief social visit | call | (n) a demand for a show of hands in a card game | call | (n) a request | call | (n) an instruction that interrupts the program being executed | call | (n) a visit in an official or professional capacity | call | (n) (sports) the decision made by an umpire or referee | call | (v) ascribe a quality to or give a name of a common noun that reflects a quality |
| Call | v. i. 1. To speak in loud voice; to cry out; to address by name; -- sometimes with to. [ 1913 Webster ] You must call to the nurse. Shak. [ 1913 Webster ] The angel of God called to Hagar. Gen. xxi. 17. [ 1913 Webster ] 2. To make a demand, requirement, or request. [ 1913 Webster ] They called for rooms, and he showed them one. Bunyan. [ 1913 Webster ] 3. To make a brief visit; also, to stop at some place designated, as for orders. [ 1913 Webster ] He ordered her to call at the house once a week. Temple. [ 1913 Webster ] To call for (a) To demand; to require; as, a crime calls for punishment; a survey, grant, or deed calls for the metes and bounds, or the quantity of land, etc., which it describes. (b) To give an order for; to request. “Whenever the coach stopped, the sailor called for more ale.” Marryat. -- To call on, To call upon, (a) To make a short visit to; as, call on a friend. (b) To appeal to; to invite; to request earnestly; as, to call upon a person to make a speech. (c) To solicit payment, or make a demand, of a debt. (d) To invoke or play to; to worship; as, to call upon God. -- To call out To call or utter loudly; to brawl. [ 1913 Webster ]
| Call | n. 1. The act of calling; -- usually with the voice, but often otherwise, as by signs, the sound of some instrument, or by writing; a summons; an entreaty; an invitation; as, a call for help; the bugle's call. “Call of the trumpet.” Shak. [ 1913 Webster ] I rose as at thy call, but found thee not. Milton. [ 1913 Webster ] 2. A signal, as on a drum, bugle, trumpet, or pipe, to summon soldiers or sailors to duty. [ 1913 Webster ] 3. (Eccl.) An invitation to take charge of or serve a church as its pastor. [ 1913 Webster ] 4. A requirement or appeal arising from the circumstances of the case; a moral requirement or appeal. [ 1913 Webster ] Dependence is a perpetual call upon humanity. Addison. [ 1913 Webster ] Running into danger without any call of duty. Macaulay. [ 1913 Webster ] 5. A divine vocation or summons. [ 1913 Webster ] St. Paul himself believed he did well, and that he had a call to it, when he persecuted the Christians. Locke. [ 1913 Webster ] 6. Vocation; employment. [ In this sense, calling is generally used. ] [ 1913 Webster ] 7. A short visit; as, to make a call on a neighbor; also, the daily coming of a tradesman to solicit orders. [ 1913 Webster ] The baker's punctual call. Cowper. [ 1913 Webster ] 8. (Hunting) A note blown on the horn to encourage the hounds. [ 1913 Webster ] 9. (Naut.) A whistle or pipe, used by the boatswain and his mate, to summon the sailors to duty. [ 1913 Webster ] 10. (Fowling) The cry of a bird; also a noise or cry in imitation of a bird; or a pipe to call birds by imitating their note or cry. [ 1913 Webster ] 11. (Amer. Land Law) A reference to, or statement of, an object, course, distance, or other matter of description in a survey or grant requiring or calling for a corresponding object, etc., on the land. [ 1913 Webster ] 12. The privilege to demand the delivery of stock, grain, or any commodity, at a fixed, price, at or within a certain time agreed on. [ Brokers' Cant ] [ 1913 Webster ] 13. See Assessment, 4. [ 1913 Webster ] At call, or On call, liable to be demanded at any moment without previous notice; as money on deposit. -- Call bird, a bird taught to allure others into a snare. -- Call boy (a) A boy who calls the actors in a theater; a boy who transmits the orders of the captain of a vessel to the engineer, helmsman, etc. (b) A waiting boy who answers a cal, or cames at the ringing of a bell; a bell boy. -- Call note, the note naturally used by the male bird to call the female. It is artificially applied by birdcatchers as a decoy. Latham. -- Call of the house (Legislative Bodies), a calling over the names of members, to discover who is absent, or for other purposes; a calling of names with a view to obtaining the ayes and noes from the persons named. -- Call to the bar, admission to practice in the courts. [ 1913 Webster ]
| Call | v. t. [ imp. & p. p. Called p. pr. & vb. n. Calling ] [ OE. callen, AS. ceallian; akin to Icel. & Sw. kalla, Dan. kalde, D. kallen to talk, prate, OHG. kallōn to call; cf. Gr. ghry`ein to speak, sing, Skr. gar to praise. Cf. Garrulous. ] 1. To command or request to come or be present; to summon; as, to call a servant. [ 1913 Webster ] Call hither Clifford; bid him come amain Shak. [ 1913 Webster ] 2. To summon to the discharge of a particular duty; to designate for an office, or employment, especially of a religious character; -- often used of a divine summons; as, to be called to the ministry; sometimes, to invite; as, to call a minister to be the pastor of a church. [ 1913 Webster ] Paul . . . called to be an apostle Rom. i. 1. [ 1913 Webster ] The Holy Ghost said, Separate me Barnabas and Saul for the work whereunto I have called them. Acts xiii. 2. [ 1913 Webster ] 3. To invite or command to meet; to convoke; -- often with together; as, the President called Congress together; to appoint and summon; as, to call a meeting of the Board of Aldermen. [ 1913 Webster ] Now call we our high court of Parliament. Shak. [ 1913 Webster ] 4. To give name to; to name; to address, or speak of, by a specifed name. [ 1913 Webster ] If you would but call me Rosalind. Shak. [ 1913 Webster ] And God called the light Day, and the darkness he called Night. Gen. i. 5. [ 1913 Webster ] 5. To regard or characterize as of a certain kind; to denominate; to designate. [ 1913 Webster ] What God hath cleansed, that call not thou common. Acts x. 15. [ 1913 Webster ] 6. To state, or estimate, approximately or loosely; to characterize without strict regard to fact; as, they call the distance ten miles; he called it a full day's work. [ 1913 Webster ] [ The ] army is called seven hundred thousand men. Brougham. [ 1913 Webster ] 7. To show or disclose the class, character, or nationality of. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] This speech calls him Spaniard. Beau. & Fl. [ 1913 Webster ] 8. To utter in a loud or distinct voice; -- often with off; as, to call, or call off, the items of an account; to call the roll of a military company. [ 1913 Webster ] No parish clerk who calls the psalm so clear. Gay. [ 1913 Webster ] 9. To invoke; to appeal to. [ 1913 Webster ] I call God for a witness. 2 Cor. i. 23 [ Rev. Ver. ] [ 1913 Webster ] 10. To rouse from sleep; to awaken. [ 1913 Webster ] If thou canst awake by four o' the clock. I prithee call me. Sleep hath seized me wholly. Shak. [ 1913 Webster ] To call a bond, to give notice that the amount of the bond will be paid. -- To call a party (Law), to cry aloud his name in open court, and command him to come in and perform some duty requiring his presence at the time on pain of what may befall him. -- To call back, to revoke or retract; to recall; to summon back. -- To call down, to pray for, as blessing or curses. -- To call forth, to bring or summon to action; as, to call forth all the faculties of the mind. -- To call in, (a) To collect; as, to call in debts or money; ar to withdraw from cirulation; as, to call in uncurrent coin. (b) To summon to one's side; to invite to come together; as, to call in neighbors. -- To call (any one) names, to apply contemptuous names (to any one). -- To call off, to summon away; to divert; as, to call off the attention; to call off workmen from their employment. -- To call out. (a) To summon to fight; to challenge. (b) To summon into service; as, to call out the militia. -- To call over, to recite separate particulars in order, as a roll of names. -- To call to account, to demand explanation of. -- To call to mind, to recollect; to revive in memory. -- To call to order, to request to come to order; as: (a) A public meeting, when opening it for business. (b) A person, when he is transgressing the rules of debate. -- To call to the bar, to admit to practice in courts of law. -- To call up. (a) To bring into view or recollection; as to call up the image of deceased friend. (b) To bring into action or discussion; to demand the consideration of; as, to call up a bill before a legislative body. Syn. -- To name; denominate; invite; bid; summon; convoke; assemble; collect; exhort; warn; proclaim; invoke; appeal to; designate. -- To Call, Convoke, Summon. Call is the generic term; as, to call a public meeting. To convoke is to require the assembling of some organized body of men by an act of authority; as, the king convoked Parliament. To summon is to require attendance by an act more or less stringent anthority; as, to summon a witness. [ 1913 Webster ] | Calla | n. [ Linnæus derived Calla fr. Gr. &unr_;&unr_;&unr_;&unr_;&unr_;&unr_;&unr_; a cock's wattles but cf. L. calla, calsa, name of an unknown plant, and Gr. kalo`s beautiful. ] (Bot.) A genus of plants, of the order Araceæ. [ 1913 Webster ] ☞ The common Calla of cultivation is Richardia Africana, belonging to another genus of the same order. Its large spathe is pure white, surrounding a fleshy spike, which is covered with minute apetalous flowers. [ 1913 Webster ] | callable | adj. subject to a demand for payment or redemption before the due date; -- of financial instruments; as, callable bonds. [ WordNet 1.5 ] | Callat | n. Same as Callet. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] A callat of boundless tongue. Shak. [ 1913 Webster ] | callathump | n. 1. a noisy boisterous parade. Syn. -- callithump, callithump parade. [ WordNet 1.5 ] 2. a noisy mock serenade (made by banging pans and kettles) to a newly married couple. Syn. -- shivaree, chivaree, charivari, callithump. [ WordNet 1.5 ] | call-back | n. 1. a return call, especially a telephone call. [ WordNet 1.5 ] 2. the recall of an employee to work after a layoff. [ WordNet 1.5 ] | call-board | n. a bulletin board backstage in a theater. [ WordNet 1.5 ] | Calle | n. [ See Caul. ] A kind of head covering; a caul. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ] |
| 喊 | [hǎn, ㄏㄢˇ, 喊] call; cry; to shout #2,247 [Add to Longdo] | 称为 | [chēng wéi, ㄔㄥ ㄨㄟˊ, 称 为 / 稱 為] called; to call sth (by a name); to name #2,612 [Add to Longdo] | 质疑 | [zhì yí, ㄓˋ ㄧˊ, 质 疑 / 質 疑] call into question; question (truth or validity) #4,127 [Add to Longdo] | 号召 | [hào zhào, ㄏㄠˋ ㄓㄠˋ, 号 召 / 號 召] call; appeal #5,504 [Add to Longdo] | 自称 | [zì chēng, ㄗˋ ㄔㄥ, 自 称 / 自 稱] call oneself; claim to be; profess #6,184 [Add to Longdo] | 书法 | [shū fǎ, ㄕㄨ ㄈㄚˇ, 书 法 / 書 法] calligraphy; penmanship #8,083 [Add to Longdo] | 书画 | [shū huà, ㄕㄨ ㄏㄨㄚˋ, 书 画 / 書 畫] calligraphy #10,684 [Add to Longdo] | 停靠 | [tíng kào, ㄊㄧㄥˊ ㄎㄠˋ, 停 靠] call at; stop at; berth #12,815 [Add to Longdo] | 嘤 | [yīng, ㄧㄥ, 嘤 / 嚶] calling of birds #13,474 [Add to Longdo] | 字体 | [zì tǐ, ㄗˋ ㄊㄧˇ, 字 体 / 字 體] calligraphic style; typeface; font #15,632 [Add to Longdo] |
| | なる | [naru] (suf, adj-f) (1) (arch) (See 也・なり・2) that is in; (2) who is called; that is called; (3) that is #70 [Add to Longdo] | たら(P);ったら(P) | [tara (P); ttara (P)] (conj, prt) (1) indicates supposition; if ... then; when; after; (prt) (2) (usu. ったら) (typically after someone's name) indicates exasperation; (P) #149 [Add to Longdo] | それ | [sore] (int) there! (used to call someone's attention to something) #171 [Add to Longdo] | 用 | [よう, you] (n, n-suf) (1) task; business; (2) use; duty; service; (3) (See 用を足す) call of nature; excretion; (P) #187 [Add to Longdo] | 土(P);地 | [つち(P);つし(地), tsuchi (P); tsushi ( chi )] (n) (1) earth; soil; dirt; (2) the earth (historically, esp. as opposed to the heavens); the ground; the land; (3) (See 鳥の子紙) low-quality torinoko-gami (containing mud); (4) (also written as 犯土, 椎, 槌) (See 陰陽道) (period of) refraining from construction in the direction of the god of the earth (in On'youdou); (P) #252 [Add to Longdo] | よ | [yo] (prt) (1) (at sentence end) indicates certainty, emphasis, contempt, request, etc.; (2) (after a noun) used when calling out to someone; (3) (in mid-sentence) used to catch one's breath or get someone's attention; (int) (4) yo!; (P) #441 [Add to Longdo] | 彼 | [かれ, kare] (n) (1) (uk) (See 何れ・1, 此れ・1, 其れ・1) that (indicating something distant from both speaker and listener (in space, time or psychologically), or something understood without naming it directly); (2) that person (used to refer to one's equals or inferiors); (3) (arch) over there; (4) (あれ only) (col) down there (i.e. one's genitals); (5) (あれ only) (col) period; menses; (int) (6) hey (expression of surprise or suspicion); eh?; (n) (7) that (something mentioned before which is distant psychologically or in terms of time); (P) #451 [Add to Longdo] | もし | [moshi] (int) excuse me! (when calling out to someone) #494 [Add to Longdo] | 転送 | [てんそう, tensou] (n, vs) transfer; transmission; (telephone call, e-mail, etc.) forwarding #545 [Add to Longdo] | え | [e] (int) (1) eh? (surprise); (2) eh (agreement); (prt) (3) (arch) (See かえ, ぞえ, わえ) strengthens a question, assertion, etc.; (4) (after a noun) used when calling out to someone #611 [Add to Longdo] |
| カリグラフィック表示装置 | [カリグラフィックよょうじそうち, karigurafikku yoyoujisouchi] calligraphic display device, directed beam display device [Add to Longdo] | コール | [こーる, ko-ru] call (vs) [Add to Longdo] | コールウエイティング | [こーるうえいていんぐ, ko-ruueiteingu] call waiting [Add to Longdo] | コールセットアップ | [こーるせっとあっぷ, ko-rusettoappu] call setup [Add to Longdo] | コレクトコール | [これくとこーる, korekutoko-ru] collect call [Add to Longdo] | システムコール | [しすてむこーる, shisutemuko-ru] system call [Add to Longdo] | スーパバイザコール | [すーぱばいざこーる, su-pabaizako-ru] supervisor call [Add to Longdo] | セットアップ手続き | [セットアップてつづき, settoappu tetsuduki] (call) setup procedure [Add to Longdo] | ダイレクトコール機能 | [ダイレクトコールきのう, dairekutoko-ru kinou] direct call facility [Add to Longdo] | テレホンカード | [てれほんかーど, terehonka-do] telephone card, calling card [Add to Longdo] |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |